ม.ราชภ ฏนครศร ธรรมราช สม ครแข งข นงานส ปดาห ว ทยาศาสตร

ประชุมวชิ าการโดยบทความทีน่ าเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พใ์ นรายงานสืบเนอื่ งจาก

การประชุมวิชาการ (Proceedings)

5.1.2 โครงสรา้ งหลกั สูตร

หลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณ ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

ประกอบด้วยการศึกษาหมวดวิชาบังคับ ได้แก่ หมวดวิชาบังคับ หมวดวิชาเลือก หมวดวิชา

วิทยานพิ นธ์ และหมวดวิชาเสริม (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) โดยมีโครงสร้างของหลักสตู ร ดงั ตอ่ ไปนี้

หลกั สูตรแผน ก

  1. แบบ ก 2

(1) หมวดวิชาบงั คบั 18 หน่วยกิต

(1.1) รายวิชาบังคบั พ้นื ฐาน 6 หน่วยกติ

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 101

(1.2) รายวชิ าบังคบั เลอื ก 12 หน่วยกติ

(2) หมวดวิชาเลอื ก 6 หน่วยกิต

(3) หมวดวิชาวทิ ยานิพนธ์ 12 หนว่ ยกิต

(4) หมวดวิชาเสรมิ (ไม่นบั หน่วยกติ ) 3 หน่วยกิต

รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร แบบ ก 2 39 หนว่ ยกติ

การรับและเทยี บโอนหน่วยกิตภายในมหาวิทยาลัยเดยี วกนั

หลักสูตรโดยอานาจของบัณฑิตวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครศรีธรรมราช อาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา หรือวิทยานิพนธ์จากหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษาให้กับนักศึกษาท่ีมีความรู้ความสามารถ หรือสามารถผ่านเกณฑ์วัดมาตรฐาน โดย

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราชได้ ทัง้ นน้ี ักศึกษาต้องศึกษาครบตามจานวนหนว่ ยกิตทกี่ าหนดไว้

ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา

เข้าสู่การศึกษาในระบบ และแนวปฏิบัติท่ีดีเกี่ยวกับการเทียบโอนของสานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา อนึ่งผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาอื่นที่สัมพันธ์กันให้เทียบโอนหน่วยกิตได้ไม่

เกินร้อยละ 40 ของหลักสูตรท่ีจะเข้าศึกษา หรือผู้สาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชา

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม หากต้องการเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท หลักสูตรเทคโนโลยีมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ให้เทียบโอนหน่วยกติ ในชอื่ รายวิชา/หรือคาอธิบายรายวชิ าเดียวกัน

ได้ทุกหนว่ ยกิตของรายวชิ าเดียวกันของหลกั สตู รทจี่ ะเข้าศกึ ษา

รายละเอียดรายวชิ า 6 หน่วยกิต 3(2-2-5) หมวดวิชาบังคับ 3(2-2-5) รายวิชาบังคับพื้นฐาน

แผน ก แบบ ก 2 เรียน จากรายวิชา ดงั ตอ่ ไปน้ี 5907901 วิธีวทิ ยาการวจิ ัยทางเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม Research Methodology for Industrial Technology 5907105 เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมในประชาคมอาเซยี น Industrial Technology in ASEAN Community

1. รายวิชาบังคับเลือก 12 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 3(2-2-5) จากรายวิชา ดังตอ่ ไปน้ี 3(2-2-5)

5907706 การออกแบบอุตสาหกรรมเพ่ือประโยชน์ของชมุ ชน Industrial Design for Community Benefit

5907705 การบริหารเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน Technology Management to Enhance Competitiveness

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

102 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

5907107 การวางแผนและพัฒนาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 3(2-2-5) 5907710 Industrial Technology Planning and Development 3(2-2-5) 5907903 เทคโนโลยีกับการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3(2-2-5) 5907904 Technology and Development of Sufficient Economy 3(2-2-5) สัมมนาการวิจัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Industrial Technology Research Seminar การวจิ ัยและพัฒนาเฉพาะทางดา้ นเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม Specific Research and Development in Industrial Technology

หมวดวิชาเลือก

แผน ก แบบ ก 2 เรียน 6 หน่วยกิต จากรายวชิ า ดงั ตอ่ ไปนี้ 3(2-2-5) 5917302 การจดั การความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อมในงานอุตสาหกรรม 3(2-2-5) 3(2-2-5) Safety and Environmental Management in Industry 3(2-2-5) 5917401 คอมพวิ เตอร์ควบคุม 3(2-2-5) 3(2-2-5) Computer Control 5917502 เทคโนโลยีเครอ่ื งกลชนั้ สงู

Advanced Engineering Technology 5917602 ระบบสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม

Information System for Industrial Technology Development 5917701 การจัดการอตุ สาหกรรมขนั้ สงู

Advanced Industrial Management 5917801 การออกแบบผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมการผลติ

Product Design Manufacturing Industry

หมวดวิชาวิทยานพิ นธ์

แผน ก แบบ ก 2 เรียน 12 หน่วยกิต จากรายวชิ า ดงั ตอ่ ไปน้ี 12 (540) 5927902 วทิ ยานิพนธ์ 2 3 หน่วยกิต Thesis II 3(2-2-5)

หมวดวชิ าเสริม เรียน จากรายวชิ า ดังตอ่ ไปน้ี

1557101 คอมพิวเตอรส์ าหรับนักศึกษาบณั ฑิตศึกษา Computer for Graduated Student

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 103

5.1.4 แผนการศกึ ษา แผน ก แบบ ก 2 ช้ันปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1

หมวดวิชา กลุม่ วชิ า รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษา สมั พนั ธ์ ดว้ ยตนเอง

บังคับ เทคโนฯ 5907105 เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3 2 25 เสรมิ 5907901 ในประชาคมอาเซยี น 2 (ไม่นบั นก.) เทคโนฯ วิธวี ิทยาการวิจัยทาง 3 25 1557101 เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 2 เทคโนฯ บังคบั เอก 1 3 - 25 คอมพิวเตอร์ -- คอมพิวเตอรส์ าหรบั 3 นักศกึ ษาบัณฑิตศึกษา 12 รวม ชั่วโมง/สัปดาห์ =

ชั้นปีท่ี 1 / ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวิชา กลมุ่ วชิ า รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษา ด้วยตนเอง

บงั คบั เทคโนฯ บังคับเอก 2 3

บงั คับเอก 3 3

บงั คับเอก 4 3

วทิ ยานพิ นธ์ วจิ ยั /โครงการ 5927902 วทิ ยานิพนธ์ 4 0 4 176

รวม 13 - - -

ช่วั โมง/สปั ดาห์ =

ชน้ั ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลุม่ วชิ า รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษา ด้วยตนเอง

เลือก เทคโนฯ เลอื ก 1 3

เลือก 2 3

วทิ ยานิพนธ์ วิจยั /โครงการ 5927902 วทิ ยานพิ นธ์ 4 0 4 176

รวม 10 - - -

ช่ัวโมง/สัปดาห์ =

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

104 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ชนั้ ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวิชา กล่มุ วชิ า รหสั วิชา ชอื่ วิชา หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษา ดว้ ยตนเอง

วิทยานิพนธ์ วิจยั /โครงการ 5927901 วทิ ยานพิ นธ์ 4 0 4 176

รวม 4 - - -

ชั่วโมง/สัปดาห์ =

5.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา

หมวดวชิ าบังคบั

รายวิชาบังคบั พืน้ ฐาน

รหัสวิชา ช่ือและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-อ)

5907901 วิธีวทิ ยาการวจิ ยั ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Research Methodology for Industrial Technology

แน ว คิ ด แ ล ะห ลั ก ก ารเก่ี ย วกั บ การวิจัย ท ฤ ษ ฎี ก ารวิจัย รูป แ บ บ ก ารวิจั ย

การออกแบบการวิจัย กระบวนการวิจัย สถิติเพื่อการวิจัย การวิจัยในช้ันเรียน การศึกษาค้นคว้า

งานวิจัยในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา การเสนอ

โครงการเพอ่ื ทาวิจัย การวิจัยทางเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี ฝึกปฏิบัติการ

วิจัยทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การนาเสนอผลงานวิจัย การเขียนบทความวิจัย และบทความ

วิชาการทางเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมเพื่อการตพี ิมพ์เผยแพร่

Concepts and principles of research, theories of research, research

designs, processes of research, statistics of research, researches in the classroom,

education research in developing learning, The process research of problem solving,

research proposals, industrial technology researches, career and technology, practice

research in industrial technology, presentation, writing a research, and industry

technology article for articles published.

5907105 เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมในประชาคมอาเซียน 3(2-2-5)

Industrial Technology in ASEAN Community

การพัฒนาเขตเศรษฐกจิ ชายแดนและเมอื งชายแดนแบบมีสมดุล เข้มแข็งและการพัฒนา

ความสามารถในการปรับตัวของผู้ประกอบการไทย การมีบทบาทในเชิงตั้งรับต่อประเด็นความ

เคล่ือนไหวในด้านการสร้างข้อกีดกันทางการค้าใหม่ ๆ การใช้ศักยภาพความได้เปรียบของที่ต้ังทาง

ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ ศักยภาพของพ้ืนท่ีในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศการกาหนดบทบาท และทิศ

ทางการพัฒนาของประเทศที่จะกระตุ้นให้เกดิ การเติบโตและเชอ่ื มโยงของสาขาต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ

Development of border economic zones and border cities with balance,

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 105

strengthening and development of the ability to adjust Thailand enterprises. The positive role the defensive aspects in the movement to create new trade barriers, the potential advantages of geographical location, the economic potential of the areas in the regions of the country, defining the role and direction of development of the country in order to encourage growth, and links of the various economic branches.

รายวิชาบังคับเอก

5907706 การออกแบบอุตสาหกรรมเพ่ือประโยชน์ของชมุ ชน 3(2-2-5)

Industrial Design for Community Benefit

วเิ คราะห์แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกบั อุตสาหกรรมครวั เรือน วิสาหกิจชุมชน อุตสาหกรรม

ขนาดย่อม และอุตสาหกรรมในท้องถ่ิน เพ่ือประยุกต์ใช้กับการพัฒนาแนวทางการจัดการระบบงาน

อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมท่ีสอดคล้องกับความต้องการทาง

เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมของชมุ ชนเพื่อตอบสนองนโยบายไทย 4.0 และเศรษฐกจิ โลกในอนาคต

Analysis of the concept and theory of industrial enterprises, households,

communities, industry, and local industry to apply to the development of

management guidelines for industrial systems, industrial products or technological

innovation that complies with the requirements of industrial technology to respond

to community policy, Thailand. 4.0, and the world economy in the future.

5907705 การบริหารเทคโนโลยเี พอื่ เพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขัน 3(2-2-5)

Technology Management to Enhance Competitiveness

ตระหนักถึงความสาคัญของเทคโนโลยี หลักการบริหารเทคโนโลยี ทัศนคตขิ องผบู้ ริหาร

ต่อเทคโนโลยี แนวโน้มของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เทคโนโลยีกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ความเข้าใจในเทคโนโลยี องค์ประกอบของเทคโนโลยี ขีดความสามารถทางด้านเทคโนโลยีและการ

พัฒนาแนวคิดการโอนถ่ายเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ คาจากัดความของ

เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการพัฒนาเทคโนโลยี นโยบายสนับสนุนในระดับองค์กรและระดับประเทศ

การประเมนิ ประสทิ ธิผลของการบริหารเทคโนโลยีและศึกษาตวั อย่างกรณศี กึ ษา

Realize the importance of technology, the management technology, the

attitude of administrators on technology, the trend of technology development in various

technology with economic growth, understanding in technology elements of technology,

the technology and development capabilities, manufacturing and service concept, the

transfer of technology, definition of the appropriate technology with the development of

technology, policy support and organization level and nation level, evaluation of the

effectiveness of technology management, and study the example case study.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

106 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

5907107 การวางแผนและพฒั นาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Industrial Technology Planning and Development

ระบบ หลักการ และเทคนิควิธีวางแผน วิเคราะห์ข้อสนเทศต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อการ

วางแผนและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วางแผนพัฒนาและดาเนินการในด้านบุคลากร อาคาร

สถานท่ี เคร่ืองมอื วสั ดอุ ุปกรณ์ งบประมาณที่ใชใ้ นงานอตุ สาหกรรม และสถานประกอบการ

System, principles and techniques of planning. Analysis of the information

that effect of the planning and development of the technology industry. Plan to

develop and implement in terms of personnel, facilities, equipment, tools, materials

budget used in industrial applications, and the enterprise.

5907710 เทคโนโลยีกบั การพฒั นาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3(2-2-5)

Technology and Development of Sufficient Economy แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อประยุกต์ใช้กับการพัฒนานวัตกรรม ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิเคราะห์และประเมินแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี อุตสาหกรรมทีต่ อบสนองความตอ้ งการของประเทศและโลกอนาคตตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง Concepts and theories about the economy just enough to apply to industrial development, technological innovation. Analyze and evaluate trends in the industry, technological changes that meet the needs of the country and the world in the future according to the principles of sufficiency economy.

5907903 สัมมนาการวจิ ัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Industrial Technology Research Seminar

การสัมมนาในหัวข้อประเด็นที่เก่ียวข้องทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตและ

ออกแบบผลิตภัณฑ์ จุดเน้นของการสัมมนา คือ การศึกษา การอภิปราย และการนาเสนอหัวข้อที่

สอดคล้องกบั สาขาวิชา

Seminars on topics related issues in manufacturing and product design,

the focus of the conference is to study, discussion, presentation of the topic, and

trend of the topic that correspond to the program.

5907904 การวจิ ยั และพัฒนาเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Specific Research and Development in Industrial Technology

ก า ร ศึก ษ า เ ฉ พ า ะ ด้า น ซึ่ง เ ป็น ก ร ณีศึก ษ า ใ น ด้า น ก า ร วิจัย แ ล ะ พัฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี

อุตสาหกรรมการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ เน้นการแก้ปัญหาในด้านการวิจัยและพัฒนา

งานเทคโนโลยีการผลิต ในงานหรือหน่วยงานท่ีมีปัญหา

Study on specific areas as a case study in the field of technology

research and development, manufacturing and products design. Focus on

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 107

solving problems in research and development of the production technology. In work or agency problems.

หมวดวิชาเลือก

5917302 การจดั การความปลอดภัยและส่งิ แวดลอ้ มในงานอุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Safety and Environmental Management in Industry

กฎเกณฑ์และวิธีปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย หลักการพิจารณาตรวจสอบและการวัดผล

กรรมวิธีการป้องกัน ความปลอดภัยแบบต่าง ๆ การจัดการของเสียมีพิษจากอุตสาหกรรม แหล่งกาเนิด

คุณลักษณะการขนส่งและการเก็บรักษา ความเป็นพิษและการนาไปใช้ประโยชน์อย่างได้มาตรฐาน การวัด

เทคโนโลยีด้านการขจัดทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ การเผาและเทคนิคการขจัดทางความร้อนอื่น ๆ การลด

ของเสีย การนากลับมาใช้ การประเมินความปลอดภัย และความเสี่ยง กฎหมายต่าง ๆ เกี่ยวกับความ

ปลอดภัย

Rules and safe work practices, the main consideration of monitoring and

measurement, the various security methods, management of waste from the industrial origin,

feature; transport, storage toxicity and apply the benefits of standards, measurement of

technology to eliminate physical, chemical, biological, Incineration and other thermal

techniques for eliminating waste reduction, recycling, safety, risk assessment, and the law

regarding safety.

5917401 คอมพิวเตอรค์ วบคุม 3(2-2-5)

Computer Control

แนวคิดของการควบคุมเคร่ืองจักรอุตสาหกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบฮาร์ดแวร์ท่ีจาเป็นใน

งานใช้เครื่องจักรกลโรงงานอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์สาหรับการควบคุมเครื่องจักร เครื่อง CNC

และเครื่องพมิ พร์ ะบบ 3 มิติ

Concept of industrial machinery control with computer, system hardware needed to

operate machinery factory, computer hardware for the control of machine, CNC, and printer system 3

dimensions.

5917502 เทคโนโลยีเครื่องกลชั้นสงู 3(2-2-5)

Advanced Engineering Technology

ความรพู้ ้ืนฐานด้านการเผาไหม้และเปลวไฟ การเผาไหม้ในเครื่องยนต์ จุดระเบิดด้วยประกายไฟ

การเผาไหมใ้ นเคร่ืองยนต์จดุ ระเบดิ ด้วยความดนั การเกิดและการควบคมุ สารพิษ เชอ้ื เพลิงทดแทน เคร่อื งยนต์

ตดิ เทอร์โบชารจ์ และเครื่องยนต์ท่สี ูญเสียความร้อนต่า เครอื่ งมือ และเทคนิคในงานวิจัยเคร่ืองยนต์ และการ

พฒั นาและประยุกตผ์ ลงานวจิ ัยสาหรับการออกแบบเครื่องยนต์

Basic knowledge of combustion and flame combustion in spark ignition engine,

combustion ignition engine with pressure, the occurrence and control of toxic alternative fuel

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

108 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

engine turbo charger and the engine that heat loss is low, the tools and techniques in the research engine, and the development and application research for the design of the engine.

5917602 ระบบสารสนเทศเพอื่ การพัฒนาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 3(2-2-5)

Information System for Industrial Technology Development

แนวคิดในการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนางานอาชีพ การใช้

โปรแกรมเพื่อสืบค้นข้อมูลอาชีพ การใช้โปรแกรมเพื่อการสืบค้นแหล่งวัตถุดิบ การใช้โปรแกรมเพื่อ

การสร้างงาน การใช้โปรแกรมเพื่อศึกษาการตลาด การสารวจอาชีพช่างอุตสาหกรรม อาชีพช่าง

หัตถกรรม อาชีพช่างศิลปกรรม อาชีพเกษตรกรรม และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการพัฒนา

เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและอาชพี

Concept of information system used in the development of careers. The

use of the program to search information profession. Using the program for retrieval

of source material. Using the program to create jobs. The study of marketing. Survey

of industrial career professional technicians craft art craftsmen, farmers, and

information system for the development of technology industry and profession.

5917701 การจัดการอุตสาหกรรมขน้ั สูง 3(2-2-5)

Advanced Industrial Management

แนวคิดและวิวัฒนาการของการจัดการอุตสาหกรรมต้ังแต่ในอดีตถึงปัจจุบันการจัดการ

อุตสาหกรรมเชิงวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้การจัดการระบบกับงานอุตสาหกรรมการจัดการเชิง

มนษุ ยส์ ัมพันธ์ แนวคิดดา้ นการจดั การ กระบวนการ การวางแผน การจัดองค์การ การอานวยการ การ

ควบคุม และแนวคดิ การจัดการอตุ สาหกรรมยุคใหม่เพือ่ ประยกุ ต์ใชก้ ับอตุ สาหกรรม ในประเทศไทย

Concept and the evolution of industrial management in the past to

the present, the industrial management scientific, application of management system

for industrial applications, human relation management concept management,

process planning, organizing, directing, controlling, and the management concept of

modern industry to apply the industrial in Thailand

5917801 การออกแบบผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมการผลิต 3(2-2-5)

Product Design Manufacturing Industry

หลักการและข้ันตอนของการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการผลิต การวางแผน

การออกแบบผลิตภัณฑ์ การนาเสนอโครงงานที่เก่ียวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ การวิเคราะห์และการ

แก้ปญั หาในงานออกแบบผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมการผลติ

Principles and stages of product design, manufacturing industry, planning,

product design, presentation of project about new technologies, the analysis and

problem solving in industrial production design.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 109

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์

5927902 วิทยานพิ นธ์ 2 12 (540)

Thesis II

ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า วิ จั ย อ ย่ า ง เป็ น ร ะ บ บ เก่ี ย ว กั บ ก า ร ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม ด้ า น เท ค โ น โ ล ยี

อุตสาหกรรม การบริหารอุตสาหกรรม หรือการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การเรียบเรียงเป็น

วทิ ยานิพนธ์ การนาเสนอในการสอบปากเปล่า การเขียนบทความวิจัยหรือบทความทางวชิ าการ และ

การตีพิมพเ์ ผยแพร่ โดยอยใู่ นการควบคุมดแู ลของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์

Study on systematic research about innovation in industrial technology.

Industrial management or development in industrial technology. Compose a thesis.

The presentation in the oral examination. Writing research articles or academic

articles and published by staying in the supervision of the thesis advisors.

หมวดวชิ าเสริม

1557101 คอมพิวเตอรส์ าหรับนกั ศกึ ษาบัณฑติ ศกึ ษา 3(2-2-5)

Computer for Graduated Student

ความรู้เก่ียวกับการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เน้นทักษะเก่ียวกับ

เทคโนโลยีสารสนเทศ การสบื ค้นข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ต การใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ในงานอุตสาหกรรม

และงานระดับบณั ฑิตศกึ ษา

Knowledge about computer and computer programs. Focus on

information technology skills, internet query Application of industrial, and graduate

applications.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

110 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 111

หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การศลิ ปะและวฒั นธรรมสรา้ งสรรค์

(หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2563)

1. รหัสและชื่อหลักสตู ร

รหัสหลักสูตร : ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การศิลปะและ

วัฒนธรรมสร้างสรรค์ ภาษาองั กฤษ : Master of Arts Program in Creative Arts and Cultural

Management

2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม : ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (การจดั การศิลปะและวัฒนธรรมสรา้ งสรรค์) ช่ือย่อ : ศศ.ม. (การจดั การศลิ ปะและวฒั นธรรมสรา้ งสรรค์)

ภาษาองั กฤษ ชอื่ เต็ม : MasterofArts (Creative Arts and Cultural Management) ช่ือยอ่ : M.A. (Creative Arts and Cultural Management)

3. การจดั การเรียนการสอน

วนั -เวลาในการดาเนินการเรยี นการสอน นอกวนั –เวลาราชการ (เรยี นวนั เสาร์–อาทติ ย)์ ภาคการศึกษาที่ 1 เดอื นกรกฏาคม – ตลุ าคม ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นธันวาคม – มีนาคม ภาคฤดรู อ้ น เดอื นเมษายน – มิถนุ ายน

4. คา่ ใช้จา่ ย

ตลอดหลักสูตรเหมาจ่าย 90,000 บาท มหาวทิ ยาลยั กาหนดให้แบง่ จ่ายดงั นี้

ปกี ารศกึ ษา ภาคการศึกษา จานวนเงนิ (บาท)

1 1 30,000

2 30,000

2 1 30,000

2 30,000

หมายเหตุ : กรณีผ้เู ข้าศกึ ษาสาเรจ็ การศึกษาภายใน 2 ปีการศึกษา จะต้องชาระค่างวดท่คี งเหลอื

ทงั้ หมดก่อนย่ืนขอสาเร็จการศึกษากับมหาวทิ ยาลยั

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

112 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

5. หลกั สตู ร

5.1 หลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรมสร้างสรรค์

จดั การศึกษาระดับปริญญาโท คือ แผน ก2

5.1.1 จานวนหน่วยกติ

จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกิต ดังนี้

5.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร

แผน ก2 (เรียนรายวิชาและวิทยานิพนธ์) ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต

  1. หมวดวชิ าสัมพันธ์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต
  1. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 18 หนว่ ยกติ

(1) วิชาบงั คับ ไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ

(2) วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ

  1. หมวดวชิ าวทิ ยานพิ นธ์ 12 หนว่ ยกติ
  1. หมวดวชิ าพื้นฐานเสรมิ (ไม่นับหน่วยกิต) 6 หน่วยกิต

รายละเอยี ดรายวิชา

แผน ก2

1. หมวดวิชาสัมพนั ธ์ ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ 3 (2-2-5) 2537101 ทฤษฎีสังคมศาสตร์สาหรับการศึกษาทางศลิ ปะและวัฒนธรรม 3 (2-2-5)

2527901 การวจิ ัยทางศิลปะและวัฒนธรรม หน่วยกติ หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ 18 12 3 (2-2-5) 2.1 วชิ าบงั คับ ไม่นอ้ ยกว่า 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 2527301 ศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา 3 (2-2-5)

2527302 การจัดการความรู้ทางด้านศลิ ปะและวฒั นธรรม หน่วยกติ 3 (2-2-5) 2527303 เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์และทรัพยส์ ินทางปญั ญา 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 2527304 การจัดการนวัตกรรมทางศิลปะและวัฒนธรรม 3 (2-2-5)

2.2 วชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 12 2527305 การจัดการการสื่อสารทางศิลปะและวฒั นธรรม

2527306 ศลิ ปะและวัฒนธรรมเพอ่ื การพัฒนาสงั คม

2527307 การพฒั นาแหล่งเรยี นร้ทู างศิลปะและวฒั นธรรม

2527902 สมั มนาการจดั การศลิ ปะและวัฒนธรรมสรา้ งสรรค์

3. หมวดวชิ าวทิ ยานพิ นธ์ 12 2527903 วทิ ยานิพนธ์ 1

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 113

4. หมวดวิชาพ้ืนฐานเสรมิ (ไม่นับหน่วยกิต) 3 (2-2-5) 2527308 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารทางศลิ ปะและวัฒนธรรม 3 (2-2-5) 2527309 สารสนเทศเพ่ือการส่ือสารทางศลิ ปะและวัฒนธรรม

แผนการศกึ ษา แผน ก2

ชนั้ ปีท่ี 1/ภาคการศึกษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลมุ่ รหัสวชิ า ช่ือวิชา หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษา สัมพนั ธ์ วิชา กติ ด้วยตนเอง

เฉพาะด้าน 2537101 ทฤษฎีสงั คมศาสตรส์ าหรับ 322 5

การศกึ ษาทางศลิ ปะและวฒั นธรรม

2527301 ศิลปะและวฒั นธรรมศกึ ษา 322 5

2527302 การจัดการความรทู้ างด้านศิลปะ 3 2 2 5

บังคบั และวฒั นธรรม 3 2 2 5 2527303 เศรษฐกิจสร้างสรรค์และทรัพย์สนิ

ทางปัญญา

พื้นฐานเสรมิ 2527308 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารทาง 322 5 (ไม่นบั หน่วยกติ ) ศิลปะและวฒั นธรรม 15 10 10 25

รวม

ช่ัวโมง/สปั ดาห์ = 45

ช้ันปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2

หมวดวิชา กลุ่ม รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ย ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษา สมั พนั ธ์ วิชา กติ ดว้ ยตนเอง

เฉพาะด้าน 2527901 การวจิ ยั ทางศลิ ปะและ 322 5

เฉพาะด้าน วฒั นธรรม

พน้ื ฐานเสรมิ เลอื ก 2527305 การจัดการการส่อื สารทาง 322 5 (ไมน่ บั หน่วยกิต) ศิลปะและวฒั นธรรม

เลือก 2527306 ศิลปะและวฒั นธรรมเพ่อื การ 322 5

พฒั นาสงั คม

2527309 สารสนเทศเพื่อการสือ่ สารทาง 322 5

ศลิ ปะและวัฒนธรรม

รวม 12 8 8 20

ชั่วโมง/สปั ดาห์ = 36

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

114 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ชนั้ ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลมุ่ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษา เฉพาะดา้ น วิชา กติ ดว้ ยตนเอง วทิ ยานิพนธ์ บังคับ 2527304 การจัดการนวตั กรรมทาง 322 5 หมวดวิชา วทิ ยานิพนธ์ ศิลปะและวัฒนธรรม

2527903 วิทยานิพนธ์ 1 6- - 36 922 41 รวม

ช่ัวโมง/สัปดาห์ = 45

ชนั้ ปีท่ี 2 / ภาคการศึกษาที่ 2

กลมุ่ รหัสวชิ า ชื่อวิชา หน่วย ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษา วิชา กิต ด้วยตนเอง

2527903 วิทยานิพนธ์ 2 6- - 36

รวม 6- - 36

ชั่วโมง/สปั ดาห์ = 36

คาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-อ)

แผน ก2

1. หมวดวชิ าสัมพนั ธ์ รหสั วชิ า ชื่อและคาอธิบายรายวิชา

2537101 ทฤษฎีสังคมศาสตร์สาหรบั การศกึ ษาศลิ ปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5)

Social Sciences Theories for Studies of Arts and Culture

แนวคดิ หลกั การ แบบจาลอง ทางทฤษฎีท่ีถูกพิสูจนแ์ ลว้ ทางจิตวิทยา สุนทรียศาสตร์

นิติศาสตร์ โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ มนุษย์ มานุษยวิทยา รัฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา สาธารณสขุ ประวัตศิ าสตร์ มาประยกุ ตใ์ ชก้ ับศลิ ปะและวัฒนธรรม

Application of concepts, principles and proven theoretical models in

the field of psychology, aesthetics, law, archaeology, history, linguistics, human

geography, anthropology, political sciences, economics, sociology, public health in

the arts and culture.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 115

2527901 การวิจัยทางศลิ ปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5)

Research on Arts and Culture

โครงร่างการวิจัย การกาหนดปัญหา คาถามการวิจัย วัตถุประสงค์ การเขียน

ขอบเขต การเขียนนิยามศัพท์ การเขียนประโยชน์ กรอบแนวคิดหลักการวิจัย ก ารทบทวน

วรรณกรรม การออกแบบการวิจัย การสร้างเครื่องมือการวิจัย การนาเสนอผลการวิจัย บทสรุปการ

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สามารถนาผลการวจิ ัยไปประยกุ ต์ใช้ สร้างประโยชน์ สร้างคุณค่า สร้าง

มูลค่าเพมิ่ ทางศลิ ปะและวฒั นธรรม

Research proposal, problem identification, research objectives, scope

of study, definitions, significance of the research, conceptual framework, literature

review, research designs, measurement and research instruments construction;

presentation of research results, conclusions, discussion and suggestions; application

of research results in creating benefits, value, worthiness and added-value on arts

and culture.

2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 3(2-2-5) 2.1 วชิ าบงั คบั

2527301 ศิลปะและวฒั นธรรมศึกษา Arts and Cultural Studies

ประวัติศาสตร์ศิลป์ สุนทรียะ ศิลปะ วรรณศิลป์ ทัศนศิลป์ ดุริยางคศิลป์ นาฏศิลป์ เรขศิลป์ หัตถศิลป์ สถาปัตยศิลป์ มัณฑนศิลป์ นิเทศศิลป์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเช่ือ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม,พิธีการ นวัตกรรมการเปล่ียนแปลง ทรัพยากรมนุษย์ การแพร่กระจาย โครงสร้าง ทางสังคม การคมนาคม การสื่อสาร ศึกษาบริบทข้อเท็จจริงในสังคมหรือมายาคติ นาไปสู่การสร้าง ความสาคัญของขอบขา่ ยเพ่อื สร้างคนทางศลิ ปะและวัฒนธรรม

This course is aimed at studying art history, aesthetic, artistic, literature, visual arts, music, dramatic arts, creative arts, handicraft, architecture arts, decorative arts, communication design, culture, ways of life, beliefs, religious, tradition, rituals, innovation of change, human resources, cultural diffusion, social structure, transportation, communication, context and real facts in both society and myth which leads to creating the importance of scope for artistic people and culture development.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

116 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

2527302 การจัดการความรู้ทางศลิ ปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5) Knowledge Management on Arts and Culture

การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสังคม มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้เข้าถึงความรู้ พฒั นาตนเองให้เป็นผูร้ ู้ นาไปสกู่ ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ แสวงหาความรู้ จัดเก็บ เผยแพรค่ วามรู้ บรหิ าร ความรู้ เรียนรู้ พัฒนาตน จัดการความรู้ในขอบข่ายของศิลปะและวัฒนธรรม นาไปสู่การสร้าง

มลู ค่าเพิม่ ของเศรษฐกิจทางสังคม

A combination of the existing knowledge in society by systemically development to enable to access knowledge base which leads to the pursuit and exchange of knowledge; knowledge acquisition, knowledge storage, knowledge

dissemination, knowledge execution, learning, self-development; knowledge management in the scope of arts and culture which leads to creating added-value of social economy.

2527303 เศรษฐกิจสร้างสรรคแ์ ละทรัพย์สินทางปัญญา 3(2-2-5)

Creative Economy and Intellectual Property

การขับเคล่ือนเศรษฐกิจทางศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชน บนพ้ืนฐานของการใช้

องค์ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์งาน เพื่อออกแบบ สืบสาน ส่งเสริม เผยแพร่ การสร้าง

มูลค่าเพิ่มท่ีเช่ือมโยงกับบริบททางสังคมไปสู่การพัฒนาสินค้า บริการ หรือนวัตกรรม นาไปใช้ทาง

ศิลปะและวัฒนธรรมสร้างสรรค์ สามารถวิเคราะห์ข้อเท็จจริงหรือมายาคติ นาไปสร้างเป็นทรัพย์สิน

ทางปญั ญาใหเ้ กิดความคุ้มครองทางกฎหมาย

Economic driving on arts and culture of the community based on the

knowledge usage; independent study and creation of work for the purposes of

designing, inheritance, promoting, and dissemination; creation of added value that

linked to the social context which leads to products, services and innovation

development before applying in the field of creative arts and culture; ability in

analysis on facts or myth for the purpose of building on intellectual property and

legal protection.

2527304 การจัดการนวตั กรรมทางศลิ ปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5)

Management for Arts and Cultural Innovation

วิเคราะห์ สังเคราะห์ กรณีศึกษาบริบทท้องถ่ินในปัจจุบัน เชื่อมโยงกระบวนการ

จดั การสู่การพัฒนาเชงิ สร้างสรรค์ โดยการประยกุ ต์ใช้หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีทางสงั คมศาสตร์ เรยี บ

เรยี ง นาเสนอ และวพิ ากษ์ ให้เกิดนวัตกรรมศิลปะและวัฒนธรรม และมีมลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ และ

สงั คมแกอ่ งค์กรและชุมชน

Analysis, synthesis of case studies of current local contexts; linking of

management process towards development of creative arts and culture by

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 117

application of principles, concepts, and theories in social sciences to compile, present and criticize for creating management; dissemination of artistic and cultural innovation in order to increase economic and social value added to organizations and communities.

2.2 วิชาเลอื ก

2527305 การจดั การการส่อื สารทางศิลปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5)

Arts and Cultural Communication Management

ออกแบบ สืบสาน ส่งเสริม เผยแพร่ บริบท พัฒนาสังคม โดยใช้เครื่องมือการสื่อสาร

แบบประสมประสาน มีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย มีการประยุกต์แนวการสื่อสารการตลาดมาใช้กับ

การสง่ เสริมทางด้านศลิ ปะและวัฒนธรรม

Application of mixed communication tools in design, inheriting,

promoting, and disseminating information as well as social developing society;

analysis on target groups; discussion on the application of marketing communication

methods for promoting on arts and culture.

2527306 ศลิ ปะและวัฒนธรรมเพือ่ การพัฒนาสังคม 3(2-2-5)

Arts and Culture for Social Development

ส่งเสริมคุณภาพงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาคนและพัฒนาประเทศ ให้

อยู่บนรากฐานของตนเองและภูมิปัญญาของชุมชนและสังคม มีการดาเนินงานในลักษณะท่ีเป็นองค์

รวม เน้นการเสริมสร้างสมรรถภาพของชุมชนหรือสังคม การสนับสนุนเวทีวัฒนธรรม ส่งเสริมการ

พัฒนาอย่างสมดุลระหว่างคน เศรษฐกิจสังคม และ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการใช้สื่อท่ีมีคุณภาพ สร้าง

ความภาคภูมิใจในศิลปวฒั นธรรมไทย ความเปน็ คนไทย เพือ่ เปน็ สว่ นหนึ่งของสังคมโลก

A promotion of quality of arts and cultural work for human and

country development based on one’s own foundation and wisdom of community

and society; guidelines to the operation at the pattern of holistic manner; emphasis

on strengthening the capacity of communities or society; support for cultural stage

by the method of balanced development between human, economics, society and

environment; encouragement of use of the quality media in order to build a feeling

of proud in Thai arts and culture, Thai human being, which leads to becoming a part

of global society.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

118 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

2527307 การพฒั นาแหลง่ เรยี นรทู้ างศิลปะและวฒั นธรรม 3(2-2-5)

Development of Learning Resources Knowledge

Management on Arts and Culture

แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ในชุมชน วัด พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การ

เรียนรู้ โรงเรียน พัฒนาแหล่งการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ให้มีมูลค่าและคุณค่า มีประโยชน์ พัฒนาเป็น

แหล่งทอ่ งเท่ียว แหลง่ ศกึ ษาดงู าน แหลง่ การจัดกิจกรรม หรืออน่ื ๆ

This course is aimed at studying the data resources, information technology, experiences gained from community, temples, museums, learning centers, and schools; promoting of creative learning centers to enhance their value and worthiness before developing further to be tourist attractions, study sites, activities locations, etc.

2527902 สมั มนาการจัดการศลิ ปะและวฒั นธรรมสรา้ งสรรค์ 3(2-2-5)

Seminar in Management for Creative Arts and Culture

ประยุกต์องค์ความรู้ จากการจัดการสัมมนาในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับศิลปะและ

วัฒนธรรม จัดการความรู้และประยุกต์ใช้กับชุมชน กลุ่มเป้าหมาย นาเสนอด้วยสื่อสารสนเทศ เรยี บ

เรยี ง สรปุ องคค์ วามรู้ และเขยี นบทความวิชาการ

Application of knowledge for organizing seminars on issues related to

arts and culture; knowledge management for applying them to the community and

target group; presentation with information media including compiled and

summarized into a body of knowledge; academic articles writing and proposal of

solution to the management problem of arts and culture.

3. หมวดวิชาวิทยานพิ นธ์

2527903 วิทยานพิ นธ์ 12

Thesis

วทิ ยานพิ นธ์ 1 6

Thesis I

กาหนดปัญหา วางแผน ออกแบบการวิจัย โดยวิเคราะห์ปรากฏการณ์ในองค์กรหรือ

ชุมชน กาหนดกลุ่มตัวอย่าง ออกแบบเคร่ืองมือ เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล สร้างเคร่ืองมือวิจัย

ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูล นาเสนอผา่ นการสอบเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์ โดยมี

อาจารย์ท่ปี รึกษาวทิ ยานพิ นธ์

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 119

Emphasis is placed on problem identification, research design and planning using analysis of phenomena in organization or community; the design of sampling, collecting tools, measurement; creation of research instruments; test of the quality of tools; data collection and presentation through dissertation exam guided by a designated dissertation advisor.

วิทยานพิ นธ์ 2 6

Thesis II

เขยี นเรียบเรียงรายงานการวิจัย นาเสนอรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โดยดาเนินการ

ตามระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรวิทยานิพนธ์

ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ หรือส่ิงพิมพ์ทางวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ และสอบผ่าน

วิทยานพิ นธ์

Complied writing of research proposal and presentation of completed

research paper by proceeding in according to the regulations on Higher Level Education

management for graduation in the Doctor of Philosophy program; attainment of academic

journals, papers, research articles publishing in both domestic and international levels as

well as passing of dissertation exams.

4. หมวดวิชาพน้ื ฐานเสรมิ

2527308 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารทางศิลปะและวฒั นธรรม 3(2-2-5)

English for Arts and Cultural Communication

ประยุกต์ใช้ทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อการส่ือสาร ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้ข้อมูลการ

ค้นคว้าจากแหล่งอ้างอิงท่ีเหมาะสม สามารถอ่านเขียน แปล บทความวิชาการหรือบทความวิจัย

นาเสนอเพอ่ื อ้างองิ แลกเปล่ยี นเรียนรู้

Application of English skills in listening, speaking, reading and writing for

communication using research data from appropriate reference sources with a

particular emphasis on academic journals, research articles writing, reading and

translation at the advanced level, including presentation for knowledge sharing.

2527309 สารสนเทศเพอื่ การส่อื สารทางศิลปะและวัฒนธรรม 3(2-2-5)

Information for Arts and Cultural Communication

ประยุกต์ใช้ทักษะทางคอมพิวเตอร์ เพ่ือการสื่อสารทางด้านการรับรู้ การสืบค้น

การรวบรวม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยศึกษาความสาคัญของสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศทาง

ศิลปะและวัฒนธรรม นาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง และอา้ งอิงอยา่ งมีจรยิ ธรรม

Application of computer skills for communicating with a particular

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

120 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 emphasis on perception; information searching, gathering, analysis, synthesis based on a study of importance of information and information resources on arts and culture; self-study for presenting the research findings, including ethically referring.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 121

หลกั สูตรครุศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2562 )

1. รหสั และชือ่ หลกั สูตร

ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา ภาษาองั กฤษ : Doctor of Education Program in Educational Administration

2. ช่อื ปริญญาและสาขาวชิ า

ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม : ครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ (การบรหิ ารการศึกษา) ชื่อย่อ : ค.ด. (การบรหิ ารการศึกษา)

ภาษาองั กฤษ ช่ือเตม็ : Doctor of Education (Educational Administration) ชอ่ื ย่อ : Ed.D. (Educational Administration)

3. การจัดการเรียนการสอน

วนั -เวลาในการดาเนนิ การเรยี นการสอน นอกวนั –เวลาราชการ (เรยี นวนั เสาร์–อาทิตย)์ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนกรกฎาคม – ธนั วาคม ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – พฤษภาคม

4. คา่ ใช้จ่าย

เหมาจา่ ยตลอดหลกั สูตร 390,000 บาท โดยกาหนดให้แบง่ จ่าย ภาคการศึกษาละ 39,000 บาท หมายเหตุ : กรณีผู้เข้าศึกษาสาเร็จการศึกษาภายใน 3 ปีการศึกษา จะต้องชาระคา่ งวดที่คงเหลือทั้งหมด

ก่อนยน่ื ขอสาเรจ็ การศกึ ษากับมหาวิทยาลยั

5. หลักสตู รและจานวนหน่วยกิต

หลักสูตรระดับปริญญาเอก 3 ปี จัดการศึกษาแบบเต็มเวลา สาเร็จการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปกี ารศึกษา และไมก่ อ่ น 6 ภาคการศึกษาปกติ

5.1 หลกั สตู ร หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรท่ีใช้

ภาษาไทย นักศึกษาสามารถทาดุษฎีนิพนธ์เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษได้ ท้ังน้ี โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีแผนการศึกษา 2 แผน คือ แผนแบบ 1.1 และ แผนแบบ 2.1

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

122 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

5.2 จานวนหน่วยกติ

รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต ท้ัง 2 แบบ แบบ 1.1 (By Research) และ

แบบ 2.1 (By Coursework and Research)

แบบ 1.1 (By Research) เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย ผู้เรียนต้องทาดุษฎี

นิพนธ์ข้ันสูงท่ีก่อให้เกิดความรู้ใหม่ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต และต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา

ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา 3 หน่วยกิต พร้อมศึกษาชุดวิชาท่ีเพ่ิมเติม โดยไม่นับหน่วยกิตแต่ต้อง

สอบผ่านเกณฑ์ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด สอบผ่านภาษาอังกฤษตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด และ

สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่ือเป็นผู้มีสิทธิขอทาดุษฎีนิพนธ์ ท้ังน้ี

ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้

ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ จานวน 1 บทความ และระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศ

คณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่

ผลงานทางวิชาการจานวน 1 บทความ รวมทั้งต้องเข้ารับการสัมมนาเข้มเสริมประสบการณ์ดุษฎีบัณฑิต

ซ่ึงดุษฎีนิพนธ์ขั้นสูงจะต้องก่อให้เกิดความรู้ใหม่ท่ีมีคุณภาพสูง (60 หน่วยกิต) และมีการสัมมนาเข้ม

เสรมิ ประสบการณด์ ุษฎบี ณั ฑติ การบรหิ ารการศึกษา (ไม่นบั หน่วยกติ )

แบบ 2.1 (By Coursework and Research) เป็นแผนการศึกษาที่เรียนรายวิชาและเน้น

การวิจัย โดยมีการทาดษุ ฎนี ิพนธ์ท่ีมีคุณภาพสูงและก่อใหเ้ กิดความกา้ วหน้าทางวิชาการและวิชาชพี จานวน 36

หน่วยกิต ผู้เข้าศึกษาต้องศึกษาชุดวิชาตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรสอบผ่านภาษาอังกฤษตามที่มหาวิทยาลัย

กาหนด และสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่ือเปน็ ผู้มีสิทธิขอทาดุษฎีนิพนธ์ ทั้งน้ี

ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์

ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การ

พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 บทความ รวมทั้งต้องเข้ารบั การ

สมั มนาเขม้ เสริมประสบการณ์ดษุ ฎบี ัณฑิต

5.3 โครงสร้างหลกั สตู ร

จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต โดยมีจานวนหน่วยกิต

แตล่ ะหมวดดงั น้ี

4.3.1 แผนแบบ 1.1

(1) หมวดเฉพาะด้าน (วิชาบงั คบั ) 3 หนว่ ยกิต

(2) หมวดดุษฎีนิพนธ์ ไมน่ ้อยกว่า 60 หน่วยกิต

รวมหนว่ ยกิตตลอดหลักสตู ร แบบ 1.1 63 หนว่ ยกติ

4.3.2 แผนแบบ 2.1

(1) หมวดวชิ าสมั พันธ์ 6 หน่วยกติ

(2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไม่นอ้ ยกว่า 21 หน่วยกิต

วชิ าบังคบั 18 หน่วยกติ

วิชาเลือกไมน่ ้อยกว่า 3 หน่วยกติ

(3) หมวดดุษฎนี พิ นธ์ 36 หน่วยกติ

รวมหนว่ ยกิตตลอดหลกั สตู ร แบบ 2.1 63 หน่วยกิต

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 123

รายละเอยี ดรายวิชา

แบบ 1.1

1. หมวดเฉพาะดา้ น 3 หนว่ ยกิต

1.1 รายวิชาบังคับ ให้เรียน 3 หนว่ ยกิต

1067804 ปฏบิ ัตกิ ารวิชาชีพบริหารการศึกษา 3(135) 60(2700) Internship in Professional Administration

2. หมวดดุษฎนี พิ นธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 60 หนว่ ยกติ

1069918 ดษุ ฎีนิพนธข์ ้นั สงู Advanced Dissertation

แบบ 2.1 1. หมวดวิชาสัมพนั ธ์ ใหเ้ รยี น 6 หนว่ ยกิต ตามรายวชิ าต่อไปนี้

1069708 วิธวี ิทยาการวจิ ยั ขัน้ สูง 3(2-2-5) 1069914 Advanced Research Methodology 3(2-2-5) สมั มนาการวิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา 1061104 Research Seminar in Educational Administration 3(2-2-5) 1062105 3(2-2-5) 1063105 2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น เรยี นไม่นอ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต 3(2-2-5) 1064302 2.1 รายวิชาบังคับ ให้เรียน 18 หน่วยกิต ตามรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 3(2-2-5) 1067804 3(135) 1068201 ทฤษฎีองคก์ ารและการพฒั นาองค์การทางการศึกษา 3(2-2-5) Organizational Theory and Educational Organization Development 1069135 การพฒั นาภาวะผ้นู าทางการศกึ ษา 3(2-2-5) Development of Educational Leadership ทฤษฎี และแนวโนม้ ทางการบรหิ ารการศกึ ษา Theory and Trend in Educational Administration นโยบายและการวางแผนเชิงกลยทุ ธ์เพ่ือพัฒนาการศึกษา Policy and Strategic Planning for Educational Development ปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศกึ ษา Internship in Professional Administration นวตั กรรมและการบริหารจัดการรว่ มสมัยทางการบริหารการศกึ ษา Innovation in Contemporary Management of Educational Administration

2.2 รายวิชาเลือก เรยี นไม่น้อยกว่า 3 หนว่ ยกิต ตามรายวิชาต่อไปนี้ การบริหารการศึกษาในอนาคตตามบรบิ ทสงั คมโลก Future Prospect of Educational Administration in Global Context

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

124 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

1069917 การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทางการบริหารการศกึ ษา 3(2-2-5) 1069402 Qualitative Research in Educational Administration 3(2-2-5) 1069709 การนเิ ทศการศึกษาและภาวะผู้นาทางวิชาการ 3(3-0-6) Educational Supervision and Academic Leadership สถติ ิขั้นสงู สาหรบั การวิจัย Advanced Statistics for Research

2. หมวดดุษฎนี พิ นธ์

1069918 ดุษฎนี พิ นธข์ น้ั สูง 60(2700) 1069919 Advanced Dissertation 36(1620) ดษุ ฎีนิพนธ์ Dissertation

5.4 แผนการจัดการเรียนการสอน 5.4.1 แผนการจดั การเรยี นการสอน แบบ 1.1

ปีที่ 1/ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวชิ า กลุ่มวชิ า รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า หน่วย ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา กิต ด้วย ตนเอง

สอบวัดคณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) - -- -

ดษุ ฎนี ิพนธ์ 1069918 ดษุ ฎนี ิพนธข์ ้ันสงู (1) 10 - - 450

เฉพาะด้าน รายวิชา 1067804 ปฏิบตั ิการวิชาชพี 3 135

บงั คับ บริหารการศึกษา

รวม 13 - - 585

ชัว่ โมง/สปั ดาห์ = 585

หมายเหตุ นักศึกษาท่ีไม่ประสงค์จะขอใบประกอบวิชาชีพกับคุรุสภาไม่จาเป็นต้องลงเรียนรายวิชา

ปฏบิ ตั กิ ารวิชาชพี บรหิ ารการศกึ ษา

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 125

ปีท่ี 1/ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวิชา กลุ่มวชิ า รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษา กิต ด้วย ดษุ ฎีนิพนธ์ ตนเอง เสรมิ 1069918 ดุษฎนี พิ นธ์ขนั้ สูง (2) 10 450 ประสบการณ์ - -- - การบริหาร สมั มนาระดบั ชาติ การศึกษา หรอื นานาชาติ 10 450 ทางดา้ นการบริหาร หรือทส่ี ัมพนั ธ์ เก่ียวขอ้ ง หรือด้าน การวิจัย เพื่อเสรมิ ประสบการณด์ ้านการ บริหารการศึกษา

รวม

ชั่วโมง/สัปดาห์ = 450

ปที ่ี 2/ภาคการศกึ ษาท่ี 1

หมวดวิชา กลุ่มวชิ า รหสั วชิ า ชื่อวิชา หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษา กิต ดว้ ย ดษุ ฎนี พิ นธ์ ตนเอง เสรมิ 1069918 ดุษฎีนิพนธ์ขัน้ สงู (3) 10 450 ประสบการณ์ - -- - การบริหาร สมั มนาระดบั ชาติ การศกึ ษา หรือนานาชาติ 10 450 ทางดา้ นการบรหิ าร หรือทสี่ มั พนั ธ์ เก่ียวขอ้ ง หรือด้าน การวจิ ัย เพือ่ เสรมิ ประสบการณ์ ด้านการบรหิ าร การศึกษา

รวม

ช่วั โมง/สัปดาห์ = 450

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

126 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ปีท่ี 2/ภาคการศกึ ษาท่ี 2

หมวดวชิ า กล่มุ วชิ า รหสั วชิ า ชือ่ วิชา หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษา ดว้ ย ดุษฎนี ิพนธ์ 1069918 ดุษฎีนิพนธ์ขน้ั สงู (4) 10 - - ตนเอง เสรมิ 450 ประสบการณ์ สมั มนาระดบั ชาติ - -- - การบริหาร การศึกษา หรือนานาชาติ 450

ทางดา้ นการบริหาร

หรอื ที่สัมพันธ์

เกย่ี วขอ้ ง

หรือดา้ นการวจิ ัย

เพือ่ เสรมิ

ประสบการณ์

ด้านการบรหิ าร

การศึกษา

รวม 10 - -

ชั่วโมง/สัปดาห์ = 450

ปที ่ี 3/ภาคการศกึ ษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลุม่ วชิ า รหสั วิชา ชอื่ วชิ า หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษา กิต ด้วย ดษุ ฎนี ิพนธ์ ตนเอง เสรมิ 1069918 ดุษฎนี พิ นธ์ขั้นสงู (5) 10 450 ประสบการณ์ - -- - การบรหิ าร สัมมนาระดับชาติ การศึกษา หรอื นานาชาติ 10 450 ทางดา้ นการบรหิ าร หรอื ทส่ี ัมพันธ์ เกีย่ วขอ้ ง หรือด้านการวจิ ยั เพือ่ เสริมประสบการณ์ ดา้ นการบริหาร การศึกษา

รวม

ชวั่ โมง/สปั ดาห์ = 450

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 127

ปที ี่ 3/ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวิชา กลุ่มวชิ า รหัสวิชา ช่ือวชิ า หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษา กติ ดว้ ย ตนเอง

ดษุ ฎนี ิพนธ์ 1069918 ดุษฎนี พิ นธ์ข้นั สูง (6) 10 - - 450

เสรมิ สมั มนาระดบั ชาติหรือ - -- -

ประสบการณ์ นานาชาตทิ างดา้ น

การบรหิ าร การบริหารหรอื ท่ี

การศึกษา สมั พนั ธ์เก่ียวขอ้ งหรอื

ดา้ นการวจิ ัย

เพือ่ เสรมิ ประสบการณ์

ดา้ นการบรหิ าร

การศกึ ษา

รวม 10 - - 450

ชั่วโมง/สัปดาห์ = 450

หมายเหตุ ในแต่ละปีการศึกษาอาจจะจัดให้มีภาคการศึกษาฤดูร้อน ทั้งน้ี ต้องเป็นไปตามมติ

ของคณะกรรมการอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร

แผนการจัดการเรยี นการสอน แบบ 2.1

ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 1

หมวด กล่มุ วชิ า รหสั วชิ า ช่อื วิชา หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษา วิชา ดว้ ย ตนเอง รายวชิ า 1063105 ทฤษฎี และแนวโน้ม 3 22 5 3 22 บังคับ ทางการบรหิ าร 5 3 22 การศกึ ษา 3 22 5 12 88 รายวิชา 1068201 นวตั กรรมและการ 88 5

บังคับ บริหารจดั การรว่ มสมยั 20 20 เฉพาะ ทางการบรหิ าร (บงั คับ) รายวิชา การศึกษา

1061104 ทฤษฎอี งคก์ าร

บังคบั และการพฒั นาองค์การ

ทางการศึกษา

รายวชิ า 1064302 นโยบายและการ

บงั คบั วางแผนเชงิ กลยุทธ์เพ่อื

พฒั นาการศกึ ษา

รวม

ช่ัวโมง/สัปดาห์ = 36

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

128 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ปีที่ 1/ภาคการศึกษาท่ี 2

หมวด กล่มุ วชิ า รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษา วชิ า ดว้ ย 1069708 วิธีวิทยาวจิ ยั ขัน้ สูง 3 22 ตนเอง สัมพันธ์ รายวชิ า xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 5 เฉพาะ เลือก ด้าน 6 2+ 2+ 5+ รวม 2+ 2+ 5+ ชั่วโมง/สปั ดาห์ = 9+

ปที ี่ 2/ภาคการศึกษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลมุ่ วชิ า รหสั วิชา ช่อื วชิ า หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษา กติ 22 ดว้ ยตนเอง

สัมพนั ธ์ 1069914 สมั มนาการวิจยั 3 22 5

ทางการบรหิ าร -- 5 44 การศกึ ษา 44 - 10 เฉพาะ รายวชิ า 1062105 การพฒั นาภาวะผนู้ า 3 10

ดา้ น บังคับ ทางการศึกษา

สอบวัดคณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) -

รวม 6

ชัว่ โมง/สัปดาห์ = 18

ปีที่ 2/ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวิชา กลุม่ วชิ า รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษา กติ ดว้ ยตนเอง

เฉพาะ รายวิชา 1067804 ปฏบิ ัตกิ ารวิชาชีพ 3 - - 135

ด้าน บังคับ บริหารการศึกษา

ดุษฎี 1069919 ดษุ ฎนี พิ นธ์ (1) 12 - - 540

นพิ นธ์

รวม 15 - - 675

ชัว่ โมง/สัปดาห์ = 675

หมายเหตุ นักศึกษาที่ไม่ประสงค์จะขอใบประกอบวิชาชีพกับคุรุสภาไม่จาเป็นต้องลงเรียนรายวิชา

ปฏิบตั ิการวิชาชพี บริหารการศึกษา

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 129

ปที ่ี 3/ภาคการศกึ ษาที่ 1

หมวดวิชา กลุม่ วชิ า รหสั วิชา ช่อื วิชา หนว่ ย ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษา 1069919 กิต ดว้ ยตนเอง ดุษฎี นพิ นธ์ ดุษฎนี พิ นธ์ (2) 12 540

รวม 12 540 ช่วั โมง/สัปดาห์ = 540

ปที ่ี 3/ภาคการศกึ ษาท่ี 2

หมวดวชิ า กลุ่มวชิ า รหสั วิชา ชือ่ วิชา หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษา กติ ดว้ ยตนเอง

ดษุ ฎีนิพนธ์ 1069919 ดษุ ฎนี ิพนธ์ (3) 12 - - 540

รวม 12 - - 540

ช่วั โมง/สปั ดาห์ = 540

หมายเหตุ ในแต่ละปีการศึกษาอาจจะจัดให้มีภาคการศึกษาฤดูร้อน ท้ังนี้ ต้องเป็นไปตามมติของ

คณะกรรมการอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร

รหัสวชิ า คาอธบิ ายรายวชิ า หน่วยกิต หมวดวชิ าสัมพันธ์ คาอธบิ ายรายวิชา

1069708 วิธีวทิ ยาการวจิ ยั ขนั้ สูง 3(2-2-5)

Advanced Research Methodology

แนวคิดและวิธีการในการดาเนินการวิจัย ปรัชญาการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ

การวจิ ัยเชิงคุณภาพ การวจิ ัยแบบผสมผสาน หลักการในการเลอื กปัญหาวิจัย ประเด็นปัญหาการวิจัย

ทางการบริหารการศกึ ษา ปฏิบัติการพัฒนาและนาเสนอเคา้ โครงวจิ ัยอยา่ งง่าย การแลกเปลยี่ นเรียนรู้

ประสบการณ์ การฝึกปฏิบัติการวิจัย ประเด็นปัญหา อุปสรรค และแนวทางการดาเนินการวิจัย

การเผยแพร่ผลงานวิจัย และการนาผลการวิจัยไปใช้เพื่อพัฒนาในท้องถิ่นเพ่ือเตรียมการในการทา

ดษุ ฎีนพิ นธ์ และจรยิ ธรรมทางการวจิ ยั

Concepts and methodology in conducting research, advanced research

philosophy, quantitative research, qualitative research, and mixed method research,

principles in choosing research problems, issues in research problems, developing a timely

practice and presenting research proposals, Exchanging learning experiences, Practice in

identifying research problems, difficulties, and guidelines in conducting research,

dissemination and implementation of research results for the development in the local

area, preparation for conducting dissertation and research ethics.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

130 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

1069914 สมั มนาการวิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา 3(2-2-5)

Research Seminar in Educational Administration

ปัญ หาและหัวข้อการวิจัยทางการบริหารการศึกษ า วิธีการดาเนินการ

และกระบวนการวิจัยทางการบริหารการศึกษา หลักการ แนวคิดและทฤษฎีร่วมสมัยในการวิจัย

ท างการบ ริห ารการศึกษ า จริยธรรมของนั กวิจัย การวิจัยท างการบ ริห ารการศึกษ า

ทั้งในและต่างประเทศ งานวิจัยทางการบริหารการศึกษาในอนาคต การสัมมนาและการวิพากษ์

เค้าโครงงานวิจัยระดับปริญญาเอก การเขียนบทความวิจัยระดับปริญญาเอกลงวารสารระดับชาติ

และนานาชาติ การขบั เคล่อื นผลงานวจิ ยั สกู่ ารรบั ใช้สังคม

Problems and research topics in educational administration, methods

and research process in educational administration. Concept and Principles of modern

theories in educational administration. Researcher’s ethics. Educational administration

research in national and international contexts. The Future of Educational administration

research. Seminars and comment on dissertation proposal. Article writing and practice of

national and international publication. Research for stimulating community engagement.

หมวดวิชาเฉพาะดา้ น รายวิชาบังคบั

1061104 ทฤษฎอี งคก์ ารและการพัฒนาองคก์ ารทางการศึกษา 3(2-2-5)

Organizational Theory and Educational Organization

Development

การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีองค์การ การวิเคราะห์องค์การ

การบริหารคุณภาพและกลยุทธ์การพัฒนาองค์การทางการศึกษา การบริหารความเสี่ยง

และความขดั แย้ง การประยุกตแ์ นวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั เพือ่ การพฒั นาองค์การทางการศึกษา

Critical analysis on concepts, organizational theory, organizational analysis,

quality management and organization development strategy, risk and mangement,

application of theory and selective researches relating to behavior in educational

organization.

1062105 การพฒั นาภาวะผนู้ าทางการศกึ ษา 3(2-2-5)

Development of Educational Leadership

แนวคิดและทฤษฎีภาวะผู้นา ภาวะผู้นามืออาชีพท่ีบริหารจัดการแบบร่วมสมัย

การพัฒนาภาวะผู้นา การพัฒนาสมรรถนะผ้นู าทางการศึกษา คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับผู้นาทาง

การศึกษา การประยุกต์แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยเก่ียวกับภาวะผู้นาเพ่ือการพัฒนาวิชาชีพทางการ

บรหิ ารการศกึ ษา ภาวะผนู้ ากับการพฒั นาองค์การทางการศึกษาอยา่ งยั่งยืน

Leadership concept and theory, Leadership for contemporary management

in educational administration. Leadership development, competency development for

educational leaders, moral and ethics for educational leaders, application of theory and

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 131

research on leadership in educational profession administration and organization development for sustainable development.

1063105 ทฤษฎแี ละแนวโนม้ ทางการบรหิ ารการศกึ ษา 3(2-2-5)

Theory and Trend in Educational Administration

แนวคิด ทฤษฎี และแนวโน้มทางการบริหารการศึกษาและการศึกษาเปรียบเทียบ

การนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดและบริหารการศึกษาไทยภายใต้บริบทและเง่ือนไขทางการเมือง

เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมไทย รู้จักเลือกและนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการจัด

และการบริหารการศึกษา การประเมินโครงสร้าง การจัดองค์การและการบริหารการศึกษาไทย

แนวทางในการจัดระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาท่ีสัมพันธ์กับการพัฒนาประเทศ

ยทุ ธศาสตรใ์ นการพัฒนาการจดั และการบริหารการศึกษาและสถานศึกษาในทอ้ งถิน่

Concepts, theory and trends of educational administration and comparative

education. Application of Thai educational management and administration within the

context and condition of Thai politics, economy, society and culture. Selection and

implementation of appropriate technology in educational management and administration.

Assessment of structure, organizational management and Thai educational administration.

Approaches in managing educational system and educational administration relating to

country development. Strategies in developing the management and educational

administration in local institutions.

1064302 นโยบายและการวางแผนเชงิ กลยุทธ์เพ่อื พัฒนาการศึกษา 3(2-2-5)

Policy and Strategic Planning for Educational

Development

หลักการและแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบาย การกาหนดนโยบาย การพัฒนา

นโยบาย การวิเคราะห์นโยบาย การนานโยบายสู่การปฏิบัติ การประเมินนโยบาย การวิจัยนโยบาย

หลักการ แนวคิดและเทคนิคการวางแผนเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิเคราะห์เศรษฐกจิ สังคม

และการเมืองเพื่อการวางแผนพัฒนาการศึกษา เทคนิคและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา

การบูรณาการแผนพัฒนาการศึกษา การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ

การประเมินแผนองคก์ รทางการศึกษา

Concepts, Principles and policy. Policy formulation, development of

policy, policy analysis, policy implementation, and policy assessment, principles,

concepts and technique of planning of strategic development for educational

development. Economic, social and political analysis of educational development.

planning technique and process of educational development plan, Integrated

educational development plan, Improving The stimulating plan for educational

development, assessment of educational development plan in educational

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

132 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

organizations.

1067804 ปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชพี บริหารการศกึ ษา 3(135)

Internship in Professional Administration

การศึกษา วิเคราะห์ นาเสนอแผนและฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา

และสมั มนาหลังการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารวชิ าชพี บริหารการศกึ ษา

Studying, analyzing, proposing plan, and practicing an educational

administration internship, post seminar on internship in educational administration.

1068201 นวัตกรรมและการบริหารจดั การร่วมสมยั ทางการบริหารการศึกษา 3(2-2-5) Innovation in Contemporary Management of Educational Administration แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนวัตกรรม องค์การนวัตกรรม การพัฒนาและประยุกต์

นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษาเพ่ือการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา นวัตกรรมในการพัฒนา หลักสูตรและหลักสูตรสถานศึกษา นวัตกรรมในการบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตร นวัตกรรมในการ จัดกิจกรรมนักเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมทางการบริหาร การศึกษา การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรและหลักสูตรสถานศึกษา การบริหาร กิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดกิจกรรมนักเรียนเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน การวิเคราะห์และการ ประยุกตแ์ นวคิด ทฤษฎีทางการบริหารเพ่ือการพัฒนาการบรหิ ารการศึกษายุคใหม่ การพฒั นาเทคนิค และกระบวนการบริหารการศกึ ษาสมยั ใหม่ การพัฒนาแนวคดิ ทฤษฎีและกระบวนการบริหารจัดการ องคก์ ารสมัยใหม่

Concept and Theory of innovation, innovative organization, development and application of innovation in educational administration for supporting educational quality, innovation in curriculum and school curriculum development, innovation in management of extracurricular activities, innovation in organization the activities to develop the learner potential. Related research in educational administration innovation, supporting educational quality, development of curriculum and school curriculum, extracurricular activities administration, activities to develop the learner potential. Analysis and application of concepts, administrative theory for modern educational administration development. Development of techniques and process in modern educational administration. Development of concepts, theory and process of modern organizational management.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 133

หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น รายวิชาเลอื ก

1069135 การบรหิ ารการศึกษาในอนาคตตามบริบทสังคมโลก 3(2-2-5)

Future Prospect of Educational Administrators in

Global Context

ความหมาย ความสาคัญและบทบาทของอนาคตศึกษา ผู้บริหารกับอนาคตศึกษา

วิธีการอนาคตศึกษา กรณีตัวอย่างการสร้างภาพความคิดเชิงอนาคตในการบริหารการศึกษา เทคนิค

การระดมพลังสมอง การวิเคราะห์ผลกระทบข้ามตัวแปร ปัจจัยท้าทายการบริหารการศึกษายุคใหม่

ทักษะการคิดเชิงอนาคต การประยุกต์แนวคิด และงานวิจัยเพ่ือการพัฒนาการบริหารการศึกษาไทย

ให้สอดรับกบั ความเปล่ียนแปลงในสังคมโลก

Definition, significance, and the role of future studies. Administrators and

future studies. Future study model. Case study on identity of future notion in educational

administration in brainstorming. Techniques Analysis of cross-variables effect. Challenging

factors in modern educational administration. Future thinking skills, application of concepts

and research for developing Thai educational administration in response to the global

changes.

1069917 การวจิ ัยเชงิ คุณภาพทางการบริหารการศึกษา 3(2-2-5)

Qualitative Research in Educational Administration

ทฤษฎี และแนวคิดของการวจิ ัยเชงิ คุณภาพทางการบรหิ ารการศกึ ษา การออกแบบงานวิจัย

การคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสาคัญ เทคนิคการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล การอภิปราย

ผลงานวิจัย จริยธรรมของนักวิจัยเชิงคุณภาพ การจัดทารายงานเพ่ือการนาเสนอในการประชุม

และการตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการ

Theory and concepts of qualitative research in educational administration,

research design, key information persons selection, data collection, data analysis,

interpretation discussion and qualitative researcher’s ethics. Paper preparation for

presentation and publication.

1069402 การนิเทศการศึกษาและภาวะผู้นาทางวิชาการ 3(2-2-5)

Educational Supervision and Academic Leadership

การศึกษาวิเคราะห์หลักการ ทฤษฎี รูปแบบ เทคนิคและกิจกรรมการนิเทศ

การศึกษา การวางโครงการและการประเมินโครงการนิเทศการศึกษา การศึกษาปรับปรุงการเรียน

การสอนและการนิเทศภายในสถานศึกษา บทบาทหน้าท่ีและทักษะของผู้นิเทศการศึกษา

ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติการพัฒนาเคร่ืองมือและทักษะการนิเทศ

การศึกษา การประยุกต์ใช้ผลการวิจัยและการใช้การนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศึกษา

แ ล ะ วิ เค ร า ะ ห์ ห ลั ก ก า ร ท ฤ ษ ฎี ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง ก า ร จั ด ร ะ บ บ ง า น แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

134 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

การบริหารรายวิชา เทคนิคและกระบวนการพฒั นาคุณภาพงานวิชาการ Analysis of principles, Theory, pattern, techniques, and activities in

educational supervision. Planning projects and assessment of educational supervision projects. Studying improvement of teaching–learning and internal supervision in institutions. Supervisors’ role, function, and skills. Analysis of problems and solutions. Practice developing instruments and skills in supervising. Application of research results and implementation of supervision for educational quality development. Studying and analyzing principles, theory, and process of work system management and academic affair administration. Course management. Techniques and process in academic affair quality develop.

1069709 สถิตขิ ัน้ สูงสาหรับการวิจัย 3(2-2-5)

Advanced Statistics for Research

สถิติขั้นสูงในการวิจัยเชิงปริมาณและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เหมาะสม

กับการวิจัย การประมวลผลข้อมลู และใชส้ ถติ ิเชิงอนุมาน เทคนิคและวิธี การวเิ คราะห์ตวั แปรพหุคูณ

ที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณและสมการถดถอยพหุคูณ การวิเคราะห์

ความแปรปรวนพหุคูณ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม การวิเคราะห์การจาแนกประเภท

การวเิ คราะห์จดั กลุ่ม การวิเคราะห์เสน้ ทาง การวิเคราะหข์ อ้ มลู พหรุ ะดบั และสถติ ินอนพาราเมตรกิ

Advanced statistics in quantitative research and method of qualitative

data analysis appropriate to research. Data classification and deductive statistics.

Techniques and analysis of multiple variables used in research. Analysis of multiple

coefficient and multiple regressive correlation. Analysis of multiple variables. Analysis

of co-variables. Discriminant Analysis. Cluster Analysis. Path Analysis. Multi-level

Analysis and non-parametric statistics.

หมวดดษุ ฎีนพิ นธ์

1069918 ดุษฎนี พิ นธข์ ัน้ สูง 60

Advanced Dissertation

การทาวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงความรู้ความสามารถเชิงลึกในหลักการ แนวคิดและ

ทฤษฎีมีความคิดริเริ่มก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ท่ีมีคุณภาพสูง เพื่อสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหา

หรือพัฒนาการบริหารการศึกษา ในระดับนโยบายของหน่วยงานทางการศึกษาและ/หรือส่งผลต่อ

การเปลี่ยนแปลงในระดับต่าง ๆ ตลอดจนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในระดับต่าง ๆ ทั้งในระดับ

หน่วยงาน ระดับกรม หรือระดับกระทรวง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ท่ีได้รับ

การแต่งตั้งตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย นักศึกษาสามารถแบ่งลงทะเบียนได้ตามข้อบังคับ

และประกาศของมหาวิทยาลัย การลงทะเบียนนักศึกษาต้องลงทะเบียนตามลักษณะเนื้อหา

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 135

ท่ีแบ่งเป็น 6 ตอนต่อภาคเรียน หากกรณีบัณฑิตผ่านการประเมินแต่ละตอน ก่อนจบภาคเรียน สามารถลงทะเบียนศึกษาต่อตอนต่อไปได้ โดยไม่ต้องรอสิ้นภาคเรียน ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบ ทมี่ หาวิทยาลัยกาหนดแตล่ ะตอนแบ่งสาระดังนี้

Conducting research to reveal the thorough knowledge, capability, creative thinking to construct a new high quality knowledge to be able to solve problems or develop administration, in the policy level of the education institute and/or affects the change in different levels, able to imply the knowledge for the benefit of the educational departments, institutes or ministry. This process is managed under the dissertation advisory committee appointed by the university regulations. The graduate students can register each course according to the university regulations and university announcement. In registering, the students must register according to the content which is divided into 6 courses. The description of each course is as the following:

ดษุ ฎีนิพนธข์ น้ั สูง 1 (Advanced Dissertation 1 : 10 หน่วยกิต) กาหนดปัญหาการวิจัย วางแผนการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง และ เสนอขออนุมัติชื่อเร่ืองดุษฎีนิพนธ์ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใตก้ ารกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ อยา่ งใกล้ชิดและผ่านการสอบอนมุ ตั ชิ อื่ เรอ่ื งดุษฎีนพิ นธ์ Research problem identification, research planning, review of related documents and research, propose dissertation title, all these stages must be closely guided and supervised by dissertation advisors and pass the exam for dissertation title with complete acceptance.

ดษุ ฎีนิพนธ์ขั้นสงู 2 (Advanced Dissertation 2 : 10 หนว่ ยกติ ) ออกแบบการวิจัยในด้านการเลือกหรือการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบ การวัดตัวแปร การออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล การจัดทาเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ และนาเสนออนุมัติ เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ ทั้งนี้ ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษาดุษฎีนิพนธ์อย่างใกล้ชิด และผา่ นการสอบป้องกันเคา้ โครงดุษฎนี พิ นธ์ Research design in selecting or identifying samples, design of variables measurement, design of data analysis, writing dissertation proposal and presentation of dissertation proposal, all these stages must be closely guided and supervised by dissertation advisors and pass the exam for dissertation.

ดุษฎนี ิพนธข์ นั้ สูง 3 (Advanced Dissertation 3 : 10 หนว่ ยกิต) สร้างเครื่องมือวิจัย ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ และเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งน้ี ต้องอยูภ่ ายใตก้ ารกากับดูแลของอาจารยท์ ีป่ รึกษาดุษฎนี ิพนธอ์ ยา่ งใกล้ชิด

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

136 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

Construct research instrument, examine the quality of research instrument, all these stages must be closely guided and supervised by dissertation advisors.

ดุษฎีนพิ นธ์ขั้นสงู 4 (Advanced Dissertation 4 : 10 หนว่ ยกิต) การเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษา ดุษฎนี ิพนธ์อย่างใกลช้ ิด Data collection with closely guided and supervised by dissertation advisors.

ดุษฎีนิพนธข์ นั้ สงู 5 (Advanced Dissertation 5 : 10 หนว่ ยกติ ) การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การเสนอผลสรปุ และอภิปราย ผลและข้อเสนอแนะ ทงั้ นี้ ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษาดษุ ฎนี ิพนธ์อยา่ งใกลช้ ิด และนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ต่อคณะกรรมการทปี่ รกึ ษาดษุ ฎีนิพนธ์ Data analysis Presentation of data analysis results, presentation of research conclusion, discussion of research results and recommendations, All these stages must be closely supervised by dissertation advisors and present the result of data analysis to dissertation advisory committee.

ดษุ ฎีนิพนธข์ ้นั สงู 6 (Advanced Dissertation 6: 10 หน่วยกิต) การเขียนรายงานการวิจัย และการนาเสนอรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ในการสอบปกป้องดุษฎีนิพนธ์ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด และเห็นชอบการดาเนินการให้ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ พร้อมที่จะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการหรือส่ิงพิมพ์ทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ และผ่าน การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ตามระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวทิ ยาลยั เพือ่ สาเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรดุษฎบี ัณฑิต Writing dissertation report and presentation of complete dissertation report for dissertation proposal defend exam. All these stages must be closely supervised and agreed by dissertation advisors to permit the complete dissertation or part of complete dissertation to be published in national or international academic journals and pass the dissertation proposal defend exam with complete acceptance in order to complete education of doctorate degree curriculum and pass the dissertation proposal defend exam with complete acceptance.

1069919 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 36

Dissertation

การทาวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถ ความคิดริเริ่มก่อให้เกิด

องค์ความรู้ใหม่เพื่อสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญ หาหรือพัฒ นาการบริหารการศึกษา

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 137

ภายใตค้ ณะกรรมการที่ปรกึ ษาดุษฎีนิพนธ์ทไ่ี ด้รับการแต่งต้ังตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย นักศึกษา สามารถแยกลงทะเบยี นได้ ตามขอ้ บังคับและประกาศของมหาวทิ ยาลัย

การลงทะเบียน นักศึกษาต้องลงทะเบียนตามลักษณะเนื้อหาท่ีแบ่งเป็น 3 ตอน แตล่ ะตอนแบง่ สาระดงั น้ี

Conducting research to reveal the thorough knowledge, capability, creative thinking to construct a new body of knowledge to be able to solve problems or develop educational administration. This process is managed under the dissertation advisory committee appointed by the university regulations. The graduate students can register each course according to the university regulations and university announcement.

In registering, the students must register according to the content which is divided into 3 courses. Each course has the following course description:

ดุษฎีนิพนธ์ 1 (Dissertation 1 : 12 หนว่ ยกิต) กาหนดปัญหาการวิจยั วางแผนการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและเสนอขออนุมัติชื่อ เร่ืองดุษฎีนิพนธ์ ออกแบบการวิจัยในด้านการเลือกหรือการกาหนดกลุ่มตัวอยา่ ง การออกแบบการวัด ตัวแปร การออกแบบ การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทาเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ ท้ังนี้ ต้องอยู่ภายใต้การ กากบั ดแู ลของอาจารย์ทีป่ รกึ ษาดษุ ฎีนพิ นธ์อย่างใกล้ชิดและผ่านการสอบอนุมัติชือ่ เร่ืองดุษฎีนิพนธ์

Research problem identification, research planning, review of related documents and research, propos of dissertation title, research design in selecting or identifying samples, design of variables measurement, design of data analysis, writing dissertation proposal. All these stages must be closely guided and supervised by dissertation advisors and pass the exam for dissertation title with complete acceptance.

ดุษฎีนิพนธ์ 2 (Dissertation 2 : 12 หน่วยกติ ) นาเสนออนุมัติเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ พร้อมทั้งสร้างเครื่องมือวิจัย ตรวจสอบคุณภาพ ของเคร่ืองมือ และเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ อาจารย์ท่ีปรึกษาดษุ ฎนี พิ นธอ์ ยา่ งใกล้ชดิ และผา่ นการสอบป้องกนั เค้าโครงดุษฎนี พิ นธ์ Presentation of dissertation proposal for acceptance, construct research instrument, examine the quality of research instrument and collect data, analysis of data. All these stages must be closely guided and supervised by dissertation advisors and pass the dissertation proposal defend exam with complete acceptance.

ดุษฎีนิพนธ์ 3 (Dissertation 3: 12 หน่วยกิต) การเสนอผลสรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การเขียนรายงานดุษฎีนิพนธ์ สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ตามระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

138 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 และการนาเสนอรายงานดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ท้ังนี้ ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ ท่ีปรึกษาอย่างใกลช้ ิดและเห็นชอบการดาเนินการใหผ้ ลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหน่ึงของดุษฎีนิพนธ์ ฉ บั บ ส ม บู ร ณ์ พ ร้อม ท่ี จ ะได้ รับ การ ตี พิ มพ์ ใน ว ารส า รวิ ช ากา ร ห รื อสิ่ งพิ มพ์ ท างวิ ช ากา รระดั บ ช า ติ หรอื นานาชาติ เพื่อสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู รดษุ ฎบี ณั ฑิต

Presentation of research conclusion, discussion of research examination results, and recommendations, writing dissertation report. Taking dissertation defend exam according to the regulations concerning University graduate education management. Presentation of complete dissertation report. All these stages must be closely supervised and agreed by dissertation advisors to permit the complete dissertation or part of complete dissertation to be published in national or international academic journals in order to complete education of doctorate degree curriculum.

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4 | 139

หลักสูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2561)

1. รหสั และชอ่ื หลักสูตร

ภาษาไทย : หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Industrial Technology

2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม) ชื่อย่อ : ปร.ด. (เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม)

ภาษาองั กฤษ ชือ่ เตม็ : Doctor of Philosophy (Industrial Technology) ชอ่ื ย่อ : Ph.D. (Industrial Technology)

3. การจัดการเรยี นการสอน

วนั -เวลาในการดาเนนิ การเรยี นการสอน นอกวัน–เวลาราชการ (เรียนวันเสาร์–อาทติ ย์) ภาคการศึกษาที่ 1 เดอื นกรกฎาคม – ธนั วาคม ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นมกราคม – พฤษภาคม

4. คา่ ใช้จ่าย

เหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 480,000 บาท โดยกาหนดให้แบ่งจ่าย 10 ภาคการศึกษา ๆ ละ 48,000 บาท หากสาเร็จการศึกษาก่อน 10 ภาคการศึกษา ให้ผู้เข้าศึกษาชาระเงินค่าธรรมเนียม การศกึ ษาทคี่ งเหลือทง้ั หมดใหค้ รบตามประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช

5. หลกั สูตรและจานวนหน่วยกิต

5.1 แผนการเรียน หลักสูตรใช้แผนการเรียน แบบ 2 มีรายวิชาเรียนร่วมและการทา วิจัย (Coursework and Research)

ต้องมีรายวิชาเรยี นร่วมและการทาวิจัย (By Course Work) แบบ 2.1 ต้องมจี านวน หน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ 54 หน่วยกิต โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้

แบบ 2.1 เป็นแผนการศึกษาที่มีรายวิชาเรียนร่วมและการทาวิจัย โดยผู้เข้าศึกษา ตอ้ งสาเร็จระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม), หลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาบัณฑิต, หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตร

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

140 | คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

เทคโนโลยีมหาบัณฑิต หรือหลักสูตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต หากไม่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา

เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมต้องเรยี นวชิ าเสรมิ พ้ืนฐานทางเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต

และให้ข้ึนอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจาหลักสูตรเป็นผู้ตัดสินช้ีขาดทั้งหน่วยกิตการเรียน

วชิ าเสรมิ พนื้ ฐานและการรับเข้าศกึ ษาในหลักสูตร

ผู้เรียนแบบ 2.1 ต้องทาดุษฎีนิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

ศึกษารายวิชาสัมพันธ์ 6 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาเฉพาะด้าน 12 หน่วยกิต และต้องผ่านเกณฑ์

ภาษาอังกฤษตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช / หรือนาผลการทดสอบภาษาอังกฤษระดับ

คุณภาพตามเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชหรือสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

กาหนดไว้มาเทียบเคียงการผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ ให้ศึกษารายวิชาเสริมทักษะท่ัวไป

(ภาษาองั กฤษ) แบบไมน่ บั หน่วยกติ ตามท่ีหลักสตู รหรือมหาวิทยาลัยโดยบณั ฑติ วิทยาลยั กาหนดไวแ้ ละตอ้ ง

ผ่านผลการประเมินในรายวิชา รวมถึงต้องสอบผ่านการวัดคุณสมบัติข้ันดุษฎีบัณฑิต(Qualifying

Examination) เพือ่ จดั ทาดษุ ฎีนิพนธ์ ทัง้ น้ผี ลงานดุษฎีนพิ นธ์ตอ้ งได้รับการตพี มิ พห์ รอื อย่างน้อยดาเนนิ การ

ให้ผลงาน หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับในการเผยแพรใ่ นวารสารระดับชาติ (TCI กล่มุ 1) หรือ

วารสารนานาชาติที่มีคุณภาพและอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารคุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการ

อดุ มศึกษา โดยต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการประจาหลักสูตรพิจารณากาหนดให้เป็นเกณฑ์เฉพาะ

ของหลักสูตร ซึ่งอาจเท่ากับ/หรือสูงกว่าเกณฑ์คุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง

หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการนาเสนอทาง

วิชาการ และนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการ

ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชมุ วิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ

5.2 โครงสร้างหลักสตู ร

โค ร ง ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ป รั ช ญ า ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า เท ค โน โ ล ยี อุ ต ส า ห ก ร ร ม