ตัวอย่าง แฟ้ม สะสม ผล งาน ครู ปฐมวัย

Portfolio แฟ้มสะสมงาน

นางสาวสุนารี นาคยา 63111562060

คณะครุศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย

คำนำ

แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) นี้ ข้าพเจ้าจัดทำเพื่อเป็นตัวแทน นำเสนอเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ความรู้ ความสามารถ ทักษะและโรงเรียนที่ได้ลงไปสังเกตการณ์ ตลอดจนพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ ข้าพเจ้าหวังว่าแฟ้มสะสมผล งานนี้จะทำให้ทุกท่านที่อ่านได้เห็นคุณค่าและความสามารถโดยรวม ของข้าพมากยิ่งขึ้น ถ้าแฟ้นสะสมผลงานเล่นนี้ทำผิดพลาดประการ ใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้

นางสาวสุนารี นาคยา

คำนำ

แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) นี้ ข้าพเจ้าจัดทำเพื่อเป็นตัวแทน นำเสนอเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ความรู้ ความสามารถ ทักษะและโรงเรียนที่ได้ลงไปสังเกตการณ์ ตลอดจนพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ ข้าพเจ้าหวังว่าแฟ้มสะสมผล งานนี้จะทำให้ทุกท่านที่อ่านได้เห็นคุณค่าและความสามารถโดยรวม ของข้าพมากยิ่งขึ้น ถ้าแฟ้นสะสมผลงานเล่นนี้ทำผิดพลาดประการ ใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้

นางสาวสุนารี นาคยา

OILOFTROP สารบัญ

ประวั ติ ส่ วนตั ว

1

ข้ อ มูล ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ วิ ช า ชีพ 2 ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น

ห ลัก ฐ า น ป ร ะ ม ว ล ผ ล ก า ร เ รีย น รู้ 3 ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ วิ ช า ชี พ ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น

ส ะ ท้อ น คิ ด เ พื่ อ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้

4

ภาคผนวก

5

1

ประวัติส่วนตัว

สุนารี นาคยา เพื่อนสนิทที่ติดต่อได้ (เมล) ชื่อ น.ส.ญาณวิภา รักบุญ กำลังเรียนที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วันเกิด 10 กุมภาพันธ์ 2545 อำเภอ เมือง จังหวัด นครสวรรค์ ระดับชั้น ปีที่ 2 อายุ 20 ปี เชื้อชาติ ไทย สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ คณะ ครุศาสตร์ สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ที่อยู่ 282 ตำบล หนองกรด อำเภอ เมือง ที่อยู่ปัจจุบัน จังหวัด นครสวรรค์ 60240 บ้านเลขที่ 61/1 หมู่ 13 มือถือ 095-4020364 ตำบล หนองกระโดนอำเภอ เมือง จังหวัด นครสวรรค์ อาจารย์ที่ปรึกษาชื่อ อาจารย์สุชานาฎ ไชยวรรณะ 60240 สถานที่ทำงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มือถือ 086-9218842 0925354537

กุหลาบ สีดำ ในความทรงจำ ข้อมูลทางครอบครัว 1.ชื่อ-สกุลบิดา นายจินดา นาคยา อายุ 43 ปี 2. ชื่อ-สกุลมารดา นางสาวสุธีรา นาครอด อายุ 37 ปี 3.ชื่อสกุล นายศุภวิชญ์ นาคยา อายุ 18 ปี สถานศึกษา โรงเรียนพระบางวิทยา 4.ชื่อสกุล เด็กชาย สุวชัช นาคยา อายุ 6 ขวบ สถานศึกษา โรงเรียนวัดหนองกระโดน

m.mail_sn

[email protected]

088-7809532

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษาปีที่ 1-4

โรงเรียนวัดหนองกระโดน GPAX : 2.69

ประถมศึกษาปีที่ 5-6

โรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ (เขากบวิวรณ์สุขวิทยา) GPAX : 3.56

มัธยมศึกษาปีที่ 1-3

โรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ (เขากบวิวรณ์สุขวิทยา)GPAX : 3.67

มัธยมศึกษาปีที่ 4-6

โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ GPAX : 2.87

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ GPAX : 3.16

2

ข้อมูลการฝึกปฏิบัติ วิชาชีพระหว่างเรียน

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับโรงเรียน

ประวัติโรงเรียน โรงเรียนวัดหนองกระโดน จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2465 ตั้งอยู่เลขที่ 9 หมู่ที่ 14

ตำบลหนองกระโดน อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โดยนางมงคล โพธิ์แก้ว ปลัดอำเภอเมืองนครสวรรค์ และนายทองคำ คายะมินทร์ ศึกษาธิการอำเภอ เมืองนครสวรรค์ ใช้ศาลาการเปรียญเป็นสถานที่เรียน

มีนักเรียนเข้าเรียนในวันแรก ชาย 58 คน หญิง 41 คน รวม 99 คน มีครูทำการสอน 2 คน คือ พระภิกษุเฮง ภาวะ เป็นครูใหญ่ และพระภิกษุศรี โพธิ์บุญ เป็นครูน้อย ขุน กระโดน วาปินทร์ เป็นสารวัตรศึกษา

วันที่ 1 พฤษภาคม 2513 โรงเรียนได้ย้ายไปตั้งสถานที่ใหม่เนื่องจากสถานที่เดิมคับ แคบโดยนายประเทือง บุญน้อย บริจาคที่ดินให้คิดเป็นเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา

ปีการศึกษา 2513 โรงเรียนได้รับอนุญาตให้ขยายขั้นเรียนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 ปีการศึกษา 2534 โรงเรียนได้รับอนุญาตให้เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดเรียนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในบริเวณเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา มีอาคารเรียนแบบ 008 จำนวน 2 หลัง รวม 14 ห้องเรียน อาคารแบบ ป.1จ ตัดแปลง 1 หลัง ใช้เป็นห้องประชุม โรงฝึกงานและ โรงอาหาร ส้วมนักเรียน แบบสปช.601/26 จำนวน 1 หลัง จำนวน 4 ที่นั่ง ถังน้ำซีเมนต์ จุน้ำ 200 ลูกบาศก์เมตร 1 ลูก ถังเก็บน้ำฝนแบบ ฝ.30 พิเศษ จำนวน 4 ถัง สนามบาส เก็ตบอล 1 สนาม สนามฟุตบอล 1 สนาม ในปีภารศึกษา 2542 โรงเรียนวัดหนองกระโดน ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 จำนวน 1 หลัง

ผู้อำนวยการ ชื่อ นางทัศนีย์ สรเดช ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้อำนวยการโรงเรียน

ข้อมูลพื้นฐาน ชื่อโรงเรียน วัดหนองกระโดน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

นครสวรรค์ เขต 1 ที่ตั้งเลขที่ 9 ตำบล หนองกระโดน อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ 60240 โทรศัพท์ 0-5630-0125 E-mail : [email protected]

ปรัชญาของโรงเรียน " มีความรู้ คู่คุณธรรม เป็นผู้นำแห่งความคิด ไม่ติดยาแก้ปัญหา เป็น "

วิสัยทัศน์ของโรงเรียน โรงเรียนวัดหนองกระโดน เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้ เรียนให้มีทักษะชีวิต ดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี ยึดมั่นใน การปกครองระบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ยึดแนวเศรษฐกิจพอ เพียง

วิสัยทัศน์ของโรงเรียน โรงเรียนวัดหนองกระโดน เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้ เรียนให้มีทักษะชีวิต ดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี ยึดมั่นใน การปกครองระบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ยึดแนวเศรษฐกิจพอ เพียง

พันธกิจของโรงเรียน โรงเรียนวัดหนองกระโดน ต้องการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน โดนแนวทางในการดำเนินการตามวิสัยทัศน์พันธกิจและ จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครสวรรค์ เขต 1ซึ่งประกอบด้วย

1. การสร้างความเสมอภาคในโอกาสเข้าถึงการศึกษาตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ทุกระดับชั้น คุณภาพการเรียนไม่ต่ำกว่า 85% และแก้ปัญหาเรื่องอัตราการออกกลางคัน อัตราการซ้ำชั้น การช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส ผู้มีความต้องการพิเศษ

2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ ภาษาต่าง ประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพื้นฐาน คุณธรรมจริยธรรม พละ ศิลปะมีคุณภาพที่การพัฒนาการเรียนรู้โดยเฉลี่ยประมาณ 65%

3. ปรับปรุงสถานศึกษาให้สะอาดร่มรื่นและให้บริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพและ เพียงพอ

4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. ปรับปรุงบริหารจัดการภายในสถานศึกษาให้เป็นปัจจุบัน อัตลักษณ์ของโรงเรียน นักเรียนโรงเรียนวัดหนองกระโดน “รักการออม”

ข้อมูลบุคลากร

  1. ผู้บริหารและรองผู้บริหาร จำนวน 1 คน ชาย - คน หญิง 1 คน
  2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 18 คน ชาย 5 คน หญิง 13 คน แยกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้ ปริญญาเอก จำนวน - คน ปริญญาโท จำนวน 4 คน ปริญญาตรี จำนวน 13 คน มัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1 คน

ข้อมูลนักเรียน นักเรียนทั้งหมด จำนวน 171 คน ชาย 89 คน หญิง 82 คน ชั้น อนุบาล 2 - 3 จำนวน 23 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 13 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 13 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 8 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 23 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 15 คน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 21 คน

ข้อมูลหลักสูตรสถานศึกษา

1. ชื่อหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรียนวัดหนองกระโดน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2564 2. วิสัยทัศน์หลักสูตร โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิต ดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี มีความรู้คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียง 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ สังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับ หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วิธีการ สื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์การ คิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การ สร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะ สม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไป ใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ ทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การมีเหตุผล กตัญญูกตเวที การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีก เลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น การรักและภูมิใจในความ เป็นไทยและรักษ์ท้องถิ่น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

โครงสร้างหลักสูตร

ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 1. ศึกษาบริบทของชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่ ดังนี้

- ประวัติพื้นที่ เดินบริเวณพื้นที่ตะวันตกของตำบลเป็นหนองน้ำขนาดใหญ่ มีต้นกระโดน ขนาดใหญ่อยู่ใกล้หนองน้ำนี้ ชาวบ้านจึงเรียกหนองน้ำแห่งนี้ว่า “หนองกระโดน” การตั้ง ถิ่นฐานเริ่มประมาณปี 2535 ผู้ริเริ่มก่อตั้งคือขุนกระโดนว่าปี ซึ่งได้อพยพผู้คนและบ่าวไพร่ มาตั้งถิ่นฐานและเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน และมีพระธุดงค์องค์หนึ่งเดินทางมาจากภาคอีสาน มาสร้างวัดร่วมกับผลกระโดนว่าปี โดยตั้งชื่อว่า “วัดหนองกระโดน” พระธุดงค์องค์นั้นชื่อ หลวงพ่อพวง ซึ่งชาวบ้านได้ให้ความเคารพนับถือมาจนตราบเท่าทุกวันนี้

- ขนาดพื้นที่ ตำบลหนองกระโดนมีพื้นที่ทั้งหมด 122.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 76,518.75 ไร่

- ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศมีลักษณะเป็นแบบร้อนชื้น - ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัด เป็นที่ราบลุ่ม - อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลอ่างทอง ตำบลหูกวาง อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลบ้านแก่ง อำเภอเมือง ตำบลเขาดิน อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัด นครสวรรค์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลนมวัว อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ - จำนวนประชากร ประชากรทั้งตำบล 14,113 คน - ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำบายศรี การทำไม้กวาดทางมะพร้าว การจักสาน

2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ดังนี้ - กิจกรรมชุมชนโรงเรียนสัมพันธ์ การเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญของชุมชน องค์กรและ

หน่วย งาน เช่น งานลอยกระทง วันสำคัญทางศาสนา งานประเพณี งานศพ แต่งงาน ฯลฯ

- วิธีสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับชุมชน การให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สนับสนุนทรัพยากรและทุน เพื่อการศึกษา เช่น การจัดกิจกรรมวันเด็ก วันแม่แห่งชาติ

- การสร้างความคุ้นเคยของโรงเรียนกับสมาชิกของชุมชน การที่โรงเรียนเข้าร่วม กิจกรรมสำคัญของชุมชน องค์กรและหน่วยงาน

3

หลักฐานประมวลผลการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน

ด้านข้อมูลทั่วไป ชื่อ นางสาวสุนารี นาคยา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย รหัสนักศึกษา 63111562060 ระยะเวลาในการฝึก 15 วัน จำนวน 90 ชั่วโมง ครูพี่เลี้ยงชื่อ นางสาววรรณกานต์ รุ่งเรือง สังเกตในระดับชั้น อนุบาล3 กลุ่มสาระวิชา การศึกษาปฐมวัย จํานวนนักเรียนในห้อง 9 คน ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ช่วยจัดแถวของเด็ก ช่วยดูแลเวลาเด็กทำงานในห้องเรียน พาเด็กไปรับอาหารกลางวัน คอยรับส่งเด็กกลับ้าน ทำการสอนบางเวลา ควบคุมชั้นเรียน ช่วงครูพี่เลี้ยงไม่อยู่ ทำตามหน้าที่ที่โรงเรียนกับครูพี่เลี้ยงมอบหมายให้

กระบวนการ PLC(Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) คือ การ รวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ความสำเร็จหรือประสิทธิพลของผู้เรียนเป็นสำคัญ และความสุขของการทำงานร่วมกัน ของสมาชิกในชุมชน PLC จึงเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ของ PLC

1. เพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้เกิดการร่วมมือ รวมพลังของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรียนการสอนสู่ คุณภาพของผู้เรียน 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพครูด้วยการพัฒนาผู้เรียน ขั้นตอนในการทำ PLC สรุปมาให้เป็น 5 ขั้นตอนใหญ่ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : การสร้างทีม ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญเพราะเป็นการสร้างทีมงาน หาทีมงาน ที่จะร่วมกันทำ PLC คุณครูต้องจับกลุ่มเลือกทีมกันเองโดยคุณครูรวมกลุ่มครูด้วยกันได้ตามความเหมาะสม แนะนำ 4 รูปแบบสำหรับการสร้างทีม : 4 - 8 คน แบบที่ 1 : กลุ่มสาระเดียวกัน/ใกล้เคียงกัน + อยู่โรงเรียนเดียวกัน แบบที่ 2 : ต่างกลุ่มสาระ + สอนระดับชั้นเดียวกัน + อยู่โรงเรียนเดียวกัน แบบที่ 3 : กลุ่มสาระเดียวกัน + ครูต่างโรงเรียน แบบที่ 4 : ต่างกลุ่มสาระ + สอนระดับชั้นเดียวกัน + ครูต่างโรงเรียน

ขั้นตอนที่ 2 : กำหนดปัญหา ขั้นตอนนี้สำคัญไม่แพ้การสร้างทีม เพราะ “การกำหนดปัญหา” เราจะต้องหาทาง

แก้ไขปัญหานั้นให้ได้ด้วย ให้ครูเริ่มจากปัญหาที่ครูเจอบ่อย ๆ พบบ่อย ๆ และเป็นปัญหาที่ เด็ก ๆ ส่วนใหญ่เป็นกัน โดยเลือกพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของโรงเรียน เน้นปัญหาที่ สามารถทำสำเร็จภายใน 1 ภาคเรียน และสามารถเชื่อมโยงกับสมรรถนะและคุณสมบัติที่ พึงประสงค์ของนักเรียนได้

ขั้นตอนที่ 3 : วางแผนและออกแบบกระบวนการ เมื่อเราได้กำหนดปัญหาเรียบร้อยแล้ว คุณครูและทีมงานต้องมาร่วมกันออกแบบ

กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยให้เริ่มจากการวางแผนกิจกรรมที่จะทำร่วมกัน แบ่งหน้าที่ ของแต่ละบุคคลว่า ใครจะทำหน้าที่อะไรบ้าง ซึ่งจะต้องมี ผู้ดำเนินการ ผู้จับเวลา ผู้บันทึก คำถามตำตอบ ผู้เก็บภาพพฤติกรรมนักเรียน ผู้สังเกตการณ์ ทุกหน้าที่มีความสำคัญ อย่างมาก ควรแบ่งหน้าที่ของแต่ละบุคคลให้ชัดเจน และทุกคนต้องรับฟังซึ่งกันและกัน และสิ่งสำคัญในการวางแผนก็คือต้องพยายามทำให้บรรลุเป้าหมายให้ได้มากที่สุด และ ต้องตอบโจทย์วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่เราวางไว้

ขั้นตอนที่ 4 : ลงมือปฏิบัติตามแผน โดยให้สมาชิกทุกคนเข้าร่วมและประจำตำแหน่งหน้าที่ตามที่วางไว้ตามแผน ซึ่งใน

ระหว่างการจัดการเรียนการสอนสิ่งที่ควรบันทึก/ข้อมูลที่เราควรจะเก็บระหว่างจัดการ เรียนการสอนมีดังนี้

\> ข้อมูลพื้นฐานของกิจกรรมที่ทำ : ชื่อเรื่อง กลุ่มนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม วันที่ เวลา เริ่มต้น ถึงสิ้นสุด เป็นต้น

\> บรรยากาศช่วงเริ่มต้นการสอน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน ว่านักเรียนมี ปฏิกิริยากับสิ่งที่คุณครูสอนอย่างไรบ้าง สนใจมากน้อยแค่ไหน

\> การจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามแผนหรือไม่ หากไม่เป็นไปตามแผนให้ระบุ สาเหตุด้วย

\> พฤติกรรมนักเรียนระหว่างจัดการเรียนการสอน เกิดการเรียนรู้เป็นไปตามเป้า หมายหรือไม่

\> ครูมีวิธีจัดการ/ดำเนินการกับนักเรียนที่แสดงออกมาระหว่างเรียนว่ารู้เรื่องหรือ ไม่รู้เรื่องในเรื่องที่สอนอย่างไรบ้าง

\> ระหว่างจัดการเรียนการสอน มีสิ่งใดที่เป็นจุดแข็งหรือจุดอ่อน หรือต้องแก้ไขส่วนใด ขั้นตอนที่ 5 : สนทนาสะท้อนผลหลังการปฏิบัติ

เมื่อคุณครูได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมา ร่วมกันตั้งคำถาม สะท้อนคิดผลจากการที่ได้จัดการเรียนการสอนไปแล้ว โดยในการ สรุปนั้น พยายามตอบคำถามใน 4 ประเด็นดังต่อไปนี้ให้ได้มากที่สุด

\> นักเรียนได้เรียนรู้และเกิดพฤติกรรม ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยแค่ไหน? \> เรารู้ได้อย่างไรว่านักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือบรรลุตามเป้าหมายที่เราวางไว้ \> เราจะจัดการหรือหาวิธีทำอย่างไรกับกลุ่มนักเรียนที่ไม่เกิดการเรียนรู้หรือไม่บรรลุ พฤติกรรมตามเป้าหมาย \> เมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรู้และบรรลุพฤติกรรมตามเป้าหมายแล้วจะทำอย่างไร ต่อ?และจากนั้น ให้สมาชิกในทีมร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้ในรอบใหม่ โดยครูคน ที่เป็นเจ้าภาพจัดการเรียนรู้ นำผลที่สรุปไว้มาบันทึกรวบรวมผลและเก็บไว้ให้เรียบร้อย สุดท้ายเมื่อสรุปผลครบถ้วน ครูสามารถเริ่มดำเนินการจัดการเรียนรู้ในรอบใหม่ได้เลย นั่นก็คือกลับไปใน ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนและออกแบบกระบวนการ วนกลับมาทำอีก ครั้งซึ่งเมื่อเกิดการทำแบบนี้ซ้ำ ๆ ไปเรื่อย ๆ จนสุดท้ายจะกลายเป็นการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ ที่มีความเฉพาะเจาะจงของโรงเรียนนั้นๆ ซึ่งจะสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม การเรียนรู้นั้นๆและจะทำให้เป็น “ครูมืออาชีพ” มากขึ้น หมายเหตุ เนื่องจากโรงเรียนไม่มีกระบวนการ PLC จึงสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

โครงการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษา 1. ชื่อโครงการ โครงการอนุบาลมีวินัย รักษ์วัฒนธรรมไทยใฝ่ดี 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ คณะครูปฐมวัย 3. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววรรณกานต์ รุ่งเรือง 4. หลักการและเหตุผล

คุณภาพผู้เรียนที่สังคมต้องการ ถูกระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 บาตรา 6 ที่ว่า การจัดการ ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข" และในการจัดการเรียนรู้นั้นครูต้องมีความสามารถในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้โดยอยู่บนความเชื่อที่ว่า"เด็กทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ และสามารถพัฒนาตนเองได้" การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของครูต้องส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนาได้เต็มตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ดังนั้นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูมืออาชีพจึงต้องคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล ให้ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มีการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กมีความรู้ความสามารถมี ทักษะในการดำรงชีวิต มีบุคลิกลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์อย่างยั่งยืน พร้อมที่ จะเจริญเติบโตท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติ ปัญญาเป็นที่ยอมรับของสังคมและประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาคุณภาพเด็กระดับ ปฐมวัยจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญยิ่งที่จะต้องจัดอย่างมีคุณภาพ

โรงเรียนวัดหนองกระโดน เปิดทำการสอนในระดับขั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงขั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยในส่วนของการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนั้น ควรให้ความสำคัญในการพัฒนา ความพร้อมของเด็กทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งใน การพัฒนาด้านสังคม ควรเน้นให้เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ คุณครู มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ประพฤติ ตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ จากเหตุผลและความจำเป็นข้างต้น โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนมีความตระหนักใน การพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัยในด้านนี้อย่างจริงจัง โดยมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมี พัฒนาการด้านสังคมที่สูงขึ้น อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนต่อไป 5. วัตถุประสงค์

เพื่อให้เด็กเกิดคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน 3. เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4 .ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ 6. เป้าหมาย ด้านปริมาณ 1. เด็กร้อยละ 85 มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ 2. เด็กร้อยละ 85 มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน 3. เด็กร้อยละ 85 เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4. เด็กร้อยละ 85 ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

ด้านคุณภาพ เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือ แบ่งปัน เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและ ศาสนาที่ตนนับถือ 7. วิธีดำเนินการ 1. ขั้นเตรียมการ ( P)

1.1 ศึกษานโยบายของสพฐ. และนโยบายโรงเรียนวัดหนองกระโดนในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ

1.2 ศึกษาผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและผลการประเมินคุณภาพ ภายนอก(สมศ.รอบ2)

1.3 ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปใต้ในการพัฒนาโครงการ 1.4 จัดทำโครงการนำเสนอต่อฝ่ายบริหาร 2. ขั้นดำเนินการ (D) วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อให้เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ - กิจกรรมค่านิยมไทย (หน่วยการเรียนรู้ที่ 22 ) - กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน - กิจกรรมสร้างสรรค์ - กิจกรรมค่านิยมไทย (หน่วยการเรียนรู้ที่ 11) วัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่อให้เด็กเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ - กิจกรรมสร้างสรรค์ - กิจรรมรู้รอบปลอดภัย (หน่วยการเรียนรู้ที่ 9)

วัตถุประสงค์ที่ 4 เพื่อให้เด็กประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ - กิจกรรมค่านิยมไทย (หน่วยการเรียนรู้ที่ 22) - กิจกรรมเสริมประสบการณ์

3. ขั้นนิเทศติดตาม (C) ผู้รับผิดชอบโครงการ นิเทศ ติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกใน การดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการกำหนด 4. ขั้นสรุปและประเมินผล (A) จัดทำรายงานโครงการ นำเสนอฝ่ายบริหาร 8. ระยะเวลาในการดำเนินการ /แผนปฏิบัติงาน มิถุนายน 2563 - มีนาคม 2564 (ตลอดปี การศึกษา 2563) 9. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มิถุนายน 2563 - มีนาคม 2564 (ตลอดปีการศึกษา

  1. 10. งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ 2,000 บาท 11. การติดตามและประเมินผลโครงการ 1.ร้อยละของเด็กที่มีวินัยรับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์ 2.ร้อยละของเด็กที่มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบบปัน 3.ร้อยละของเด็กที่เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.ร้อยละของเด็กที่ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.เด็กมีวินัยรับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์ 2.เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบบปัน 3.เด็กล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.เด็กประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.เด็กมีวินัยรับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์ 2.เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบบปัน 3.เด็กล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4.เด็กประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

2. สะท้อนคิดจากสิ่งที่นักศึกษาได้เรียนรู้ จากการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว รู้ว่าโรงเรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กปฐมวัย ให้ความสำคัญในการพัฒนาความ พร้อมของเด็กทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งในการ พัฒนาด้านสังคม เน้นให้เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ คุณครู มี ความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ประพฤติตนตาม วัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ โดยโรงเรียนมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กมี พัฒนาการด้านสังคมที่สูงขึ้น อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน

หมายเหตุ เนื่องจากโรงเรียนยังไม่มีโครงการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในปีการศึกษานี้ จึงใช้โครงการของปีการศึกษา 2563

ครูพี่เลี้ยง

นางสาววรรณกานต์ รุ่งเรือง (ครูเบียร์) เบอร์โทร 083-9513193 วุติการศึกษา ปริญาตรี

ศษ.บการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาพิเศษ

พฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ครู

1. บทบาทหน้าที่ของครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำชั้น)มีงานอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อม รูปภาพประกอบ เช่น งานวิชาการ งานธุรการในชั้นเรียน ฯลฯ

ครูประจำชั้น

หัวหน้าช่วงชั้นระดับปฐมวัย

รับผิดชอบโครงการบ้านวิทยาศาสตร์ รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน

2. การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครู

2.1 ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำชั้น) มีการประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีอย่างไร บ้าง

ครูผู้สอนทุกคนสวมใส่เครื่องแต่งกายที่มีความเรียบร้อยและเป็นระเบียบเหมาะสม กับความเป็นครู ครูพี่เลี้ยงจะคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติมเมื่อนักเรียนมีความสงสัยในเรื่อง ที่เรียนเสมอ ครูพี่เลี้ยงมีการวางตัวที่ดี มีความเป็นระเบียบ เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งเรื่อง การแต่งกาย แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีกริยามารยาทที่เหมาะสมและมีการพูดจาที่ เหมาะสมแก่ผู้เรียนและมีสอนที่หลากหลายให้แก่ผู้เรียน มีระเบียบวินัยในการทำงาน ความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ รวมไปถึงความใส่ใจความรู้สึก ความคิดเห็น ของนักเรียนทุกคน อธิบายไปทีละขั้นตอนไม่รีบเร่งมีการควบคุมผู้เรียนได้

2.2 ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำชั้น) มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครู ในด้านต่างๆ อย่างไร จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

ครูพี่เลี้ยงมีความรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อวิชาชีพครูได้เป็น อย่างดี มีการปฏิบัติตนตามระเบียบอย่างเคร่งครัด และรู้จักหน้าที่ของตนเอง มีพัฒนา องค์ความรู้ในวิชาชีพอยู่เสมอ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ

ครูพี่เลี้ยงมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างความสามัคคีในหมู่คณะอยู่เสมอ เมื่อใครต้องการความช่วยเหลือครูพี่เลี้ยงก็พร้อมที่จะช่วย จรรยาบรรณต่อสังคม

ครูพี่เลี้ยงปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นใน การปกครองระบอบประชาธิปไตย

ภาพรวมข้อมูลทั่วไปของนักเรียน

พัฒนาการและช่วงวัยของผู้เรียน เด็กส่วนใหญ่มีพัฒนาการที่เติบโตไปตามวัย กิริยามารยาท เด็กส่วนใหญ่มีกิริยามารยาทที่เรียนร้อย พฤติกรรมและการแสดงออกท่าทาง เด็กในวัยอนุบาลไม่ว่ามีความรู้สึกอะไรจะ แสดงออกทางสีหน้าอย่างชัดเจน ความประพฤติและระเบียบวินัย เด็กส่วนใหญ่มีความประพฤติที่ดี แต่ยังไม่สามารถทำ ตามกฎระเบียบได้ เพราะไม่เข้าใจว่าคืออะไร กิจกรรมยามว่าง เด็กส่วนใหญ่ใช้เวลาว่างไปกับการเล่น

4

สะท้อนคิดเพื่อประยุกต์ใช้

สะท้อนคิดเพื่อประยุกต์ใช้

มุมมององค์ความรู้ที่ได้

ได้เรียนรู้ทักษะการมีความอดทน อดกลั้น เพราะหลาย ๆ คนเป็นคนดื้อ หรือความขี้ เกลียด คุณครูที่ดีต้องความอดทน อดกลั้นต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่าง ๆและหาวิธี การจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด และมาตรฐานของหลักสูตร เพื่อให้ เด็กโตขึ้นไปเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ สามารถมีชีวิตอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้อย่างมีความสุข ได้เรียนรู้ทักษะการปรับตัว เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เรียนรู้ด้วยวิธีที่ต่างกัน ดังนั้น เราต้องเรียนรู้วิธีปรับแผนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียนเพื่อให้เด็กทุกคนเรียนรู้อย่าง เหมาะสมที่สุด บางครั้งอาจต้องใช้เวลามากกว่าปกติ แต่เมื่อเราเป็นครูเราควรที่จะเรียนรู้และ จะต้องทำความเข้าใจในความแตกต่างของเด็กแต่ละคน ได้เรียนรู้ทักษะการทำงานเป็นทีม การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งเบาภาระกัน รู้หน้าที่ของตนเอง และเมื่อทำงานเป็นทีมแล้ว งานต่าง ๆ จากใช้เวลามาก ก็จะใช้เวลาน้อยลง การสอนให้นักเรียนทำงานเป็นทีมจะเป็นการ เพิ่มความสามารถของนักเรียนในการเรียนรู้ และทำให้เกิดความสนุกสนาน เมื่อเด็กสามารถ ทำงานร่วมกับผู้อื่นในห้องเรียนได้ เมื่อเค้าโตขึ้นเค้าใจเข้าใจถึงกระบวนการและทักษะต่าง ๆ จะทำให้เค้าสามารถทำงานร่วมกับผู้คนในสังคมได้

ด้านความประทับใจและความภูมิใจ

ในระยะเวลา 15 วันทำให้เรามีความรู้สึกผูกพันกับคนอื่น มากเป็นพิเศษ คุณครูทุกคนให้ความต้อนรับเป็นอย่างดีถึงเราจะรู้สึกไม่มีค่าอย่างไร แต่เมื่อ เราอยู่กับเด็กเราคือคนที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็ก

ด้านปัญหาอุปสรรค

ในช่วงที่สังเกตุเป็การเปิดการเรียนการสอนครึ่งวัน ทำให้เราทำงานไม่ได้ เต็มประสิทธิภาพ

5

ภาคผนวก