อย บ านเลขท 63 ม.1 ต.พระพ ทธบาท อ.ศร เช ยงใหม

See other formats

959.3031 พ669รน . ฐ่& , 1 ใ/!'งใ/เปิปิย ๓ฒ!V) ด้ บ พ3ะ13ว\3ส์เโรปิ ทามพมนไฃพขฒ!!พฤฒ!กท'3 พ!จบพบซ” ฒ* าบจาบฌาปนทปีต่พ นาจไภจจิข ทายฒจส์ รน ฌ!วัติซาธาพโ]จ พ!‘นต! วันิพ 0^ ซน!าพม '๒ ดุค.3031 V^ .•หฺ^ส•เV นางนาออย ฉายะษงส็ ชาตะ ด0 ตลาคม ๒๔๒๕ มรณะ ๗ กรกฎาคม ๒๕ 0 ๘ , . / -; 11 : 11 ®

  • : ■-.V คานา นายจำรส ฉายะพงศ์ ปรารภงานณาปนก่จนางนำอองง คา ไค้มาขอให้ช่วยแนะเรืองใคเรืองหนึงท้ขาพเจาเขียน1ว้เพอพาไบ่ พมพ เบนทีระลึกงานท้ว่านี ขาพเจาไค้แนะว่า เรือง พระพุทธยอคพาพงง พน'ฟ'ว่ฌนธรรม” ซึงไค้เขยนไว้แค่ พ.ศ.๒๕๐๐ 1นคราวทอายุครบหก รอบนํน เบนเรืองทีอาจมีประโยชนแก่ผู้คนศวาทางบ่ง ะวฅศาสฅร ให้นายจำรสไปอ่านเล่ม ๑ เขาเหนสมควรจงขอรบไปพนพชนในงานน และขอให้ขาพเจาเขียนคำนำให้ควย เรืองเคียวกนนี เคีมทใน พ.ศ. ๒๔๙๒ ขาพเจาไคแคงเบน ภาษาองกฤษนำไปอ่านในการประชุมระหว่างประเทศของผู้สนใจทาง บรพกดีทืกรงปารีส กไต้รบความสนใจจากนกปราชญทไปชุนนุมอน อยู่ ดงจะเห็นไต้จากการออกความเห็นส่งเสริมๆ ลฯแลวจึงไต้มอบเรือง ให้บรรณาธิการสยามสมาคมนำลงพิมพในวารสารของสมาคมเล่ม ๔๓ ภาค ๑ (ก.ศ. ๑๙๕๕) ในชื่อว่า 1'๒ 0ง แแ 1-31 เ6001ไ3เ1*1101101ใ อ! &31113 I 0! เ1ไ6 01131(0 ซ7 ฑ 35เ}'. อ่อมงเมือ พ.ศ- ๒๔๕๗ ขาพเจา ไต้ให้นายสนน บณยคิริพ่นธ พิมพชินฉลองอายุครบหกรอบ อนเบ็น งานที่ พระ บาท สมเด็จพระเจาอยู่หว และสมเด็จ พระบรมราชินีนาถทรง พระ กรุณาโปรดเกส่า ๆ บำเพ็ญพระราชทานทีบานถนนเพชรบุรี คราร นํ้ไม่'ไดํ่แปลฉะบบที่เขียน'ไปอ่าน'ที่ป'ารีส แด่ไต้เขียนขํ้นใหม่เบนภาษา ไทยตามเค้าเดียวกนนน ไต้รบความสนใจไม่น้อยกว่าที่หส่งจะไต้ ความ สนใจ ที่พอ น้าพเจา ที่สุด คือชอง สมเด็จ พร 1 ะ วนรดวด พระ เชดุพน แด่ ยำทรงสมณศักด้เบนพระธรรมวโรคมอย่ ท่านปรารภว่าท่านได้อ่าน หนำลือเรื่องน์จบในรวดเดียว ท่านเห็นว่า พระพุทธยอดพานนทรงพร- ปรีชาสามารถในราชกิจทุกทาง จำเดิมแต่ไค้ทรงรบเชิญให้ขืนผ่านพิภพ ก็ไค้ทรงจดการบท้นเมืองในทางทนบำรุงไค้สำเร็จทุกดำน ทรงบำรุง แก้ไขบญหาอลชชีในพร ะพุทธศาสนาดํวยความเข’มแขงอุฅสาห ไค้ทรง จดการให้ไค้ชำระพระไฅรบี่ฏกถึงสองกรีง ทรงเบ็นนกปกครองรอบ ดท้นแลวยำไค้ทรงนำในทางพืนฟูว่ฌนธรรม และชำระพระราชกำหนด กฎหมายทีกระจดกระจายมาแต่คร 5 งเสียกรุงศรีอยุธยา ทำย'งไค้ทรงเบน แม่ทพที่สามารถมาตลอดรชกาลสมเด็จพระเจท้กรุงธนบุรี ท่านจึงสงส'ย ว่าเหตุใดไม่ไค้ทรงเบ็่น “มหาราช” เยี่ยงพระมหากษฅริย์ของไทยอีก หลายพระองค์ซึ่งปรากฏว่าไค้ทำประโยชน์ไว้นํอยกว่า ขท้พเจท้ไค้เรียน ตอบท่านว่า ตนเองก็เห็นดิงท่านว่าทุกประการ แต่การที่พระเจท้ แผ่นดินพระองค์ใดจะได้เบ็่น “ มหาราช ” นน ไม่ว่าในเมืองเราหรือ ต่างประเทศ เขท้ใจว่าไม่นิยมทีจะสถาปนากนขน แม้พระมหากษฅริย์ ในพระราชวงศ จ กรีก็ไม่ทรงนิยมที่จะถวาย พระบรมราชสมญา เช่นน์แต่ บรรพบุรุษของพระองค์ สมญา “ มหาราช ” นนสํงเกฅว่ามีกนขนไค้ แต่โดยประชามติ แต่ก็เบนความจริงเหมือนโม้นทีประชามติน 1 นย่อมท่อง ได้รบสนบสนุนของทางราชการควย ซึงทางราชการประกาศถวายสมญา แด่พระมหากษดริย์ไทยบางพระองค์นนจะเบ็นผลถาวรเพียงไรก็ยากทีจุะ ทำนายได้ ในคราวทีพิมพ์ขนครในนขทีพเจำได!เรารภว่า ในฐานะที่เที่นผัขอบอ่านประวัตศาสตร์ ข้าพเจ้ารสก!เาหานแส้ววัา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพาจุฬาโลกเบนอัจฉริยบคดลพระองค์หนง และเบน คนไทยที่ได้ทำประโยชน์ไว่'รอบด่านแก่อนชนเมืนอันมาก เพราะทำหทรงแก้ไข ราชการทกล้านเบนผลสำเร็จในระยะอันบ้านเมืองตกอย่ในสถานการณ์จลาจล ในชั้นล้นท่านเที่หแม่ทัพที่สามารถของลมเด็จพระเจ้ากรฐธนบรื คิกไหนหนักก็ โปรดให้เข้าไปต่อล้านตลอดเจ็ดบที่สมเด็จพระเจ้ากรงธนบรืทรงบัญชาการคิกด้วย พระองค์เอง ต่อมาเมือพระเจ้าแผ่นด้น โม่ ทรงพระสำราญพอเพืยงก็โปรดให้ ท่านออกบัญชาการทัพคิกแทนพระองค์ ได้ผลดีเบนนิจ แต่ใหระยะหัหไม่ปรากฏ ว่าได้มืการปรับปรงราชการบ้านเมืองทางอนๆ หัก หอกจากทางทัพคิก เพราะมื คิกอย่เก็อหมืไค์เจ้ห คชั้นเมือท่านได้เสด็จขนเถล่งราชสมนิ‘ตโดยอัญเชิญของ ข้าราชการแส้ว ท่านได้ตงความพยายามแก้ไขสถานการณ์บัาหเมืองทางพลเรือน ทางคาสนา ทางกระทรวงศาล และทางว''ต]นธรรม ความจริงในสมัยนนก็บัง มืคิกอยบ้างในชั้นล้น พงบรรเทาลงในคายหลัง ข้าพเจ้าคดว่าน่าจะรวบรวม เหตุการณ์แสดงความพยายามของท่านในทางเหล่าน จ็งได้พยายามจดหัวข้อไว้ โดยสำดับจากเอกสารต่าง ๆ แล้วรวบรวมขนเบึนเรื่อง แต่ข้าพเจ้าย่อมอย่ให จาหะเบนลูกหลาน ล้าจะเล่าเรื่องไปด้วยสำนวนของตนเองจนตลอด ใครเล่า จะไม่สงสัยว่าข้าพเจ้ามืลำเอียงไนอันจะยกย่องบรรพทรบของตนจนเกินส่วน จ็ง ได้เรืยงเรื่องอย่างที่ทำไว้ดงต่อไปนํ้ ให้ข้อความที่ท่านเอียนส้นไว้แต่โบราถ]ร่วม สมัยนนเที่นผ้เล่า ย่อมจะเบนกลางกว่าที่จะเล่าเอง ตั้งเอกสารเหล่านก็ไม่ใช่ หนังสือจำพวกที่ตั้งใจจะเอียนยอพระเที่ยรคิ หากเอียนขนสำหรับใช้ในราขการ เปีมล่ามมาก เช่มจ้าพวกกฎหมายแกะ'ข้อVงคับทVคพะสฒ์เบมต้ม ข้อความ เหล่าV วามอัมขม เมVเล่ม ได้อัมพมพ์แจก บรรดาห่ามผู้มีเมตตา มาข่าย ข้าพเจ้า ฉลอจอายเมื่อพทธคักราช ๒๕00 มื่ หน‘งสือที่พิมพ์ขนกรํ้งนนเกือบหมดจำนวนภายในเวลาไม่เกิน สองบี่ เบนหนงลือที่'นายสนน บณยศิริพ่นธ์ พิมพ์ช่วย ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๕๐๐ คณะศิษยานุศิษย์ขออนุญาตพิมพ์ขนชำร่วยในงานฉลองสมณ- ศกดของพระราชอุทยกวี เจาคณะจํงหวดกุท่ยธานี และพระอุปกิต- ธรรมสาร เจาคณะอำเภอหนองขาหย่างในจํงหวดเคียวกิน การพิมพ์ กรงนจึงเบนลำคบที่สาม ขาพเจำขออนุโมทนาในการกุศลวิทยาทานของนายจำรํส ฉายะ พงศ์ ในโอกาสงานฌาปนกิจมารคากรงนี ขอผลแห่งการกุศลจงได้ ช่วยเผยแผ่เกียรติของมารดานายจำร่ส ผู้ , ล่วงลบไป ตลอดถึงนายจำร*ส กิ บ ภรรยาและครอบกรำ ตราบเท่ากาลนาน. กรมหมน'ฬิหยลาภฬฤ{มิยากร บานถนนเพชรบุรี ในพระนคร ๆ วน ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พทธศํกราช ๒๕0๘ ปราต นางนาออย ฉายะพงค้ 91 นาฟ้าอ้อย ฉายะพงศ์ เบนธิดาคนเดียวของนายเสียง (ต้นตระกูล จนทรศัพท) และนางแบน เกดเมอวนที่ ต๐ ตลาคม พ.ศ. ๒๔๒๕ ที่อำเภอ ท่าท่อ จ'งหวดพิจิตร ได้ทำการสมรสกบนายฉาย ฉายะพงศ มีบุตรและธิดา คำยกนรวม ๖ คน คือ นาขจรญ ฉายะทาศ , ( ถึงแก่กรรม ) นางชอ่ม จฑาสมิต ศาสตราจารย์ จำรส ฉายะพงศ ๙ นางเรณู ฉายะพงศ์ นางสาวละเมิขด ฉายะพงศ์ (ถึงแก่กรรม) นายจำรอง ฉายะพงศ์ ( ถึงแก่กรรม ) มีหลานรวม ต ๖ คน เบนบุตรและธิดาของนายจรูญ ฉายะพงศ์ และนางเยอน ( สุมนัสสี) ๕ คนคอ รือยตำรวจโท จระ ฉาขะพงศ์ นางถาวร ภรรยานายชํยชํช ติณฑสทชิวงศ์ นางสาวนัฒนา ฉายะพงศ์ นางยาใจ ภรรยานายร'ตน ปืนตมาศ เรืออากาศโท จิโรจ ฉายะพงศ์ ‘ะ* เบนบุตรและธิดาของนางชอุ่ม และพนตำรวจตรีวน จุฑาสมิต ๔ คนคือ ดร. สซาติ จุฑาสมิต รอยเอกหญิง สุมิตรา จุฑาสมิต เรออากาศตรึ สุทธิพงศ์ จุฑาสมิต นายพะวงวิทย์ จุฑาสมิต เบนบุตรและธิดาศาสตราจารย์จำว่ส ฉายะพงศ์ และนางเกศน (วาสุเทพ) ๓ คนคือ นางบุษบา บุร นายเดชา ฉายะพงศ์ นางสาวธมรา ฉาย ะ พงศ์ เบนบตรและธิดานายจำรอง ฉายะพงศ์ และนางลำจวน (สุทธิ วนิช ) ๔ คนคอ นางสาวจริยา ฉายะพงศ์ นายจระน่นท ฉายะพงศ์ เด็กชายปีกริน ฉายะพงศ์ เด็กหญิงปีฑามาศ ฉายะพงศ์ มีเทลน ๕ คน เบนบุตรและธิดารอยตำรวจโท จีระ ฉายะพงศ์ และนางสมทรง ( สาลิกร) ๒ คนคือ เด็กหญิงปีรากรณ ฉายะพงศ์ เด็กชายรปี ฉายะพงศ์ เบนบุตรนางยา!จ และนายร‘ตน จินตมาศ 01 คนคือ เด็กชายรุจ จินตมาศ เด็กชายโรปีน จนตมาศ เด็กชายราม ปีนตมาศ นางนาอ้อย เบนผู้มีสุขภาพดีและอนามยสมบูรณ์ตลอดมา แม้เมื่อ อายุ ๔๐ บเศษก็ ยิง แข็งแรงและคล่องแคล่ว โดยปกติจะไปร‘กษาศีลทุกวนพระ ที่กัด ธาตุ ทอง พระโขนา เบนประจำ ท่านเบนผู้มีอารมณ์เย็นและคุยสนุก บรร- ดาบุตรหลานจำยินดีและเต็มใจที่จะอยใกล้ชิดและไปไหนมาไหนด้วย ท่านมี ความพอใจที่จะได้ไปเที่ยวและหักผ่อนกับลกหลานในที่ต่าา ๆ ทาในและนอก ประเทศทุกครงที่โอกาสอำนวย กรนมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ เมื่ออายุได้ ๔๒ บ ท่านเรื่มบวยเบนโรค ความด้นโลหิตสา แต่อาการกังไม่รุนแรง จนกระทงเส้นโลหิตในสมองแตก ท่านจึงถึงแกกรรมท่ามกลางความอากัยร้กของบุตรหลาน เมื่อกันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ รวมอายได ๔01 บ. 514&14{ภ,!!',แเคขึ&!ย ข! วย®4ยึภ94 ฬฬ'/ฟิเ!4 ฐ ฒฒฒ!ฒ ฒฒฒ.!เฒ! ฒเฒฒ แแ1111 ! ฒเ1ฒ1ฒเ 1111111*1111111 .. *11 8 ' ^:®
  • VXV■••.•ะ;:: .... 1 .,.,,'.:. ะ/:;®-:®::®®®®®®": 0 : ฒ คำไว้อาลย 9 ดิฉันมีความเสียใจเบนอย่างย็ง เมือทราบข่าวว่า คุณพีอ่อยไดถาแก กรรมเสียแล' , วดิฉัเรโ1ฅณพี่มากคณพีก็เอ็นดูและรกดิฉันมากเช่นกน แม้ว่าจะม โซ่พีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกิน แต่ก็มืความสมพันธกนอย่างใกล้ชิดมาแดเยาว น้ยน้บแต่คณพีได้มาอย่ร่วมบ้านน้บดิฉน คุณพีได้ทำตวพนพสาวทดนสุด ม ความเมตตาอารีต่อดิฉัน อย่างเสมอตนเสมอปลาย และไม่เคยมเรีองชดขอาใจ ต่อกินเลย คุณพีเคารพคุณพ่อคณแม่ดิฉัน เหมือนบิดามารคาบาเกิดเกลา คุณพ่อ คณแม่ของดิฉันก็รกใคร่และไว้เนอเชอใจคุณพตลอดมา เมือกณพและดิฉันต่างมครอบครวไปแลว ความสมพนธของครอบครว ทาส องก็บ้งคงเหมือนเดิม คถเพีมความเชือถอในเจาคุณชอาดนม'มาก ยามเมอ คณพี่ผ้'อายสีนบญไปตาแต่หลานยงเล็กอย่ คุณพกได้มาขอคาแนะนาตาง ๅ โดยเฉพาะเกี่ยวกับการศึกษาของหลาน' และขอให้ท่านเจาคุณเบนผูปกครอง เมือหลานชายเรียนจบชนบ้ธยมบี่ท้ ๘ ได้รบทุนรเบาล 1 ปดกษาตอ ณ สหร 3 อเมริกา เบนเวลา 8๐ 11เศษและได้ร'บความสำเร็จกลับมา ชิงเบนความปลม บิตของคณพีอย่างมาก คณพีได้อบรมลังสอนบตรธิดามาเบนอย่างดียื่ง ได้ตงมนอยูในหระบวร พุทธ ศ เสนาอยางแท้จริง ประกอบแต่คุณความดี ไม่เคยทำให้ผู้หนึ่งผู้ใดเดือด ร่อน มือ้ชิยาศยเออพี่' เอ เผื่อแม่ สุภาพ อ่อน โยน สงบเสงี่ยมและพูดน้อยจึงเบน พีรกและนับถือชองบรรดาญาติมิตรและพี่น้องทุกคน และเบนร่มโพธของลูก และหลานอย่างลัวหน้า บัดนืคุณพี่ใด้จากดิฉันไปแล้ว ทำ 1 ให้ดิฉันเศร้า’โศกเสียใจเหลือเกิน คุณงามความดีของคุณพี่ ดิฉันจะขอรำลึกอยู่ตลอดกาลนาน กุศลจริยาทีคุณพี ได้บำเพ็ญมาแล้ว ทุกประการ ขอจงเบนพลวบจฉัยบันแรงกล้า ดลบรรดาลให้ คุณพี่ ไล้ประสบอิฏฐิวิบูลมนญผล ในสุคติภพ ทุกประการเทอญ, คุณหญิาสาลี{ฐ)ภาค ๒ ซอยสีพัา พหลโยธิน พระนคร 0-/ สารบาญ ด 0 0 *0 หนา วลเนธรรมกบพระมหากษตรย ๑ (๑) ขนมธรรมเนึยมราชประเพณึ ๓ ก. ราชาภิเษก ๓ ข. พิธียืน " ๕ (๒) การศาสนา ๑ ๒ ก. ทำสังคายนาชำระพระไตรบฎก ๑๒ ข. ทรงสน์บสนุนสมณปฏิบติ
  • ๑๖ ก. ทรงกวดขนศีลธรรมขำราชการและพลเมือง ๒๔ ฆ. ทรงปฏิบํติและศึกษาศีลธรรม ๒๖ ง. นวกรรมทางศาสนา ๒๘ จ. ไสยศาสตร์ ๓๒ (๓) ทรงสะสางระเมยมราชการ ๓๓ ก. ทรงชำระกฎหมาย ๓๔ ข. พระธรรมศาสตร์ นิทาน ๓๖ ตวบท ๓๙ ก. สนนิษานเก้ามูล ๔ ๑ ฆ. มานวธรรมศาสตร์ ๔๒ ง. ราชศาตร์ในร'ชกาลที ๑ ๔๖ ๕๒ (๔) ทรงพ่นพ่ศิลปศาสตร ก. พระราชนพนธ ๕๔ เรื่องรามเกียรต ๕๘ ๘ ๘! เรองอน ๆ ๗๖ ข. เจาพระยาพระกลง (หน; ๘๐ เ/ ๘ ๘ ก. นกเขยนอน ๆ ๘๖ ฆ. ศิลปอื่น ๙ ๑ ง. บุคกลิกลกขณะ ๙๓ เผาผลาญเสียมาก ในบานเมืองไทยกรงโบราณ วํฌนธรรมย่อมแวดลิอม'พระองก พระมหากษฅริย์ จะส'งเกตไค้ว่า ยคใคสงบจากทิพศึกไม่มีการแฅก สามคกีภายใน และพระมหากษฅริย์สนพระราชหฤทยในวิชาความ รู้ศิลปศาสตร ยุกน'นย่อมเจริญล้วยว'ฌนธรรม ความขอนีจะพิสจน ไค้จากถาวรว'ฅถุที่ยิงเหลืออยู่ เช่นสถาบฅยกรรมและอกษรศาสตร จริงอยู่กรุงศรีอยุธยานนเมื่อเสียแก่พม่าแล้วก็ยิบเยินล้วยภารปล้นสดมภ์ ช่แฅ่พม่าจะไค้๓นผ้ผลาญผายเคียวเท่าน'นหาก พวกพลอยซาก็มีอีกมาก จนยากที่หาชนโบราณวฅถุหรือศิลปศาสตร์ ที่สมบูรณ์ไค้สีมากน , อย อย่างไรก็คีล้าเราพิจารณาของที่เหลืออยู่เรา จะเห็นไค้ว่าย'งมือ'กษรศาสตร์กรงกรุงศรีอยุธยาเหลืออย่บํวิงพอจะนำมา เบ็ 1 นเล้าสำหรบศึกษาล้กษณะ'ไค้'ไห้เห็นเบนยก ‘ยุ ไป อกษรศาสตร์ในสมโ]ล้น‘ยุ ของกรุงศรีอยธยานน สำหร'บรชกาล แรก ย'ง มี พระราชปรารภใน กฎหมาย ของ พระเล้าอ่ทอง เหลือ อยู่มาก ร'ชกาลต่อ ‘ยุมาก็มืเหมือนกนและยิงมีโองการแช่งนาพอให้เห็นล'กษณะ ของภาษาสมโ]แรก ๆ นน มาถึงสมโ]สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และพระรามาธิบด็ที่ ๒ กมืวรรณคดีชินใหญ่ ‘ยุ อาทิ ลิลิตยวนพ่าย และมหาชาติกำหลวง มาในสมโ]พระนารายณ์มหาราชวรรณคดีเพ่องฟ ๒ มีนักเขียนมีชือปรากฏมาถึงบจจบ้นหลายท่าน เช่น พระมหาราชกรู พระศรีมโหสถ ศรีปราชญ์ และพระองค์สมเด็จพระนารายณ์เอง วรรณคดีที่มี'ชื่อเสียงมากสำหรบสมียนั้ก็มีสมุทโฆษกำฉนท์และกำศร'วญ ศรีปราชญ์และอื่น "I ต่อมาในสมยพระเจ่าอยู่หํวในพระบรมโกศมีจำ พวกกาพย์และนิราศ เช่น กาพย์เห'เรือของเจ่าพาธรรมาธิเบศร์ ทุกๆ สมโเทีกล่าวมานิวรรณคดีย่อมอยู่ในสิงเวียนราชสำนกเรื่อยมา กรนกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า พระมหากษฅริย์สั้นอำนาจ สิงคมละลาย บานเมืองไม่มีขื่อมีแป จนกระทงสมเด็จพระเจ่ากรุง ธนบุรีทรงกู้อำนาจอธิปไตยและทรงทำให้เพื่อนบ้านใกล้เคียงเกรงขาม พอที่จะเวนจากการร้งแกไปไค้บ้าง แม้ , ในครึ่งหสิงของห้ชกาลชอง พระองค์พระมหากน์ฅริย์ จะมิไค้ทรงนำออกทพศึกด็วยพระองค์เอง เพราะไม่ทรงพระสำราญพอก็ดี แต่ก็มีมนตรีเสนามาฅย์ที่สามารถฉลอง พระเดชพระคุณตางพระเนตรพระกรรณ รกษากวามสงบภายนอกภาย ใน ไว้ไค้เบ็ เนอ ย่างดี ส่วนพระมหากษตริย์ไปสนพระราชหฤทํย่ที่'จะ พํ้เน ฟว่ฌนธรรม แต่ไม่ทนจะเบนผลก็สั้นห้ชกาลนน ในบรรดามุขมนตรีย่อมเบี่นที่เห็น'พองต่องก'นํว่า เจ่าพระยา จ่กรี ซึงได้รไ)พระราชทานสถาปนาเบนสมเด็จเจ่าพระยามหากษํฅริย์ ศึกๆเบึ่นผ้สามารถอาจห้าษาบ้านเมืองไว้ได้ จึงไค้ตกลงย์ญเชิญให้ ขื่นกรองแผ่นดินสืบราชสมบ้ฅ หน์งสือนิเบนเรื่องที่เพ่งเล็งจะแต่งว่า ต่วยวฒนธรรม จะไม่พยายามวิจารณ์หรืออธิบายกิจการบ้านเมืองนอก ไปกว่าที่จำเบ็่นเพื่อเช่าใจเรื่องให้ถูกตองเท่านิน เพราะฉะนนในเรื่อง นิจึ่งจะมีแต่กิจการทางวฌนธรรมที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพา ๆ ๓ ทรงฟนฟู 031 0 ทรงพนทู ซงขาพเจาจะขอแบงทูดเบนสภาคสน ทู กอ (๑) ทาง ขนบธรรมเนียมราชประเพณี (ซึ่งไม่ได้กล่าวถึงในฉบบภาษาอํงกฤษ ทีลงในวารสารสยามสมาคม) (๒) เรื่องการศาสนา (๓) เรื่องติง ระบอบการปคกรองบีรินเมือง กฎหมาย และ (๔) ศิลปศาสตร์ โดยเฉพาะอ‘กษรศาสตร์ ธนรวมทงการชาระพระราชกา หนด ๙ (๑) บน บ ธรรมเนย ม และราชประ เพณ ราชาภิเษก พิธีสำกํญที่สดของทุก ทู สิริคมในโลกย่อมได้แก่พิธีที่ร้บรองหำ หนีริของสิงคมนน ทู ในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบพระมหา กษฅริย์ พิธีนีย่อมได้แก่พิธีราชาภิเษก ไม่ติองสงสิย่เลยว่าในสมย กรุงศรีอยธยาได้เคยมีระเบียบพระราชพิธีราชาภิเษกอยู่แล่ว เมื่อไทยเราสถาปนาอธิปไตยขน ได้ใหม่ก็กงจะได้มีงานนเบ็นแน่ แต่ เราไม่มีอะไรจะยืนยนได้ว่าสมเด็จพระ ฉะนน ตามหสิกานทีเหลืออย่นน 2 เจากรงธนบรีทรงทำพิธีนั๊ กรนพระบาทสมเด็จพระพทธยอดพ้า ๆ ขั้นเสวยราชย์จึ่งได้ทรงพระราชดำริที่จะทำให้ถูกต่องตามแบบแผนประ เพณีของชาติไทย ได้โปรด ๆ ให้มีงานสวดมนต์ ๓ วไเ แล่วสรง ทรงเครื่องตนเสด็จเลียบพระนคร ๆ เบนงานลด ทู เพราะบานเมือง ยิงไม่เรียบร้อย ทำแต่พอฌ็๋นสวสติมงคลแก่บีรินเมืองและพระองค์ เอง ต่อมาเมื่อมีเวลาสงบราชการอื่นทูลงบำง จึงโปรดเกลาฯ ให้ ขำราชการผู้ใหญ่สี่ท่านที่เคยแก่แบบแผนราชประเพณีมาแต่ครงกรุงศรี ๔ อยุธยาช่วยก้นวางระเบียบพระราชพิธีนั้ถวาย ขาราชการคณะนีมีเจา พระยาเพชรทิชไ!เบ็่นประธานได้ถวายระเบียบโดยพิสคาร ซึงมีราย การมากกว่าทีได้ทรงทำเมื่อแรกเสวยราชย์ จึงโปรคเกล้า ๆ ไห้จคทำ พระราชพิธีนํ้ใหม่เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๘ (@) มีล้กษณะ คือ มีพิธีสงรา เจริญพระพุทธมนต์ ๓ วนเพื่อสว'สดี และทำนามนต์สำหรบสรงพระ มูรธาภิเษก มีพิธีพราหมณ์ในโรงพิธีต่างหากตลอดเวลานนซึงในพิธี แรกมิได้กล่าวถึง กรนถึงวนที่สี่แห่งพระราชพิธีเวลาเช่าเสด็จขืนสรง พระกระยาสนานบนมณฑปห่มล้าขาว พระราชาคณะ พราหมณ์ และ เล้าพนกงานภูษามาลาถวายนาสรง แล้วทรงเครื่องช่ฅติยราชวราภรณ ตามวนขนประทบบนต์งไม้มะเดื่อปล้าขาวโรยแบงวางหญาคา ทรง 0^ ๐^ 4ะะ. รบนาอภเษกและริบเวทเบ็!นพระมหากษ’ตริย์จากพราหมณ์ ซึงน’ง ประจำทิศทงแปครอบพระแท่นที่ประทบโคยลำดิบ แก้วเสด็จไปประ ท่บบนพระที่นํง้ภท่รบิ3 ซึงลาดล้วยผาขาวโวยแบ’งวางหญ็าคาตุจกน แต่มีแผ่นทองเขียนรูปราชสีห์วางทไ!ไว้ ในที่นทรงริบพระสพรรณบํฏ เครื่องราชอิสริยยศเครื่องราชปโภค มีพระราชดำร’สอนุญาตให้สมณชี พราหมณ์และอาณาประชาราษฎร์ถือเอาซึงเครื่องอุปโภคบริโภคใน แม่นดินไค้ตามสบายสุดแฅ่ที่ไม่มีเล้าของหวงแหน พระมหาราชกร ริบพระบรมราชโองการเบนประถมบรมราชวาจา พระมหากษํฅริย็ทรง เครื่องล้นใหม่แล้วเสด็จออกเสียบพระนคร ๆ เบ็นเสร็จการ (๑) ล , ทธิธรรมเนียมค่างๆภาคที่ ๑๙ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฌนากรพ.ศ.๒๔๓๔ ๕ พิธอืน ๆ ถาเราอ่านพงศาวดารและจดหมายเหตุสมโ]'แโคยละเอียด เรา จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระพทธยอดพ้าจุฬาโลก ทรงเบ็!นเจาระ เมียบ แด่ไม่ถึงขนจะทรงยืนกรานอยู่ในระเมียบใด ‘ตุ หากทรงเห็นว่า ไม่มีเหตุผลอนสมควรที่จะยึดถือ ด , งกวามจะได้ปรากฏต่อไปขางหนา ในขนนอยากจะกล่าวแด่,เพียงว่า บรรดาพระราชพิธีใหญ่ ‘ตุ ทีทรงริ เรี่มขืนใช้เบนประจำก็คี ที่ทรงกระทำเฉพาะคราว เฉพาะเหตุการณ์ ก็ดี โปรดเกลา ๆ ให้มีประกาศเพื่อให้ทราบกนทวในเหตุผลและ ลกษณะของพระราชพิธีนนเบนหลายราย จะขอยกมากล่าวบางพอให้ ร้เหตุการณ์เหล่าน รายใคมีประกาศหรือที่ก็นความละเอียดได้ก็จะได้ มีหมายเหตุแสดงที่มาไว้ เสด็จขนเสวยราชย์เมื่อ วน๖ ๆ๕ คํ่า (ตามปมโหร แด่ลาง แห่งให้วนด่างกน) บี่ขาลจุลศกราช ©๑๔๔ ทรงสรำงพระนครฯ พระราชวิงและวิดพระศรีรฅนศาสดารามไปดวยกน บำเพ็ญพระราช กุศลราชาภิเษกในตอนนน แด่แลวทรงทำงานบรมราชาภิเษกอีกให้ ถกตองตามระเมียบใน พ.ศ. ๒๓๒๘ โดยยึดแบบ “ ครงในหลวง วิดประดู่” (สมเด็จพระเจ่าอุทุมพร พ.ศ. ๒๓๐๑ ในกรุงศรีอยธยา) ซึ่งคณะขำราชการเก่ามีเจำพระยาเพชรพิชโ]วางระเบียบถวาย พิธีพ็ชมงคล (๒) เบ็่นพิธีเพื่อสวิสคิมงกลแก่การเพาะปลก และชาวนาชาวสวน (๒) ประกาศพระราชพิธีเล่ม ๑ โรงพิมพ์ไทย พ.ศ. ๒๔๕๙ หน้า ๕๓ ๖ โปรดให้ฟลียนธรรมเนียมถือนา กรงกรุงเก่าเคยเริมควย ถวายบงกมพระเชบิดร คือพระรปพระเจ่าลู่ทองรามาธิบคผู้ทรง สร่างกรุงแล้วจงไปสกการะพระรํฅนดรย บฑันื่ทรงเห็นว'าเพือการวะ ที ถกให้ ส”กการะ พระ ก่อน ที'ใน พระอโบสถ ว”ดพระศรีรตนศาสดาราม ฅลอคจนพระสารีริกธาตุ เจดีย์พระธรรมพระสงฆ์ แล้วรบพระราชทาน ดื่มนาพระพิพ”ฌนสฅยา แล้วจึ่งออกมาอุทิศกุศลแผ่ผลให้แก่ภูม เทพาริกษ์และอากาศเทวดาฯลฯ (๓) พ.ศ. ๒๓๓๑-๒ ทรงทำส่งกายนาพร VI V V ๖ ฅรบี่ฎกเบ็!นการใหญ่ ดงจะกล่าวต่อไป ม์ประกาศดวย (๔) ในศกนีมีงานทรงผนวชสมเด็จพระเจ่าลกเธอ เจ่าพากรม หลวงอศรสุนทรดวย ศก ๒๓๓๒ เรีมปฏิส่งขรณ์ว”คโพธ ๑๒ บี! จึงเสร็จและมีการ ฉลองด”งจะกล่าวต่อไป ศก ๒๓๓๗ มีงานทรงผนวชเจ่านายเบนการใหญ่ คือ สมเด็จพระเจ่าลูกเธอเจ่าพ้ากรมขุนเสนานุริก์ษ์ และพระพงษนรีนทรี โอรสสมเด็จพระเจ่ากรุงธนบุรี และน”กองเอง โอรสสมเด็จพระเจ่า กรุงกไเพชา ซึงโปรดเกล้า ๆ ให้เชิญมาประท”ปในพระราชสำน”กใน กรุงเทพฯ ตงแต่ย'งเยาว์ เพราะบำนเมืองกำล่งไม่เรียบริอย เนื่อง จากพระเจ่ากรุงกมพูชาเสด็จพิราล่ย์และน”กองเองเบนรชทายาท ทง ไว้ทางประเทศนนเกรงว่าจะไม่ปลอดภย (๕) (๓) พระราชกำหนด ขอ ๔0 ในประมวลกฎหมาย รชกาลที่ ๑ ฉบบมหาวิทยาล่ย ธรรมศาสฅรการเมือง เล่ม ๓ หนา ๔๔๕ (๔) ประกาศพระราชพิธี เล่ม ๒ โรงพิมพ์ไทย พ.ศ. ๒๔๕๙ หนา ๑ 0 (๕) ไม่มีประกาศ แค่หนงสือ “พระราชวิจารณ์’ , ซึ่งเขียนในสมัยนั้น (โรงพิมพ์ พระจนทร ๒๔๘๒) เล่าน่าพง แค่หนา ๒๓๙ เบนมันไป ๗ ในศกนนเมื่อเจ่านายที่กล่าวพระนามมาลาผนวชแลว ทรง สถาปนานกองเองเบนสมเด็จพระนารายณรามาธิบคีไปครองเมือง แต่ อย่มาได้เพียง ๔ บื่ก็ถึงพิราล่ย ๒๓๓๘ สมเด็จพระบวรราชเจ่ามหาสุรสีหนาถ ทรงผนวช ๗ วน ๒๓๔๓ พระราชพิธีอาพาธพินาศ อ”น่เบื่นเรื่องพยายาม'จะ ต่อสโรกระบาดตามความคิดในสมยนน เบึนการที่ทรงห่วงใยใน สวัสดิภาพของพลเมือง ( ๖ - ๒๓๔๔ ได้พระเศวตกุญชร อ”นถือกน่ว่าเบนสวิสดิมงคลแก่ พระองค์และบ็านเมือง มีการร”บและสมโภชคามแบบแผนราชประ เพณี พระราชทานนามว่า “พระเทพกุญชร” ๒๓๔๖ ทวงสถาปนาพระยากาวิละเจาเมืองเชียงใหม่ซึ่งมีความ ชอบราชการสงครามต่อตำนพม่าเข้มแข็งให้เบน พระบรมราชาธิบดี ศรีสริยวงศ ตำแหน่งเจาประเทศราช ในศกนั้สมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสีหนาถสวรรคต มีงาน พระศพในบื่ต่อมาเบ็ 1 นงานใหญ่ตามพระราชอิสริยยศแห่งสมเด็จพระ มหาอุปราช ๒๓๔๗ โปรดเกล่า ฯ ให้ชำระกฎหมาย ด้งจะก ล่' 1 วต่อไปใน หมวดสะสางระเบียบราชการ ใน!!นทรงฅงเจ่าอนุวงษ์แห่งนครเวียง จนทน์เบนผู้ครองต่อไป (๖) ลํทธิธรรมเนียมภาค ๘ (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒนากร ๒๕๖๓) หนา ๙ ๘ ๒๓๔๙ ทรงฅํ้งํ้นํกองจํนท์โอรสพระเฑ้กรุงกมพูชาพระองค ก่อน (สมเด็จพระนารายณรามาธิบดี) ซึงมีชนษาไค้ ๑๓ แลวให้ เบ็๋นพระเจ่าประเทศราช ทรงพระนามว่า “ สมเด็จพระอุท'ย'ราชาธิ ราช ๆ ” ให้ครองทำนเมืองมีข่าราชการเขมรเก่าอยู่ช่วยเหลือ อนึง ในบื่น์พระราชทานอุปราชาภิเษกแก่สมเด็จพระเจ่าลูกเธอเจ่าพากรม หลวงอิศรสุนทรเบนกรมพระราชวงบวร ๒๓๕๐ ทรงทำพิธีจ่กรพรรคิราชาธิราช ซึงไม่ปรากฏว่าได้ ทำอีกตลอดประวคิกรุงเทพ ๆ ว่าเบนพิธีสะเดาะพระเคราะห์ฅามแบบ กรุงศรีอยุธยากรงสมเด็จพระมหาจํกรพรรคิ (๗) 2 2 / ศก ๒๓๕๐ มเทศมหาชาต ตรสบอกบุญเจานายขาราชการ ผู้ใหญ่ทำกระจาดไทยทานถวายพระเทศน์ มีประกาศพอจะคิดความ มาแสคงลกษณะพระราชพธคงน " สมเด็าบรม5รรมฤกมหาราชาธิราช 1 ... ทรงหระราชา ใ]ดาไมยญาณ าะทรงหระราชอุทิศอัครมหาบูชาวรามิตรวิาตรอัศารรย์ แกใระมหาเวสสันดร ชาดก อับเหมอัครมหา'ขาดกเบองใ}ลายใกล้พระหรมราชาภิเษกลมโพธิญาณ างปีหระราชบริหารดำริ'สเหนือเกล้า ๆ สงสมเด็าหระอัคราโชรส แสสมเด็าหระ อัครราชบัดดาหระบรมวงดาบ'วาดทาโ/วง ให้ แจกร'บบนขี่งก ณๆ] หระมหาชาติ . . . (ตอนบระบูว่าหระองค์ใดผู้ใดริ'บเบนเล้าภาหอัก]ช]ใด ). หระองค์ที่เบนทาบา ธิบดีปีอารมณ์ผ่องใสใบหระราชกศสศรัทาให้อลังการใ]ระอับขาตรบรรางต่าง ๆ อับ.. , ’ แลวบรรยายกระจาดทแต่งขนนมความตอนต่อไปว่า " ผาย (๗) ล 4 ทธิธรรมเนียมภาก ๘ (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฌนากร ๒๔๖๓) หนา ๑ ชVหญิงขายชาติหารกทาริกามาดกระจาดลีลาดไหลทกามไป ยกชี่งกรทิวาท ไหวัชมพระหาหบารมีอวยวที่เวริญเที่ยข้อวสาธการอหโมทหา ที่ชนาตราเฒ่า กล่าวว่า แต่เยอ ฒรรพ I เรา ฒ่ /ได้มี} ■ภด'งที่. . . ” ศก ๒๓๕๑ ช'กพระศรีสากยมุนีจากสุโขท’ยมาประดิษ^านใน ทีซึ่งจะสฑ้งเบนพระวิหารหลวงริดสุท่ศนิ ในหน"งสือพระราชวิจารณ์ กล่าวว่า “ ประชวรอย่แล่วแฅ่ทรงพระอุสาหะ . . . เสด็จพระราชดำ เนินฅามกระบวนแห่พระ หาทรงฉลองพระบาทไม่จนถึงพลบพลา เสด็จขนเซพลาดเฑ้พ้ากรมขุนกระษํตราริบทรงพระองค์ไว้ 1 ..” เมื่อ เสร็จพิธีเสด็จกลบออกพระโอษฐ์ว่า “เบนที่สุดไค้ยกพระขนถึงที่ สน ธุระเท่านนแลว ” ( ๘ ' ล่าจะเรียกว่าตอนนั้เบนคราวพระเคราะห์ริ'เยของพระพุทธยอด พาก็ไค้ แต่ความจริงเช่านายและขาราชการซึ่งมีพระชนษาร่นราว กราวเดียวกบพระองค์ก็ทรงพระชราหรือแก่ลงตาม ๆ กน จึ่งสนพระ ชนม์ลงในเวลาใกล้ ๆ ล่นในหม่น เช่นกรมพระราชวงบวร และสม เด็จพระเช่าพี่นางเธอท 1 งสองพระองค์ กรมพระราชริงหล่งและเจา พากรมหลวงเทพหริรกษและเช่าพี่าพระยาพระคล่ง (หน) เช่าพระยา รตนาพิพืธ (สน) เช่าพระยามหาเสนา (บุนนาค) นอกจากนนยงมี พระราชธิดาเช่าพากรม'หลวงศรีสุนทรเทพ ซึ่งเบ็นพระธิดาที่ทรงพระ สิเนหาอย่างยี่ง ถึงออกพระโอษฐ์ว่าสินลูกกนนเสียแลว พระเนตร มืดพระกรรณฅึงสื่ดาน (๙) ในงานพระราชทานเพลิงทรงแสดงพระ (๘) พระราชวิจารณ์ (โรงพิมพ์พระจนทร์ ๒๔๘๒) หนา (๙) พระราชวิจารณ หนา ๒๙ ๓ ๐ ๑ ๐ อาลโ]ถึงกบทรงพระภษาขาวไว้ทุกข์พระราชทานเบ็่นพิเศษ พระอ งก์ ก็ประชวรซุคลงทุกที ว่าในบื่นํเสด็จออกบรรทมเบนประธานในการ แจกเบยหวด ซึงเคยเสด็จออกมิได้ขาด พระบาทสมเด็จพระพทธยอดพ้า ๆ มีพระราชธิดาพระองกหนึง ควยธิดาของเจากรุงศรีสตนากนหุต ซึง ชนนีสนชนม์ไป แลว เมือ พระ ชนษาได้ ๕ ขวบ พลว้าตกนาลงไปทื่ฅำหนว้าแพในขณะเสดจลอยประ ทีป จึงมีพระราชหฤทโ)สงสาร ทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาฃึนเบ็่น เจาพ้ากุณฑลทิพย'วดี ลุศว้ไราชนํพระชนม์สมควรโสกนต์ได้ โปรด ให้ทำพิธีใหญ่ตามแบบอย่างที่ว่าเจำพ้าพินทวดีพระราชธิดาสมเด็จพระ เจำอยู่หวในพระบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยาตรีสไว้ มีแห่ออกจากขาง ในทางประตูราชสำราญ (หนำกระทรวงกลาโหมบจจบน) เวียนไป เข่าประตูวิเศษชโ)ศรีพิมานชโ)ศรี ขนทรงสคบพระพุทธมนต์ที่พระที นํงดุสิตมหาปราสาท ๓ คืน รุ่งขนถวายอาหารพระที่สวดตามแบบ ถึงวนลำคืบสี่แห่เสด็จมาพระมหาปราสาทอย่างวนก่อนโสกไเต์แลำทรง พระเสลี่ยงไปขนเขาไกรลาศสรง เจำพ้ากรมขุนอิศรานรว้าษพระราช ภากิไนย ทรงพระชฎาเดินหนทำหนำที่พระอิศวรรีบพระกวิขึนไปบน ยอดเขา ประทานพรแลวเสด็จลงมาส่งถึงพระยานมาศ แห่เวียนเขา ไกรลาส ๓ รอบแลวแห่ออกจากพระบรมมหาราชวิงมาเข่าประตราช สำราญ บ่ายลงมีการสมโภชเบนเวลาสามวน ถึงบมะเส็ง ๒๓๕๒ มีงานใหญ่อีกกรงหนึง โปรดให้สมโภช พระแกวมรกตในเดือนหก งานสวดมนต์ ๓ วนรวม ๒ มีสวดมนต์เลี่ยงพระ ๓ วิน ,00๐ รูป ฉนในพระอุโบสถ พระทเขา ๓ ๐ นอก © 6) นนทีหอV'(ระมณเฑียรธรรมและพระระเบียง สำรํบเลยงพระฌ็๋นของ หลวง ๑,000 ของพระราชวงศานุวงศ์และขาราชการอีก ๑,000 ถาเราอ่านหมายรบส่งในงานนั้ ^ ๐ ' เราจะไค้ร้เบ็เนอย่างดีว่าไทยเรา ในสมยนนนิยมกินอาหารอย่างไร และจะร้ไค้ดีวยว่าเจํๆนายขาราชการ ทีเบ็๋นงานเบี่นการ ถึงมีพระราชดำรํสชวนให้หาสำรบมาโดยเสด็จงาน พระราชกุศลนคือ , ใครบาง ว่านอกจากพิธีสงฆ์ยิงไค้มีศาลาฉอทานหา อาหารเลยงราษฎร สุดแค่ใครจะอยากกินและมีฅนกลปพฤกษ์ ๘ ดีน โปรยทาน พระเจาอย่หํวทรงโปรยดอกไม้เงินทอง และมีละคร ตลอดสามวน รวมใจความว่าขนบธรรมเนียมราชประเพณีของราชสำนํกไทย ในบจจฺเบน ไค้เกิดขนในรชกาลฑื่ ๑ โดยอาดีย่หล้กิกรุงศรีอยุธยา โดยมาก ต่อแค่นนมาไค้มีการแก้ไขเพีมเดิมบางโดยเฉพาะในรชกาล ที่สี่รํชกา ล ที'หำและที่หก เพราะเบ็่นสม , ยที่วฌนธรรมเบืองฅะวนตกไค้ แพร่หลายเขามา ’ ส่วนที่ดีที่เหมาะสมก็'ไค้อนุโลมตามเท่าที่ควร'จะ ทำไค้โดยมิให้เสียรปทรงของวฌนธรรมเดิมของเรา พระบาทสมเด็จพระ เจ็า อยู่หำ เรื่มประชวรเสาะแสะมากว่าบี) ถึงวน ๕ๆ๙ กํ่า ก็เสด็จสวรรคต การพระบรมศพไม่ตองต 1 งระเบียบ ๑ ๓ ใหม่เพราะมีเจำนาย'ชนสูงสั้นพระชนม์โดย'ลำ'ดีบมา'ใ'นบ'หลง ๆ น หลาย พระองศ์ ธรรมเนียมพระศพลงรูปแลวเพียงแต่ถวายพระเกียรติยศ เพีมขืนตามฐานะ (๑๐) พระราชวิจารณ์ (โรงพิมพพระจ้นทร พ.ศ. ๒๔๘๒) VIนา ๓๐๔—๓๒๔ 0๒ ( ๒ ) การสาสนา ส็งแรกทีสมเด็จพระพุทธยอดพ้าทรง แก้ไขเมื่อไค้รบราช สมบติ กกือ การศาสนา ซื่งทรดโทรมลงเพราะเสียกรุงและขาคพระบรม ราชปถไเภ์ของพระมหากษตริย์ จริงอยู่ในรํชกาลสมเด็จพระเจ็ากรุง ธนบุรีพระองค์ได้ทรงพยายามพนฟูการศาสนามากอย่ แด่การฟืนฟู ของพระองค์นนทรงทำไปอย่างแปลก พุ ตามความนิยมของสม่ยและสิง คมที่เชื่อถือไสยศาสตร์เบึนขอใหญ่ ฉะนนเพื่อชำระคณะสงฆ์ให้ บรีสุทธ แทนที่จะกวดชินให้ตงอยู่ในความประพฤติและวินโ)ที่เขมงวด พระองค์โปรด ให้มีการพิสูจน์ความบริสุทธของพระสงฆ์ดวยการดำนา ทน ในที่สุดทรงสำก‘ญ'ว่าพระองค์เบ็นผ้วิเศษบรรลุมรรคผล'จึ่ง , ไห้ , พระ สงฆ์ถวายบงคมฐานเบ็่นอริยบุคคล พระที่สอพลอก็ทำตาม พระที่ เคร่งกรดในวินโ)บ'ญญฅไม่ทำตาม ก็ถกถอดหรือลงพระราชอาญา เพราะพระสติพ้นเพี่อน จนแม้แด่ชาวด่างประเทศยงได้บนทึกความ ขำน์ไว้ในจดหมายที่เขามีไปมาถึงกน หำสงคาชนาชำระไตรบี่ฎก การชำระศาสนาของสมเด็จพระพุทธยอดพ้า ๆ นน ทรง เรี่ม ตไเดวยให้ทำสงกายนาชำระพระไตรบี่ฎกดวยทุนรอนที่โปรดเกลำ ๆ ให้ จ่ายจากพระราชทรพย่ฃองพระองค์ แด่ต่อมาความปรากฏว่าพระ ไตรบี่ฏกฉบบนีได้ชำระจากคมภีร์ที่ไม่ถูกตำง มีความผิดเพื่ยนอย่เบน อนมาก จึ่งโปรดเกลำ ๆ ให้ทำการชำระใหม่ในบื่วอก พ.ศ. ๒. •ก ๓๑ อนเบ็่นบื่ที่หกในร่ชกาล และเบ็นเวลาที่เพ็งว่างงานทพ ศึก เพราะเมื่อ (ด®) ประชมพงสาวคาร เล่ม ๓๙ (โรงพิมพ์ศรีหงส์ ๒๔๗ 0 ) หน่า ด๒๙. 0 ๓';, ๑ ๓ แรกเสวยราชยพม่ายงหวํงปราบปร่ามไทยให้อย่ เจาพระยาท้พๅกร'วงษ ผู้เขียนพระราชพงศาวคารไค้กล่ๅๅไๅๅ 1 ๅ หระบาทลมเด็วบรมบหิตรหระเจ้าอยหัว ทรงหระราชรำหึงถงหระ ไตรบฏกธรรม หันเบนมูลรากแห่งหระปริยตศาลนา ทรงหระราชศรัทธา หระราชทานหระราชทจ้หย์เบืนหันมาก ให้ เบนค่าจ้างลานาารํกหระไตรบฏกลงลาน แค่บรรดามฉบับในที่โด ๆ ที่เบนหักบรลาวหักบรรามัญ ก็ให้ชำระแปลงออกเบน หักษรขอม ส จ้างขนไว้ไน ผู้ณ หอหระมณเชิ เย รธรรม และลจ้างหระไตรบฎก ถวายหระลงฆ์ให้เล่าเรียนทก ๆ หระอารามหลวงตามดวามปรารถนา จ้งามื่นไวยวรนารถกราบทูลว่า หระไตรบฏกชึ่งทรงหระราชศรัทธา ลจ้างขน ไว่ทู กรันน หักขระบทหยัญชนะตกวิปลาลอยแค่ ฉบับเดิมมา หาผู้ าะทำนุนำรงตกแต้มดัดแปลงให้ถูกต้องบริบูรณ์ขนมิได้ ครันทรงลต้บางทรง หระปรารภว่า หระบาลและอรรถกถาฎีกาหระไตรบฏกทูกรัในน เมื่อแลผิด เหยนาปลาลอยเบนหันมากฉะน าะเบนเต้ามูลหระศาลนากระไรได้ อนงห่าน ผู้รักษาหระไตรบิ 1 ฎกมีอยทูกรันนก็บัอยบัก หัาลนห่านเหล่านแต้วเหนว่าหระ ปริหัตศาลนา และปฏิบัตเศาลนาและปฏิบัตเวทศาลนาวะเลี่อมลูญเบนหันเร็วนัก ต้ฅวโลกทั้งปวงวะหาที่ที่งบมิได้ในอนาคตภายหน้า ควรวะทะนุนำรงหระบวร หทธศาลนาไว้ให้ถาวรวัฒนาการ เบนประโยชน์แก่เทหดามนุษย์ทั้งปวงวงวะ เบนทางหระโหธิญาณบารมี... ' ๑๒ ' ) จึ่งทรงเรียกประชุมพระราชวงศานุวงศ์ มีสมเด็จพระบวรราชเจ็า ในรชกาลนนเบนประธานในพระที่นื 1 งอมริ'นทราภิเษกมหาปราสาท อาราธนาสมเด็จพระสงฆราช , พระราชาคณะๆล1 ๑๐๐ รูปมารบพระ (๑๒) พระราชพงศาวดาร ริ ชกาลที่ ๑ ฉบไ]โรงพิมพ์พระจนทร์๒๑:๗๘หนา๑๖ 0 -๑๗๒ ๑๔ ราชทานฉน แลวตริสถามพระสงฆ์ถึงภาวะแห่งพระไตรบิ!ฎก เมือ ใด้กวามว่าพิรุธบ?ไพร่อง จึงมีพระราชดำริสให้จืดการทำสำคาชนา ณ วคนิพพานาราม (จืดมหาธาต) ซึงพระราชทานนามใหม่ในโอกาส นว่า “จืดพระศรีสรรเพ็ชญคาราม ,, ทรงบริจาคพระราชทรพย์แจก จ่าย เกณฑ์พระราชวงศ์ขำราชการผายหน้าผืายในให้ทำสำริบกาว หวานถวายพระสงฆ์ซงมาชำระพระไตรบี่ฎกทงเขํ'แพลเวลาละ ๔๓๖ สำริบ การส่งกายนาได้เรึม ณ วน ๔ๆ©๒ คํ่า เวลา ๑๕ น. เสด็จ พระราชดำเนินโดยกระบวนราชอิสริยยศสู่พระอุโบสถจืดนน พระพิมล ธรรมอ่านประกาศพระราชกระแสในการส่งกายนานํ้ซึงน้บเบนลำด'บที่ ๙ ต่อจากปฐมสำกายนาที่สตบ”ณณกูหากรุงราชคฤห์ในม”ธยมประเทศ แบ่งพระสงฆ์เบ็่น ๔ กอง คือชำระพระวินโ) ๑ พระสตร ๑ พระ อภิธรรม ๑ พระสิทธาวิเสส ๑ แต่ละกองตงอยู่ต่างแห่งกนใน บริเวณวตนน พระราชทานปากไก่หมึกหรดาลครบทุกองศ์ ทรงพระ ราชศรทธาเสด็จไปถวายอาหารควยพระองศ์เองทกวน ๆ ละ ๒ เวลา เวลาเย็นถวายอ”ฎฐบาลธูปเทียนเบ็!นนิตย์ทุกวน ครบ ๕ เดือน จึ่งสำเร็จ พระราชทานพระราชทรพย์จืางช่างคฤห”สถ์และพระสงฆ์สามเณร ให้ จารึกพระไตรบิ!ฏฺกซึ่งชำระแลำลงในใบลานเย็บเบ่นค”มภีร์ ทุ หนึ่ง ทุ มี ปกบิ!ดทองทึบทํ้ง์หน้าหลำและกรอบเรียกว่าฉบบทอง ห่อคิวยผายก เชือกรดถกควยไหมเบญจพรรณ มีสลากงาแกะเบ็่นลวดลายเส้นหมึก และสลากทอเบนตำอกษรบอกชื่อคมภีร์ เมื่อเสร็จทุกคมภีร์แลำทรง ฉลองเบ็่นมหกรรม บรรดาผ้มีหน้าทีทำพระสงฆ์ทงคฤหสถ์ไค้รบพระ ๑๕ คาสดาราม เฑ ราชทานสี่งของตอบแทนฅาม 1 รู)านานรป พระไฅรบฎกฉบบหลวงน โปรดให้ ปร ะดิษฐานไว้ใน หอ พระมณเฑียรธรรมในวด พระศรีรตน- แต่ , ในระหว่าง'ที่มีงานฉลองนั้พลุตกบนหล่งหอพระมณ ยรธรรมไฟติดไหม้ขนที่ง‘ๆ ที่หอนอยู่กลางสระ จึงโปรดเกลำๆ ให้ ถมสระสฑ้งมณฑปใหม่ลาดดํวยแผ่นเงินด , งที่เบนอยู่ทกวนน เบน โอกาส ที่ได้ ก่อฐานสง ลิอม รอบใน มณฑปไว้ พระไตรบี่ฎกสำริบนํ้อีก ส่วนทีเรียกว่าหอพระ มณเฑียรธรรมทุกวนน ที่พนล่างนนเบืนของสม - เด็จพระบวรราชเจามหาสรลืหนาถทรงสริางขนไว้พระไตรบิ!ฎกฉบบกร เดิม และเบนที่พ์กสำหริบราชบณฑิตบอกหนํงิลือแก่พระนกเรียน พระไตรบิเฎกริชกาลที่ ๑ นั้ได้เบ็นแม่ฉบํบสำหริบตรวจสอบ ต่อมาในการพิมพ์เบ็!นอกษรไทยเมื่อริชกาลที่ห่าซื่งพระบาทสมเด็จพระ จลจอมเกลา ฯ เบนสมด ทรงพระราชศริทธาบริจาคพระราชทริพย์พิมพ์ขน และต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกลำ ๆ ทรงบริจาคนำ อีกในการพิมพ์สนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมเชฏฐาธิราช ใน คราวถวายพระเพลิง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ เบ็๋นหนงลือยกแปดประ มาณเล่มละ ๕00 หนำ รวม ๔๕ เล่ม และในการพิมพ์นั้ก็ดี ใน ริ'ปี'กาลที่หำก็ดี พระเถรานุเถระได้ช่วยกนสอบทานและเทียบเกียงกบ พระไตรบิ! ฎ กบรรดาที่มีในนานาประเทศนอกเมืองไทย เช่นในประ เทศล่งกาและพม่า กบฉบบทีเขาสอบเทียบไว้โดยหล่ก่อไเรอบคอบ ในประเทศล่งกฤษของสมาคมบาลีปกรณ์แห่งกรุงลอนดอน ในประกาศที่พระพิมลธรรมอ่านในพระอุโบสถวคนิพพานาราม เมื่อวนเรีมล่งคายนานน ความช่างที่ายกล่าวชกชวนความช่วย เหลือ ๑) จาก “เทพเจาทงปวง.. 1 และท่านผู้เบนสมมาท่ฏเไตรบี่ฎกธราจารย... อไแบนกรรู้พุทธาธิบายแต่ก่อนนนจงเห็นแก่พระพุทธศาสนา มาช่วย อาตมาภาพทงปวงผู้เบีนศิษย์ให้มืสฅิบ้ญญา บนดาลให้เห็นกล่องตอง ตามพระไตรบี่ฎกให้บริบูรณ์ไว้จะได้เบื่นที่พึงแก่เทพามนุษย์ทงปวง...” ประกาศนแสดงกวามห่วงใยชองท่านผู้ใหญ่ในความถาวรของพุทธศาสนา ซงเบนมติผายสงฆ์ ล่าเรากนกว่าดต่อไปเราจะเห็นได้ว่า ทางผึายบ้าน เมืองก็ห่วงเรื่องนั้อย่มากดุจกน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพ้า ฯ เมื่อได้ทรงประดิษ^านพระไตรบี่ฎกไว้ใน3านที่มนกงดวยการล่งกายนๆ กรงนแลว หาได้ทรง'แงนอนพระราชหฤทโ)ไม่ ทรงดำเนินการหลาย อย่างเพื่อให้พุทธบริษททงกฤหํสถ์บรรพชิตประพฤติใกล้พระบรมพุทโธ วาท พระราชทานความสนบสนุนแก่คณะสงฆ์ในอนที่จะริกษาระเบียบ พระวินโ)ให้บริสุทธ คงจะขอยกฅวอย่างแห่งพระราชกรณียกิจที่ทรง ปฏิบ้ฅในทางสนบสนุนพุทธศาสนาไว้บ้างในที่นต่งต่อไปนั้ ทรงสน'1เสนุนสมณปฎิบต ในบี่แรกแห่งริชกาล (เสวยราชย์ได้เพียง ๕ เดือน) ทรง ออก “กฎหมายพระสงฆ์” ฉบบ ๑ กฎหมายชนิดนั้ไม่ปรากฏว่าได้ เกยออกใช้ในเวลาใดนอกจากในฅนรํชกาลที ๑ แห่งกรุงเทพ ๆน จึ่ง ขอก็คมาไว้ให้เห็นรูปร่างพอเบนล่งเขป- "กฎให้ไว้แก่ข้าทูลอองทูรืหระบา!ผู้ใหญ่ผู้ย้อยผายทหารหล เรือ ยผาย Vไ!'าผายใย ขอเผาลัาวต่างกรม 7 ห'52‘ง่าชลังมารลกามมงคลผู้{ก'ยาเมืองผ้ {งกรมการ แลลังกะรืปีรรมการราชาคณะหระลงฆเลัาอปีการอมาร ผายค้'มก ๑๗ ธระวิบศนาธระอรัญวาสีคามวาสี นอกกรงใ!วกรวเทพมหานครครอยุทธยาแล หัวเปีองเอกเมือวโทเมือวตริ 1 เมืองวัตวาตะวันตกตะว''นออกปากใต้ผายเหนือวาทา จงพระบาทสมเดสีบรมนาถบหิลรพระพุทธิเว้าอย่หัา ทกานนมพระ ราขใ]ระนทานปรารถนา พระโพริ ญาถเว้'พักเ ประกอปด้วย พระมหากร รุ ถ!าญากเ หากตักเตือนพระทัยเปนทำมะตา กรรณาจะให้ฝนประโยชน์แก่ว้ตวโลกทัง ปวง...เสดสีออก ณ พระรินงดุสิดามหาปราสาทโดยบูรรพารำมุขพรัอมด้วย อัดรมหา มนตรีกระสีชาติราชปโรหิตาโทราราชทั,ญหิตยเผาพระบาห บงกช มาด ทรงพระราชวิจารณญาณรำพงถึงพระบรีบัตสาฅนา พระไตรยบฎกนึ่เมีนด้น ประนิบัดมักผลให้ได้โลกยสมบัตโลกดรสมบัตเพราะพระไตรยบฏก สีง}!พระ ราชโองการมาถเะพระบันทูลสรสิงหนาทดำบัสว่า โดยตืาแต่ให้มีพระปีรรมเทคนาแลสำแดงพระธรรมเทดนาให้ธรรมฝน ทานน'น มีผลประเสรีฐกว่าสรรพทานทังปาง ขอว่าให้พระนิพานเบนทาน จนสมเดสี'อำมรีนตราหิราชได้ทรงพงแว้งว่า ผลานิสงฝนอันมาก กราบทูลขอ พรไว้ ให้พระพุทธองคมีพระพุทธฏีกาตรัสสงฝนพุทธบัญญ 'ต ไว้ให้ผู้สำแดงแล ผู้มีพระธรรมเทคนาฝนธรรมทานมีนอุทิศผลไปถึงสมเดสีอำมรีนทราริราชเว้า อนึ่งแม้นว่าผู้มีอิทริฤทริ จะกระทำพนสกลชมกุทสีปให้ราบเสมอดงน่ากลองไชย เกรีแล้ว แลนิมนต์พระอรทัดเว้านงแถวหน์ง พระอนาคาแถวหนง พระว้กก ธาคาแถวหนึ่ง พระโสดาแถวหนึ่ง มีองคพระพุทธเว้าฝนประธาน แน่นไป ในสกลชมกุทสีป แสถวายว้ตุมีดว้ยทานทังสี มีจีวรเนึ่ออันละเอยดลจดงยอด ตองอันอ่อนน้นก็ด ผลานิสงก็มีได้เสมอเท่าให้มีพระธรรมฝนทานคทั้งหนึ่ง เหตุ ฉนึ่จีงทรงพระกรรณาแสวงหาอุบายทาะให้สมณพราหมณเสนาบดประชาราบฏร ทังปวง ให้ได้สมบัดทั้งสามประการ พันจากว้ตุราบายทุกขและสงสารไกย ๑ ๘ จิงทรฒระอนุเคราะห์ใหข้าหลออง ทุลีพระ บาหผู้ใหญ่ผ น้อย 8มา หายพระไตรย- ลาร นาคมศลน้าศลแใ]'ดคลลิบในลำน้กพระ81ฆทุกวับทุกเหลาเใ]นโ]ตปติบูชามหา กศลวิเศศใ]ระเสริฐกว่าอา))ศไ]ชาน้ตุVIจัยทาย แม้'แ!ะถวายทามให้มาก 1 *9 ข ๆ กราบท้าวถิงหรหมโลกก็มิได้เสมอเห่าหระราชกคลปติปติบชา ...” “ กฎหมาย ” อไเนได้กคมาลงไว้ในที่นเกือบจะเต็มกวามเพือ จะให้เห็นตวอย่างแห่งการเขียนหนีงสือในสม'ยนนควย สรุปกวามได้ว่า มีพระราชกระแสให้นิยมการพงธรรมยี่งกว่าห่าอามิสทาน เท่านน แต่ ย้งมีความต่อไปทิน่าจะสำเหนียกอีกเบ็!นความรู้ทางสงคมวิทยา ' แสทุกวับบอบาประชาราบฎรท้งปวาลางบา! ให้มหระมหาเวคสับดร ชาดกบ มิได้มความสังเวทเลอมใสเปบธรรมคารวะ หงเอาแต่ถ้อยคำตลก ขะบองอับหาผลประโยชบ์มิได้ หระ สง ฆผู้สำแ ด งบ,บบางคำหวกมิได้เส่าเรึยม หระไตรยบฏก ได้ แด่เบอความแปลร้'อยเปบกาหยกลอบ แล้วก็มาสำแดงถ้อยคำ ตลกขะบองหยาบช้า เหบแต่ลาวาลการเลยงขีาต มิได้ติดที่ละรีาเรียบสืบไป พำให้หระคาสบาหบเหอบเลอมสูบ ชวบกับประมาทใบหระธรรมเหคบา .... ทรงหระกรรณาตร้'สเหบือเกล้าเหปีอกระหม่อมส-งว่า ให้สมเดล์หรงสังฆราช หระราชาคสะหระสงฆผายบริญัดบักปราชราชบัสวัเตย ให้หิลารสาถ้บดพระ ไตรยบฏกบ'บก็พบเหบบทว่า ผู้สำแดงแลผู้หงธรรมอับประมาทกล่าวถ้อยคำตลก ขะบอง เอาธรรมบั้บมากล่าาเปบอธรรมโหมบบเปบครใทบอับใหญ่หลวงโดย อับต่าไปแต่ละสำแลงธรรมถ้วยเสึยงอับเบึบเสํยงขับบบก็เบึบโทบ แลเอาธรรม มาผูกเปบกาหยกลอบหิลิตรถ้วยอัคระเปบเหลงขับบบก็มิควร หระกรรสาโปรดเกล้า . . . สงว่า เหตจบ ลี่ง}1รง ๑๙ แต่แลืบไปพี่อหถ้า ให้พระลฆผู้ลำแดพระปีรรมเทค แา แลราV ฏ ร ผู้)ะหพระ)]หาชาติชาฎกVIแสำแดแล?}งแต่ตามวาระพระบาหและอรรถกถา ฎีกาให้ไ)ริใ}รรถ)ด้ายมลอาใ)ล'แบ . . . แลให้ พระ?ข ลฆ เจรเถ)รผายด้แถ ปี ระริบฅแา ปี ระ แล อแาประขาราษฎร ทัใ]วใ]ระพ)]?.ใปีตามพระราชกำหแดกฎหมายใ) วทุกไ]ระการ ถ้าพระสฆ เถรเจ)ร แล อแาประชาราษฎรผู้ใดมิ ได้ ประพ[เหปีตามพระราชกำหแดกฎหมายแ วะเอา ตัว มุมได้ กระ หำตามกฎ แล ญาติโยมพระ ล ฆเถรเจ)รรูปแแเปแโหใ} ตาม ไหใ}าแโทษ ” พึงสิงเกดว่าในบีถดมายํงทรงตรากฎเพ็มเติมในเรื่อง ลํกษณ ปฏิบ้ติทางศาสนานอีกด้งจะได้สรุปกวามต่อไปน กฏที่ ๒ (วน ๒ๆ๖ ก็ก) สมีรกษวํด้บางหว้าใหญ่ริบเข้า ของเงินทองอีเพ็งไว้เบ็๋นอนมาก กรนอีเพ็งเบนโทษทางบานเมือง จะตองถกริบทริพย์ ก็ช่วยกนปกบีดไว้ จึงให้หามมิให้สงฆริบฝาก ทริพึย์สมบติ หรือพำพ'นก'บเรื่องทรพย์ของฆราวาส กฏที่ ๓ (วน ๕ๆ๖ คา) ปรารภเหตุที่พระภิกษุอสิชชีมี มหาดาเบนติน กิดกบฏต่อสมเด็จพระเจากรงธนบุรี จึ่งทรงสงว่า ต่อไปให้เว้าสำนกมีบญ่ชีภิกษุที่อยู่ใต้บํงกํบบ้ญ่ชา และมีหนํงสือประ จำตำ ๑& กฏที่ ๔ (วน ๑ๆ๘ ก็า) ให้ราชาคณะอธิการทำบญชีหาง ว่าวสำหรบผู้อยู่ในบงกบบญชาส่งส*งฆการีนำขืนทูลเกลำ ๆ ถวาย ๒๐ กฎที่ ๕ (วน ๑ๆ๘กํ่า) วางโทษอุกฤษฐ์แก่ผู้ปกบิ!ดกวาม ทีตนฅ็อ์งอาบิตปาราชิก กฏที ๖ (วน©ๆ๘คํ่า) หามมิให้พระหากินจุกจิกกบ ฆราวาส ๓ กฏที ๗ (วน ๒ๆ๑๒ กํ่า) หำมมิให้นำขอยินสงฆวิวาทกน ควยกิจพระวิน”ยมา กราบบ”งกมทูล ขำมหนาสมเค็จพระส่งฆราชเหตุเกิด ควยพระราชาคณะแยงกนเรื่องเขตว”ครบกฐิน กฏที่ ๘(ว , น ๔ๆ๓กํ่า) บี่ระกา พ.ก. ๒๓๓๒ ออกจะ เบนกฎสำคญวางหลกว่ากนชนิดใดเบึนอล”ชชื และมีแนวแก้ไขกขำง ขวางน่าก”ดมาอ่านก”นิในที่'นอีก เพื่อผ้ศึกษาประว่ติศาสตร์จะได้อ่าน ทราบว่า ระคบของการปฏิบติธรรมวินโ) ของสงฆ และระด”บ ของ ความ ประพฤติธรรมของฆราวาสเบ็๋นอย่างไรในสมโเนน ดงต่อไปน "แสหุเๆวัใ!บเหัใ]ผายพระพุทรวักรวา ว ปีอเ สิ , ย ประการหหี่}เข้าใฟา สาคใ]าถ]เปีย}ใ!แล้ว (ไม่') เหใ]สะใรำร!ให้ วัต! ใ!าขํ้ใ!ได สี่}}]ได้ระวั]ระไวว่า กส่าวล้V ให้เกิด}]หาโ!รปล้บทำสายหระสาดยา หัวส}!ถ!ะและสา})เก!รม่ได้ รักหาพระวัตยาริยสหริปีสรํ๋าเริยยหุระหัวสอ}ประการ แลชายกับเหี่ยวเข้าร้าย ตะหสาดดุสีกา ปีอาการกิริยายุ}ห่}แดรเหิรหย่า}ฆะราวาหม่ได้สำรา}]รักหา อิใ!ทริ เย หปีเปยหี่เสอ}]ไสฅรัหราแก่หายก แลเหี่ยวดุโขใ]หหั}สคอใ}พอใ]ข้บ แสเส่ใ!ห}]ากร กสกาพหัใ!หั!ปว! แสคใ!คิดกับกับกระหัดชายหญิ}เส่บเยย หย่า}ส]]ก]ะสา}] เก!รวัดยา! ว้าคบ กระ หัดชาย หญิ! สิบเยดคบ ๆ คบส}]ถ!ะสา}] ๒ © เพรเ ส ’!/;บย ขอกล่าวเบาร''อง 5 บเงบทองเข้าไ]ลาอาหารทังปวงมาเลยงชีวิตร แลผะ ' ทำการ'บราวาดให้ดอกไบ้ผลไบ้สงของหวังอา?ศแก่ขะราว'IV แล สาร! ผูกหัใบหเรี'ยกVะราวายหญิงชายเปบ 1 ]เลยงที่เลยงบ้องเลยง แลคำรย:ยยยอ:ย
  • ” แม่ ยอบกายวาจาแก่Vะราวายหย่าง ว่า หายทายา แลขอให้ไ!-า},เยตด้ายผงคลสูทฟม่ ลับแก่ฆะราวายหญิงชายที่หาบญา?ได้ ก็ผกพับหเสบ่หาเหบแก่หบ้าอา?ดให้ อาหารผลาผลเบบตับ บำเรอแก่หบ่?กขบาปอลชี ได้ชีอว่าให้กำลังแก่?กยุ ลาบกลับกระหำอะเบสะบะกุละโทศกประทศวัายกรกุญ 1 }วะราวาย ลับดาหาบวะ บึผลบากกระหำให้หาผล?ได้ เหราะเหตุ.ด้วยหำหาบหาเใ!บหาบเวตบาแห้ไม่ ให้หย่างบขอ ว่า หบอลๆ! ๆ ?กยุบาป? เบ้า ใวหำลายหระสาศบา แลผายฆะราวาย สกาก็ค้บเคยบ่าเอาอา?ดอาหารเปบลับออกบาบำเรอ?กยุสาบเณรบาปอลชี บง ใบกฎึที่กำลังลับคารวะเก็ยวหาบหยิกหยอกสำผิสกายกระหำเบกุบแรรบได้บ้บ ผาย?กยุสาบเณรบาปลาบกคลับคุบเคย เข้ากับสกาแล้วก็เข้าลัาบบอบลัาบผิด เหลาราตรี หดวา!เการุ 1 ปชีก็ปีความเสบ่หาวักไคร'ทังสองผาย สำผิ'สกาย กระหำเบกุบแรรบเปบปราชิก แลลิงคเถรไลยลังวายเบึบคระโหยห้าบลัหชา อุปรลบบทวะบาด?เปบ?กยุสาบเณรเลย..." ต่อไปนั้ยกต่วอย่างภิกษุอลํชชีระบุชื่อมากรายต่วิยกนโดยมากมี ผิดควยเรื่องปฐมปาราชิก ขอกวามขางบนน บรรยายความเสื่อมของสงฆ์และมหาชนใน ทางศาสนา อ่านต่อไปในกฏทีโปรดเกลา ๆ ให้ตราขนกรงนน จะ ได้ ความว่าทรงแก้ควยวิธีต่าง ๆ ควยความเพ่งพินิจต่อเรื่องอย่างละเอียด ๒๒ ส่อให้เห็นว่าเอาพระราชหฤทโเใส่ในบีญหาเหล่านจริง ‘ๆ เทือให้พระ และคฤหส่ถ์อํนเบนประชาชนของพระองค์มีหล้ก ธรรมความประพฤติดี ขืน ในกฎฉบบนทรงส่งว่า พระเณรที่เก็บเงินไว้กบตำผิดชาฅรูปรชฅ ศีล ให้ทำโทษคำยการไปแผำถางวิดให้เตียน พระเณรทีหย่อนใน วิฅรปฏิบ้ติ หรือไม่ระว่งิมารยาทในเวลาออกนอกวดให้ส่งสอนให้วาง ตำให้เบนสมณสารูป ให้มีระเบียบลงโบสถ์ทุกวน เพื่อวินโ]และ อปริหานิยธรรม พระที่ผิดถึงอุกฤษฏโทษเบีนปาราชิกตองบํงคิบให้ สึกจากสมณเพศ หบีมพวกชีมิให้เขาไปอยู่ในวิดอย่างเด็ดขาด ให้ มูลนายบิดามารดาของหญิง ทงปวงหม่น ตรวจตราว่ากล่าว หญิงที่อยู่ใน ปกกรองของฅนมิให้ไปคบริกใคร่กบพระเณรในวิด ผู้ใคละเมิดมีผิค ที่ใ3เฉพาะตำ ทงผิคถึงผู้ปกครองบิดามารดาดำย ( ® ๓) การสะสางผู้ประพฤติชำในศาสนาถึงทีสุค เมื่อบีระกา พ.ศ. ๒๓๔๔ ซึ่งปรากฏตามกฎพระสงฆ์ ฉบบที่ ๑๐ (วิน ๓ๆ๗คา) ค ๓ อำพนฉบบสุดห้ายที่ทรงตราขนไว้ จะได้คิดความบางตอนมาลงในที่ นคงตีอไป ’ "สมเดคืบรน ขา51? บรมIเพิต 5?V ระพุทธ (วิ าอย่นัว ... ตงพระนัยทรงพระ ราชศรัทธา วะทำนป้ารงพระพุทธคาคนาให้บริบูรรส!ไไ]ด้วยร''คนแก้วทังสาน กล่าวคอ พระพุทธร''ตน พระรรรนร''ตน พระคงฆร''ตนไห้ฟนเนอนานญอัน ย่ระเคริฐแก่คัไ]รนทายกทังไ]วง นัตนพระคง'นอันนับเข้าในพระพุทธขนโนรค มิได้มิหิริโอตัไ]ไ]ะ คบหาอันทำอุคานกเบนอละชึยภิกนคือเสพครายาเนานัา (๑๓) ประมวลกฎหมาย 1 ชกาลที่ ๑ ฉบไ]มหา วิทยา ล่ไ]ธรรมศาลฅรการเมือง เล่ม ๓ หนำ ๑ ไป ๒๓ ตาลช่มแลมรีมโ.ภชมาหารของ กัด ของเคยวแ V ลาปฉาพัท แลโมรา ตรี ก็บี่บ้าง ลาง เหล่าเอาบ้าหาตบาตรเหสกไป'ขายแลกเล่าเล่มเบี่ยเลีย มิได้ครองไตรรีวรกระ ทำงอบเ]ลอมเห}!อมสามเถาร ไม่ได้ปลงผมโอมหมี่งบ้างสองโอมบ้าง เหี่ยว อลางามอลางลม ดโขมหนังห่มลคอมเมียตเสยลอบาสกสกาพูดงาตะหสกคมอง เฮฮาหยาบช้าธารถ! ลางเหล่าเหมชายเดกลูกข้าราชการอมาประขาราบฎร รุ 1 ปร่างหมดหบ้า ก็พูดงาเกลยกล่อมชักชามไปไว้แล้วกอดงบหลับมอมเคล้าคล่ง ไปไหนเอาไปด้าย แต่งตัวเดกโออาดปะกาดก้ม เรียกร่าลูกสวาติ ลูกสดโง ฅรียตราปงรัตยามัด ก็มับ้าง ช่วงชิงก้มห้งบาพยาบาทงมเกิดวิวาทตีรัมก้ม ตายด้วยไม้กระบองขม พิงารถ!าได้ตัวมารับเบี่มลังได้ไม้กะบองชมเบี่มหลาย ก้ม ลางพวกเหมสลูปกำบี่ม เหมสำเภางมเข้ามาก็ขมเหี่ยวบมสำเภาชกขม ซอหาของเล่มปมละไล งมงามฝารังให้เดียร0มิครธมดหมี่มก็ม้บ้าง ลางพาก ก็เหี่ยวชอผ้าแพรพรรถ!โมพ่วงแพแลรัามแขกรีมเอาไปเยบย้อมเปมผ้ากาดผ้ารีาร ผ้าสบงผ้าสไบผ้ากราบพระผ้ารัตคดผ้าอังสะ กระทำเบี่มศรีแสดศรีชมภูมงครอง ให้ต้องอาบ้ดเปมมหามิดลักคยมุกครั้ง ลางพวกก็มุงแดงห่มแดง ลางพวกก็มุ่ง ห่มเปมแต่ศรีกรากรุมอำปรังคาดรัตคดบ้างไม่คาดรัตคดบ้าง คลุมสีคะสบบหรี่ ดอกไม้ห้อยหูเติรกรีดกรายตามก้มดงฆะราวาบ ลางงำพวกขํ้มพระพุทธบาทเติม ทางคาดกะตุดโภกประเสียดถือดาบกระบี่กลูบดงพากโงร ล่งพระพุทธิบาทแล้วคม ก้มเบี่มหาก ๆ กลางก้มเข้าถํ้ารัองลคอมลำนำหยอกสีกา กลางคืมก็คลุมสีคะตาม ก้มตีวงรัองปรบไก่ดงVะราวาบ ลางงำพากเปมมักสาดล้ปรบทายกปมมสวดพระ มาไลยไม่สวดต้องตามเมี่อความพระบาสี ต้องเปมลำนำ แขก รีมญวมมอญฝารัง แล้วก้มบาคูเบี่ยกแกงบาดเบี่องข่มเบี่ยงไบกล้วยอ้อยก็ม้บ้าง แลชี่งพระสงม ๒๔ สามเสรโ1ระพำกุลากลเใ]บมหาโกรใเลโบพระสาคบาด'ใบ เหราะ}'}ระสาขราชา คสะถานาใ}กร}!เก้าอะแการสะเมิบเสีย มิได้ดแลกำชับห้ามใ]ราม บัดใ} ใหัหระ ราชา คสะเาาบาบุกร}} สัากะรืย แรร}]การ ราชบัส ชํตย พร้อมกับชำระพระสา'มชำเบบอละชํย?กบ พิการสาร้บเใ]บสัก ให้หระราชา 'อาบผ้าขาาสึกออกเสียกากหระสาคบา เใ]บคบร้อยญี่สึบแใ]ดสักแขนเบับ้ไพร่ หลาาใชัราชการพี่หบัก พร้ามิให้ดเยี่ยาอย่าากับ ’] ช๕ ใ ทรงกวดน์นศีลธรรมขำราชการและVIลเมือง นอกจาก “กฎหมายพระสงฆ” ซึ่งทรงมุ่งจะกวดข้นให้พระ เณรมีศีลวํทรยินดีงามแล่ว ยงไค้ทรงพยายามกวดข้นผายขาราชการ และพลเมืองให้บำเพ็ญตนเบนพุทธศาสนิกที่ดีอีกเบ็นอเนกปริยาย ด้ง จะเห็นได้จาก “พระราชกำหนดที่จะนำมาอำงต่อไปนั้ ๒ ฉบบ- "ด้ายสมเดกับรมบากบรม พิตร พระพุ พร เก้าอยห้า....ดำหร้สเหบอเกสัาา สาร่า บับดาเสากามาหราขบรรพ สัต าผ่ 1 ายหบ้าแลห้าาบาาชะแม่พระสบมกำบับ ทบายเรือบก่าโขลบ แลข้าหลาากรมพระราชาาบาร ๆ ข้าเกาต่าากรมแลหากรม มิได้ผ้ร้กบาเมึอากรมการห้าใ]าา ให้ ตั้า ดำ รา กิตรอยใบคดแรรมห้าสีแลรักบา คลสักบั้บโห้บรืสทแก็กะฟบที่ตาแห่า กอาการกุศลห้าใ]วาก็กะบ้าเกิดฅุขใ]ระโยชน์ ใบอิหแโลกยแลบ ร โลกย แลมาบัลบคบกับเล่บเบยบอ่บเใ]บพาลพกร่ต มิได้ เกราบาใ]ลอายบาใ]พุกขใหบใบใ]ระกุบับก็สี ครับลบชํวิตรแล้วก็กะไใ]พบหกช เาทบาอยใบบรกบ้บช้าบาบ ใ]ระการหบี่าแล่ก่อบก็สีพระราชกำหบดห้ามไร้ร่า ถ้าผ้ไดเสหลราเหลับเบยบอ่บให้ลาพระราชอาญาเสียบลามยก ถอดออกเสีย (๔) กฎหมายพระสงฆ *0 ใน ประมวลกฎหมายร'ชกาลที่ ๑ เล่ม ๓ หนำ ๕:® ๒^ จากราชการเอาตัวเม่นไพร่ ผายข้าท(เอออา ๆ คนเก่าก็มืพาพระราชกำหนตหาวว ข้าราขการคนใหม่ข้า}}ได้แว้ง จึ่งทราพระกรรณาตรัสลาว่า ข้าแต่นปีบไม่เมือหน้า ล้าผู้ใดข้าเลพลูราเหล้นเยยม่อนแทากำในลกาน ปีแห่าใดๆก็ปี มืผู้พอาร้อาร่ากล่าวพิจารณาเม่นล้จ จะให้ลาพระราชอาญา เร่เยนลา}เยก เพมโทยเข้าอีก จะล้กกั๊กถาไว้ปีหนาผาก ผ่ายนายบอ่นหา เบยไทยจีนเม่นใจให้เข้าเหล้นแลทดรอา จะเอาตัานายยอนหาเปียลาพระราช อาญาเร่เยน ๓อ ปีดามโทยาณโทย (วน ๒' อี ๕ คา ๒๓๒๕ ( '‘' ๕ ' ) อีกฉบบหนึงน่าร้ในทางนเหมือนกน กล่าว ว่า - " ด้ายพระบาทล}แดว้พระพุทธิเว้าอยหัาหุกานนทราพระ มหากรรณาทำ นยำราล้ตาโลกหัาม่วาให้ข้าอยในคลลูจร่ต แลพระารพุทธลาคนาาทนาราเรึอา ปีบไม่ แลทรงพระราชล้ทธาบปีล้าขรณด้ายพระหัถน้าา ให้ข้าทูลออาทปีพระ บาทข้ใหญ่ผ้น้อยไม่บปีล้าขรณพระพุทธบูม่พระลลูม่พระเจปีาดวาอารามน้าา ลา ๆ}ๆบ 1 ด}1อารุาเรือาให้เม่นปีไหว้บูชาแกเทพา)เนยทัาม่วาเม่นอัน}เาก เพอจะให้ เม่นอม่ปีไลยม่ะว้ยแก่พระพทธพุมบดเจกพุมอรหัตพุม พ้นจากลาลารว้ตราบาย อารามเจตยถานหัาม่วาร าเรือากร่าแต่ก่อน ผายลูกชน ก} คาลาพรอมล้นกราบ ทลพระกรรณาร่า ทูกานนมืผู้ร้ายกระทำอันรายลอกหอาพระทำลายพระพุทธ รม่พระลลูม่พระเจปีพระบดชกชมชนเยึนอันมาก จีาปีพระราชโอาการมาน พระข้นทูลดำหร้'ดเหนือเกล้าข้าว่า แต่นปียไม่ให้กรมพระนครบาน แลเว้าเมือากรมการว้ดแจาตรวจ กระเวน ตามอำเพอคอยจับตัาผู้ร้ายขาทำอันรายพระพุทธรม่พระลลูม่พระเจปีจาได้ แล (๕) พระราชกำหนค ๒ ใน ประมวลกฎหมายรชกาลที่ © เล่ม ๓ หนำ ๓๑๕ ๒ไว ย้าร ามใดไกลบัาบให้หันใหยบั'านจํ'ดแจงลกบั'วนชี่งไกล้อาราม!} ไ/ค อยจ่บกุมเอาตัว ผู้ร้ายชี่-}ทำอ''•แราย. ... เอาตัวมาส่งยังกรมหระนครบานแลเจ้าเมืองกรมการกระ ทำโทบตามหระอายการผู้ร้ายจงจะเขดหลาบ ® ๖ - ทรงปฏิบ ต และสึกษาฟิ ล ธรรม ส่วนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หืวเองน 1 น ทรงปฎิบติกิจว'ดร ทางศาสนา ควยการทรงศีลบำเพ็ญทานวิสสาสะก’บพระสงฆ์เบนนิตย์ เวลาเช้าเสด็จออกทรงบาตรแช้วถวายภ’ติตาหารเลยงพระฉนเวร เวลา กาเสวยพระกระยาหารแลวเสด็จออกช้องพระโรง ทรงสด’บ พระธรรม เทศนาก’ณ'ท์หนึ่ง จึงปรากฏความเนือง ๆ ว่า เมื่อได้เสด็จออก ถวายภติตาหารแก่พระแลวเสด็จข็น ย’งได้ตรสให้'จางวางมหาดเล็ก หรืออาล’กษณ์เชิญพระราชกระแสทรงสงส’ยในบญหาธรรมไปเผดียงพระ ราชาคณะเปรียญเบื่นทำนองพระราชปุจฉาให้ท่านแก้ถวายเนือง ๆ เช่น รายหนึ่งมีบนทึกไว้ว่า . ..ผู้ มืคร้ทธาแต่ก่อบกวายส่วยสัดหัตเบากรค่าที่เรือกสวนไร่บา อ¬ หิศฟบกัลยันาบขาไว้ฟบของหระพุทธ หระธรรม หระสงฆ์ ส่าหร้บอารามใดๆ ก็ดึ บัลบหระหหธร ใ] หระสกไ]เจดบั วัดวาอารามบังใ]วงก็ยับเยนสาบสญไใ] ฟบอับมาก แลพระธรรมหระสงฆ์ผู้ร้กบาพยาบาลก็หามิได ยังแต่ค่าเรือกสวน ไร่นาส่วยสัดหัตเบากรอ้น ชอบจะเอาของอ้นไใ]กระทำใ]ระการใดจงจะสมควร หาใทบมิได อ้าจะเอาทร้หย์สงของอ้นมาสร้างหระไตรบฎก แสจะทำการบขา (@๖) พระราชกำ'.’:นค ช่อ @๓ ในประมวลกฎหมายร'ชกาลทื่ ๑ เล่ม ๓ หน้า ๓๕๓ ๒๗ หระพหธนาท)]หาเจก็ยฐานวันจะควรหรือผ่ควรประการได ให้ล)]เก็'จหระลังV ราชาVระราชาคถ]ะทัาปวาวิลัชนามาให้แจ้า หระลา')]ถวายรืลัชนาว่า ผลประโยชน์ของวัดที่ เ ร!/ วผา'’ (ซึง น่าจะเขาใจว่าท่านเพ่งเลงถึงวคร็างทางกรุงเก่า ซึงย'บเยินไปมากใน สมยน*น) จะเอาไปหำราต่างวัดก็ไผ่ถูก แต่เที่อไผ่ปีเจ้าของที่จะวับประ โยชน์วัน ๆ แล้ว หากวัดวันๆ ลัาปีหระหทธรุปอยควรอาราธนาลง)]าปฏิลังขรฌ์ (พงสงเกตคำว่า “ลงมา”) ล้าหระหุทธรปใหญ่โตนัก...ให้เอาทวัหน์วัน ไปอำหน่ายเปนล้มภาระ'ขอไผ่ขอจาก'ขาวะเบนร่มหอที่ละทำไต้ หรือจะสวัาา หระไตรบฎก ก็ให้อุทิศเฉภาะไว้ลำหวัยอารามวัน ”....®''''' พระราชปุจฉาขอน , ทรงติง'ไปยิงพระสงฆ์แฅ่บี่แรกๆแห่งรชกาล แลวก็ปรากฏว่าได้ทรง “อาราธนา” พระพทธรปจากเมืองรางทาง เหนือ เช่น สุโขทยและพระนครศรีอยุทธยาลงมาประติษานไว้ใน พระอารามหลวงในกรุงเทพฯเบนหลายองค์ เช่นพระศรีสากยมุนีที่ วํด้สุทศน และพระพุทธรูปทว่คพระเชฅุพน เบนตนติงจะกล่าว ต่อไป พระราชปุจฉาอีกขอหนีง แสคงว่าพระองค์มิได้ทรงถือเคร่ง กรดในเรื่องบญจอนตรธานทีกนโบราณเชื่อกนนก มิความว่า

    ". ล)]เก็จหระหทธเจ้ากำหนดหระหุหธลาลนาไว้ ๕๐๐๐ หระ วัลลา แลเที่อครบ ๕๐๐๐ หระวัลลา หระบร)]ธาตเลก็จเข้าลหระน์หหาน ก็ลํ้นกาลกำหนดหระลาลนาแล้ว แลหระหทธรุปหระลถูปเจก็ยหระฅรื)เหาโพธิ แลหระเจก็ยฐานอันใด ๆ ขี่ายังปรากฏอย (กนโบราณไม่กล่าวไว้เลยว่าจะ (๑๗) พระราชปจฉา โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส ร.ศ. ๑๓๑ หนา ๕๑ ๒๘' ยง ปราก ฏอย่ ) ปีผ้ กระทำใ]ระ}ไษฐร้ายนั้นจะปีบาใ]จะปีโทษหรือหา มิ ได้ พระ สง ฆทูลฅ อบว่า

    . เมอวันกน ๕0 0 0 หระวักกา อันว่า} V ระหทธร' ใ]หระกกใ! เจด้ยหระเจด้ยฐานอังใ]วงนั้น ก็อันตร
    านกาบกูญโดยอนกรมลำดับอันไใ]ตราม เท่ากน ๕0 ๐๐ หระวักกา ก้าเจด้ยฐานอันใดอังเหกออย ก็กนหหรบญญต แก้ว ฟนเจด้ยฐานปีนอกหระหทป็อัญญต แกเจด้ยฐานอันเหกืออยนั้นก็น้อย นัก มนษย์นั้งใ]วงก็มิโด้รฐห็นว่าเใ]นเจด้ยฐาน เหตว่าเหวดาบรรดาลบดบังให้ รกชัฏด้วยก้อนดิกาแกดันไม้กดาวักอันใ]ระกอบด้วยหนาม ใ]ระกงคว่าจะมิให้ มนษย์เชัาไใ]กระทำกามกได้ ก้าเบนผ้ปีบญปีวากนารเห็นว่าที่เจด้ยฐาน แกไใ] ๆ V ๆ' V ๐ กระทำสักการยๆราด้ายกฅลเอตนาก็ได้อานิล]รแใ]มอัVมาก. .. .” ๘ น่านึกว่าคำวิสชนาของพระผเบี่นเจ้าอย่างนึจะเบนที พอแก่พระวิจารณ- ญาณของพระองค์สิกเพียงไร นวกรรมทางศาสนา หสิก่ ธรรมของสมเด็จพระสิมมาสมพุทธเจ้าเนนให้ชำระจิตใจ ให้ผ่องแจ้วและ , ให้ประพฤติชอบควย กาย วาจา ใจ เบนจ้อใหญ่ แต่ ในฐานะที่ทรงเบี่นอ"กรศาสนูปสิมภก พระพุทธยอดพากงจะร้สึกพระ องค์ว่าทรงมีพระราชกรณีอื่น ๆ อีกทีเกียวกไ]พระพุทธศาสนา เช่น นวกรรมทางวดอไแมื่นโอกาสที , จะได้ทรง ส่งเสริมศิลปของ ชาติอีกจ้วย ฉะนไจึ่งได้ทรงเพ่งเล็งในทางนวกรวมเบื่นอไมากตลอดเวลา ๒๗ บ กว่า ฯ แห่งจ้ชกาลของพระองค์ เริง ฅไดไยการสจ้างวไพวะศรีรไน- (๑๘) พระราชปจฉา เล่มกน หนา ๖0 ๒® ศาสดารามเบนพุทธาวาสภายในพระบรมมหาราชวํงที่สรำงขนพรอมกน ในพ.ศ. ๒๓๒๕ อไแบื่นบื่แรกที่ไค้เสวยราชย์ ตามพระราชพงศาวดาร ‘'ได้ลร้าวทร้'อพวพระอโหลถพระเลดีย์ ของเจำ-พระยาทิพากร'วงศ ว่า วิหารและคาล 757 I)เVIเหลายหลัว ให้ขดลระหํ้าทำหอไตรลวกลาวลระหลัวหหึ่ว ห)ระราชฬาหIเา}วว่าหอพระ■พนหึยรรรรว/เปีIเห''ไว้ต้ใV!ระไดรVฎก" และโปรด ให้เชิญพระเทพบิดร คือ พระรปสมเด็จพระรามาธิบดี (อู่ทอง) มา แปลงเบ็!นพระพุทธรปห้มเงินบิเดทองประดิษ^านไว้ในพระวิหาร ซึง ไค้นามว่าวิหารพระเทพบิดรโปรดให้เชิญพระแกวมรกต ซึงเชิญลงมา จากเวียงจนทน์ และพกไว้ในพระราชวำเดิมผงธนบุรีแต่ในรีชกาลก่อน แห่เบน กระบวนมา ประดิษ1านเบ็ 1 น พระประธานใน พระอ โบสถว่คน และโปรดให้นิมนต์พระราชาคณะมาประชุมผกพทธสีมา แล่วพระราช ทานนามวํดว่า “วัค พระศรีรฅนศาสดาราม” ใช้เบึนที่ประชุมราช การสำกญ เช่นการถือนาพระพิพํฌนสํฅยา การนวกรรมสำกญมากอีกรายหนึ่ง คือ การสรำงว่ดพระเชฅุ พนลงในที่วดเดิมชื่อว่า ว่ดโพธซึงชำรุดทรุดโทรมเกือบจะรำงอยุ่แล่วิ ที่เลือกว่ดนึ่สรำงเบนการใหญ่ก็กงเบีนค็วิยเหฅเบีนว่ดอยู่ใกล้กยพระ บรมมหาราชวิง การสรำงวดนึ่เบ็นการใหญ่กินเวลาหลายบื่กว่าจะเสร็จ เรื่มตนล่วิยถมท้ใน พ.ศ. ๒๓๓๒ ต่อมาอีก ๔1) (๒๓๓๖) ลง มือปฎิล่งขรณ์ก่อสราง ในชนนนมีพระอุโบสถพระระเบียงสองชื่น และวิหารทิศทำสี ถึง พ.ศ. ๒๓๓๗ โปรดให้ชะลอพระพุทธปฏิมากร “พระศรีสรรเพชญ์” ลงมาจากกรุงศรีอยุธยา พระพุทธรปองค์นึ่เคย ๓ ๐ เบ็นพระประธานในวิดนามเดียวก่นอินเบีนวดภายในพระราชวงทำนอง วิดพระศรีรกินศาสดารามของกรุงเทพ ฯ ฉะนน แต่ปรากฏว่าถูกลอก ทองเผาผลาญมาแล่ว่ยบเยินซาถูกวิหารพิงทบควย จึงทรงปรึกษาพระ เถรานุเถระว่าจะทำอย่างไรดีจึงจะถกต่อง ท่านถวายวิสชนาว่า การ ที่จะยุบพระพุทธรูปเดิมแล่วหล่อขนใหม่นนไม่ชอบดวยหลกิการ จึง โปรดให้เชิญขนด 8 งไว้บน^านพระเจดีย์ แล่วิก่อพระเจดีย์ล่อมรอบทบ องศ์พระไว้ส่วนพระประธานน 1 น เชิญมาจากวิดศาลาสีหนา ( เดียวนี เรียกวิดคหาสวรรค์) ธนบรี ถวายพระนามว่า “พระพุทธเทวปฏิ- มากร ” เชิญพระพุทธรูปยืนมาแต่วิดพระศรีสรรเพชญ์ในอยุธยา มา ไว้ในวิหารทิศดานตะวนออกถวายพระนามว่า “พระโลกนาถ” เชิญ พระพุทธรูป ทองเหลือง ทองสมฤทธ มาแต่พิษณุโลก สุโขทย สวรรคโลก ลพบุรี อยุธยารวม @๒๔๘ พระองศ์ลงมาให้ช่างหล่อ ต่อพระอวย , วะที่ชำรุดแปลงพระพิกิตรีให้งดงามแล่ว ประดิษานไว้ใน พระระเบียงสองชนรอบพระอุโบสถ ฝาผนงแห่งอาการท 5 งหลายเหล่า นํ้เขียนภาพต่าง ๆ ก่งระบุไว้ในจารึก (ต๙ '’ ซึงประดิษ 1 ฐานไว้ใน พระ หารทิศล่านตะวนออกทุกวนน เมื่อการก่อสรำงสำเร็จลง ทรงพระ กรุณาโปรดเกล่า ๆ ให้มีการฉลองมโหฬาร สนพระราชทรพย์เบ็เนอ'น มาก ขำงล่ายแห่งจารึกที่กล่าวถึงนมีความว่า "ชี่ ■รทรร}รระ ราช ตร' ■ห57 บำเพ็ญพระราชกุตล ทฒ ใช่พระ}รัยจะใ]รารถนาสมบี ห !/รมจักร รุสรี 'กร ห้า ร?Vกุ/? สา}รลราชและสมบีต81เหรพรห}เหามิได้ ตั้ง V ระ}รัยห}รายมิมิ} Vระ VรXI โพปีญาพ่ใVอVาคต 07ส จะรํ้อสัเ'ตว์ให้ห้าเจากสาลารทุกข์ และการพระราช (๑๙) ประชุมจารึกวํคพระเชฅุพน เล่ม ๑ พ.ศ. ๒๔๗๒ หนา ๑ ๓ 0 กุศลท้ง Vขออทิศให้แก่เทพ (รำ? ใ]อมัใ]ตจ้'กรวาล และเทพยเจ้าใใ]ฉกามาพจรและ โลฬลมหาพรหมอากาคเทาดา พ[เกมเทาดา กุมเทาตา อารักมเทาดาและ กใจ้ตราริราชพระราชาาศานางย์ เลนาพ[เต]ามาลย์ราชปใรหิตลมณชึพราหมก] อาถ]าประขาราม]]รทาลกลราชอาณาจักรในมาศลทาป จาอนโมทนาเอาล่าน พระราชกคลนให้เปีไ]ลาภสิริลาลลิทีๆ]ายคม า ” นอกจาก'แยำไค้ทรงพระราชศรทธาสรำงวดสท่ศนขืนกลางพระ นกรๆ แต่ยำไม่ทนจะแลำหรือจวนเสร็จก็เสด็จสวรรคตได้ทรงทำเพียง ชำพระศรีสากยมุนี อไแบ็่นพระพุทธรูปแบบศิลปสุโขท่ย มีส่วนใหญ่ มาก เกยเบึ่นพระประธานในพระวิหารหลวงวดมหาธาตุเมืองสุโขทย นน ขืนสู่ , ที่ พุ จะเบนพระวิหารหลวงวคสุทำน์ทุกวไเนี ย่งมีวดเก่า พุ ที่ได้ทรงปฏิส่งขรณ์ขั้นใหม่แทบทำวำอีก เช่น ว่ดสระเกศ วคราชบูรณะ และวดสลำ รายสุคท์ายนีท่านนบกนครำ น*นีว่าสำกิญมาก เพราะเบ็!นวดตำอยู่ระหว่างพระบรมมหาราชวำกิบ พระราชวำบวร เบ็!นอนว่าทรงเบนเจ่าของทงสองพระองค์ เมื่อ ปฏิสำขรณ์แลำพระราชทานนามใหม่ว่าวำ “ นิพพานาราม ” แส่ว เปลียนเบ็๋นวดพระศรีสรรเพชญ แล้าเปลี่ยนอึกเมใ]รัดมหาราต'’ ในรช กาลที่ ๑ ทำสี่ชื่อ ส่วนทางหำเมืองนนแม้ว่าในสมโ)นนกงจะย่งไม่ส้ 2 ข ปลอดภํยนำสำหรบราษฎรที่จะไปตงรากฐานภูมิลำเนาสะสมโภคสมบิต มากมายก็ดี แต่ปูชนียสถานบางแห่ง ทีเคยนบถือกินมามากแต่กรงกรุง - ศรีอยุธยาก็คงจะมิได้ละเลยกนเลียทีเคียว ปรากฏว่าได้โปรดเกส่า ๆ ให้กรมพระราชวำบวรเสด็จไปบูรณะมณฑปพระพุทธบาทเบึนตน ๓๒ ไสยสาสตร เมือกล่าวถึงความเชื่อถือของมหาชน ย่อมจะเวนกล่าวถึงไม่ ไค้อีกแง่ห'แง คือเรืองไสยศาสตร์ เราย่อมริกนอย่แล่วว่าคนโบราณ เห็นจะทุกชาติทุกหม่แม้ในอินเดีย ซึ่งเบนแหล่งเติมของพุทธศาสนา ย่อมเกยนบถือผีสางเทวดาและนิยมเสกเบา เพื่อสวิสดีหรือเพื่อบองกน สรรพภโ) คนไทยแต่เติมก็ดุจกนและแม้เมื่อเบ็๋นพุทธศาสนิกควรจะตด เรืองถือผีสางเทวดาได้แล่วก็ยํงไม่สามารถจะตํคไค้เลย และซาร่ายรบ เอาความเชื่อเก่าแก่ของฝร่งเขำมาร”บน'บถือค็ว์ยก็มี เช่นกลวการที่จะ นงร่วมอาหารกนเบื่นจำนวน ๑๓ คน เพราะพระเยซนั้งบริโภคอาหาร ร่วมกบสาวก ©๒ แล่ว ร่งขนก็ถกประหารชีวิตนน ๓นตน หากไม่ เห็นว่า จะแก้ไค้เด็ดขาดเพราะหามความเชื่อถือในใจนั้นยาก พยาน แห่งล่กษณะที่ท่านทรงไกล่เกลียดวิยกวามฉลาด จะหาไค้ในพระราช กำหนดที่จะคดมาลงไว้ต่อไปนั้ ๒อ) ". พระไตรยสรสราคม-วะอยเบนมนรคงนั้V เพราะถือพระพุทธคสร พระรรรมคสร พระสัIVคุสร ฟนเที่ยงแท้ จิตรมีไดัผั:นแปรไปถือตุฆ3'นอน ใรอกกว่านว่าประเสร,ฐ/ท่าพระร''ตIรไ สร Vเามีได้ฝไรอVขาดที่เคิยาฉน พระ สระกราคม จ'?? ะคงอย่แก่ สู้ !/''ไร ทุกสันนสัตวหังโ]วงฝนโลถืย ครั้นมีหกๆ]ขนมา นั้าจิดรนั้นก็ผันเฝรไโ]วากพระสัตนะตะยาริคุถรไโ]ถือมีสางเหพาสักโ]ต่าง ๆ มี! นั้าใวดฝนพหูสตรนั้น กึงวะนับถือ พระกูมีเว้าทเทพาสักบ นั้นก็ถือเอา แต่โดยจิตร คิดว่าเบนมีตรสหายฝนที่'ปองกรรสันตราย มีได้คิดว่าโ]ระเสริฐกว่าพระสัตมี¬ ดะยาริคุสรมีได้ .’ (๒ 0 ) พระราชกำหน ค ๓๕ ในประมวลกฎหมายร'ชกาลทื่ ® เล่ม ณ หน้า ๔®๔ &*'ไ&&&เ เธิเสุเซ็•&นนํเ •ชุ 1 - ■จภาII ไ!!โณ!!พ ก ?โฬ!ก เ)โ']■โXVด อ!รกฒ เท?!/)7 ส ศ-'}ขจ!/}!{เอ;ภ}/แฅั IVใ!ท7 ส ?!?/นทภ ใบปกหนำกฎหมายตราสามดวง ซึงเขียนไว้แต่ในรชกาลที่หนึ่งคราวชำระใหญ่ ในพทธศกราช สมุหนายก ๒. ๒๓๔๗ ตราสามดวงในภาพคือ จากซ้ายไปขวา ๑. ตราพระราชสีห์ ของ ตราพระคชสีห์ของสมุหพระกลาโหม ๓. ตราบวแกวของเสนาบดีกรมท่า ๓ ๓ แลวกล่าวต่อไปว่า ยงมบางท "ละพระรัตมลยาลีคสแสย ไปสอภูม เทพารักม์มืสางต่างๆ พอสํ้มกำมอะพัมทกข์ก็เข้าใวว่า ภูมเทพา รัก ม์ผสางที่ตม สอมม... โ] ระเสริ'ฐกว่าพระรัตมตรัยสะม พระไตรสร [มา คมม์ก็ ขาด..." จงมึVาระบรมราชโองการสังว่า แต่มื่สืบไปเมื่อหม้า ให้ข้าทูลอองผู้ใหญ่ผู้ม้อยผู้รักมาเมืองผู้รังกรม การเมือง เอก โท ตร รัตวา ทังปวงม้มดามืสารเทพารักมพระภูมเรัาที่พระเสอ เมืองทรงเมือง ให้สำรงช่อมแปลงที่ปรลักทักพังม้มให้มริบูรร[ม แลแต่งเครื่อง กระยามาตผลไม้ถางาเปมล้ม แลบูปเลียมของบูชาพอมรำสำบวงสรวงพะลีกำม ถวายสงๆ}งอัมสมควรแก่เทพารักม แต่อย่าม้มสอว่ายงกว่าพระไตรสระสเาคม ม้ามอย่าให้พลีกรรมด้วยฆ่าสัตว .... แลให้กระทำ บูญ ให้ทามรักมาลีล ...” (๓) ทรงสะสางระเบยบราช้การ ในวาระที่เสียกรุงศรีอยุธยาลงเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ นน ไม่ฅ์อง สงสํยเลยว่าเอกสารราชการกงจะสูญไปเสียมากเพราะหมดผู้จะเอาใจใส่ และพระราชวิงก็ถูกไฟเผาผลาญในชนแรก กรนเมื่อสมเด็จพระเจา กรงธนบุรีทรงกบานเมืองมาไค้ ก็มีราชการท”พศึกพำพนอยู่มิ'ได้'ขาด คงจะไม่มีเวลาได้สะสางรวบรวมพระราชกำหนดกฎหมายให้เบ็่นระเบียบ เรียบรอย เมื่อสมเด็จพระพุทธยอดพา ๆ ได้ทรงราชย์ ราชการทพ ศึกมีที่หนกถึงเสด็จเองอยู่แต่ใน ชิ 0 บี่แรก แลวก็ทรงจดระเบียบราช การและวิฌนธรรมเบ็๋นอย่าง ๆ ไป เริมตนดวยการพระศาสนาทรง ๓๔ จัดการ , ให้'ชำร ะพระไทรบี่ฎกดำยการทำส่งคายนา ทรงชำระพระราช พงศาวคาร และคำเน้นการฟนฟอื่น"]ดิงจะกล่าวต่อไป ' เบีนผ้รำระเบียบ ชำระกฎหมาย ที่จะกล่าวถึงในที่นคือการชำระกฎหมาย พระเจาอยู่หวทรง เกยทรงปกกรองในหน้าที่สำกํญ่ เช่นหน้าทิ สมหนายก ฉะนั้นจึงเอาพระราชหฤน้ยใส่ที่จะให้ประมวลพระราชกำ หนดกฎหมายไค้เบึนหลำปฏิบํฅราชการ ในพระราชกำหนดฉบบ หนึง ( ๒ ® กล่าวถึงความย่งเหยิงของกฎหมายในเวลานน้ว่า “ ท , }ะบาทส!]เต)บรมIเาถบรมบพิตรพระทุหปีเจ้าอยหัว . . . ดำหริ'ด เหมอเกล้า ๆ สงว่า พระราขกำหบดบทพระอายการสำหริ'บแผ่ใ]ดิบ กระบัตร}]มากหลายต่อ ๆมาจะบับจะคลถ]ามิได้ ครั้บกรงครือยรยา เสียแก่ . . . พม่าย่าดิก พระรรรมสาตรราชสาตรบทพระอายการกระ บัลกระจาย หายเก้าส่าบสิบส่าบปีอย่ลักส่าบหใงง ให้ลืบพระมหา ราชครุ 1 พระไกรสี บอกราชการผู้เล้า” ความทียกมากล่าวนีแสดงให้เห็นว่าพระเจำอย่หำทรงพระปริวิ- ตกอย่แน้ว ถึงความกระจด กระจายแห่งกฎ หมายจน ถึงสงส่ยิกไเครงนั้น บางทีว่าจะ ไม่เบ็ 1 นหน้กไค้ กรนถึงศก ๒๓๔๗ มีคดีเกิดขนย์นหนึ่ง ซึ่งแท้จริงก็มิใช่คดีใหญ่โตอนใด หากเบนเหตุให้ทรงส่งให้มีการชำระ กฎหมายเบนการใหญ่ คือวนหนึงเสด็จออกขุนนาง เช่าพระยาพระ คส่ง (เน้าใจว่า ที่ชื่อเดิมว่า “หน” และเบนกวีมีชื่อเสียงในสน้ยนั้น) (๒©) พระราชกำหนดที่ ๒๘ ในประมวลกฎหมายรชกาลที่ ๑ เล่ม ๓ หน้า ๓๙๘ 01 (? กราบบิงกมทูลพระกรุณาว่า นายบุญศรีช่างเหล็กหลวงรํอ์งทุกขกล่าว โทษพระเกษมนายราชาอรรถเบี่นใจความว่า บอมภรรยาของตนพ้อง หย่าฅน นายบุญศรีให้การต่อส้ว่า บอมนอกใจทำช้ดวยนายราชาอรรถ นายบุญศรีไม่มีผิดจึงไม่ยอมหย่า พระเกษมไม่ให้นาหน"กแก่ถอยคำนาย บุญศรี แต่พูดจาแทะโลมบิอมแลวคดขอความมาให้ลูกขุน ณ ศาล หลวงปรึกษา ลกขุนว่าเบนหญิงหย่าชายให้ขาดก่นได้ จึงพระราชดำริ ว่าหญิงนอกใจชายแลวมาพ้องหย่าชาย ลูกขุนปรึกษาให้หย่าได้นั้นไม่ เบินยุติธรรมให้เก่าพระยาพระคก่งเอากฎหมาย ณ ศาลหลวงมาสอบกบ ฉบบหอหลวง และฉบบขำง'ที่ (๒๒ ^ การสอบสวนเทียบเกียงได้ ความว่า ความก่องก’เนทงสามฉบบดงไค้กล่าวมา พระเก่าอยู่จึ๋งฅรสว่าผายพุทธ จกร ก็ได้ โปรดให้ ชำระพระไฅร บี่ฎกไ ว้เบ็นหก่ก เบ็นพุทธ การกธรรม กองการกุศลอนประเสริแลว และผายขางอาณาก่ก่รกฎหมายยงพ้น เพ้อนวิปริตผิดต่างก่นไปเบินอ”นมาก จึงโปรดให้มีกรรมการชำระ กฎหมายดุจได้ชำระพระไตรบิฎกให้มีหลกดุจก่นกรรมการนมีอาก่กษณ์๔ ลกขน ๓ ราชบิณฑิตย ๔ ให้ " ชำระพระราช กำห!รดบ'ห พระอายการ อันปีอย่ใน หอหดวง ด้งแต่ พระรรรมดาตร โป ให้ถูก ถ้วน ตามบาฬแล เนอความ ผิให้ผิด เหยน ขา กัน ได้ (๒๒) เมื่อยว้ใไม 1 มีการพิมพ์หนีงลือได้นีน มีธรรมเนียมให้เขียนกฎหมายขนไว้ สามฉบบ เก็บไว้ที่ศาลหสวงสำหรบใช้ในศาล ๑ เก็บไว้ในหอหลวงเบนที่รวมหนีง ลือราชการ ๑ เก็บไว้ '‘ขางที่” คือสำหรบพระเจ็าแม่นดินทรงเบคพลิกไค้เสมอ ๑ ทงสามฉบบควรจะทานถกฅองแก่ก่น แม้เมื่อมีการพิมพ์หนีงลือแล 1 วแพร 1 หลาย ก็ย่ง รกษาธรรมเนียมนีก็นอย่ฅลออมาถงฅนรชกาลที่เจ็ค บรรคาพระราชบญญฅที่ออก ใหม่เขียนควบรรจงสามฉบํบแลืวเก็บไว้ทงสามแห่งนํ้เสมอ ๓) รีด ฝบหมวดฝ,บเหล่าเข้าไว้ แล้วทรงพระอลาหทรงชำระดัดแบ่ลงชง บทอับวิ! เลา ดบ้บให้ชอบโดยยดีปีรรมไว้ ด้วยพระไทยทรงพระมหา กรรถ!าดุถ! 1 )ให้ฟบย่ระโยชน์แก่กระบัตรอับอดำรงแผ่บดีบไไ}ใบภายหบ้า ดร''บชำระแล้วให้อาอักบ01ชุบเล้บทมกลามฉบับ ไว้ห้อ!เดรองฉบับ หบง ไว้หอทลางฉบับทนง ไว้ ส! ลาบหลวงลำหร''บลุกขบฉบับหปีง บดตราพระราชสห พระคชล้ห บัวแล้ว ทุกเล่มฟบลำคัญ ถาพระ เกบม พระไกรส เชิญลมดพระราชกำหนดบทพระอายการออกมา พิภากบากิ 1 )คดีใดใด ลุกขบทั้งบ่วงไม่เห็นบดตราพระราชสห พระ คขล้ห บัวแก้ว สามดวงบไช้ อย่าให้เชื่อพงเอาฟบขาดห้เดียว ’ งานนเบื่นงานใหญ่จะเห็นได้ว่าใหญ่เพียงไรก้องดที่มหาวิทยาลโเธรรม - ศาสตร์พิมพ์ขนไว้ในสม่ยน! เบนสมุดยกแปด ๓ เล่มรวมถึง ©๖๓๗ แต่กรรมการชดนํ้ทำได้รวดเร็วเสร็จภายใน ©๑ เดือน ที หนำ เรียกกนว่ากฎหมายตราสามดวงก็เพราะบญญ้ฅว่า ตองมีตราพระราชสีห (ประจำตำแหน่งสมุหนายก) พระกชสีห (ประจำตำแหน่งสมหพระ กลาโหม) และบำแก็ว่ (ประจำตำแหน่งโกศาธิบดี) พระธรรมสาตร ก. นิทาน กฎหมายประมวลรชกาลที ๑ น มีพระธรรมสาฅรเบนหมวด แรก พระธรรมสาฅรนแบ่งเบนสองภาค คือ ๑. นิทานกบที่ท่าน เรียกในนว่า “อุ บ่'ตเห ตุ” กือที่เรามกเรียกกนทุกวนนั้ว่า “เก้ามล” แห่งบทพระธรรมสาฅร และ ๒. ก้วบทพระธรรมสาฅรเองเบนภาษา บาลี (มีภาษาไทยแปลดำเนินความ) นบ่เบนแม่บทของเรื่องและ ๓๗ เบนของศกดสิทธมิไค้อย่ในกวามรจนาของบกกลหากเบนความรู้ทิพระ มนุสาราจารย์ไปไค้มาแต่ชอบจกรวาล พระราชกำหนดกฎหมายใคนุ ที พระเจาแม่นดินสะนิยกรงศรีอยุธยาทรงบญญติขน ท่านท่าวกวามจาก แม่บทนืบท'ใดบทหนึงทํ้งั้นน ท่านไม่รบผิดชอบที่จะบญญตนอกเหนือ แม่ บทนออกไป จริงอย่ราชปุโรหิตที่ฉลาดอาจเสริมวงแห่งการบญ- ญํต ให้กวางได้มาก นุ จนแทบจะนอกเหนือเขตของแม่บท แต่ถึงกระ นนก็ยงอยู่ในครอบแห่งแม่บท อย่างน์อยก็ตามตำหน่งสือ ส่วนที พระเจำแผ่นดินทรงรบผิดชอบบ'ญญ้ติเองโดยตรงนนมีเหมือนกนแต่ไม่ น'บเบนพระธรรมสาฅร หากเรียกว่า “ราชสาฅร” ดิงจะไค้กล่าว ต่อ ไป พระธรรมสาฅรของไทยมืกาถาเกรินว่า “ยเฃจ โลกหิต 0 สตฺถํ “ภาสิตํ มนุสาเรน “ ปรมปราภต่ ทานิ “รามฌฺฌสฺส จ ภาสาย “ตสมา ต สามภาสาย ธมุมสตฺเถนติ ปากฎํ มลภาสาย อาทิโต รามฌเฌส ปติฏริตํ ทุกกาฬฺหํ ปุริเสนิห รจิสฺสนฺตํ สุนาถ เม” ความว่า “วิชา (สตถํ) อัมเกอกลแก่โ®กV ใ]รากฏชื่อว่า "ธรรม¬ กาตร'' ใมชื่ใแดิม ห ระมน'สาราวารย์กล่าวไว้ในมลกามา ต่อมาได้มาตั้งอย่ใII ๓ ๘' รามัญ!!ระเทศ แต่ฟนการยากแก่ผ้าะไช้เหราะเยึน/]านารามัญ ฉะทน ข้าหเจ้าจาได้รานาออกมาเบนอยา)//)า■ยา ขอา/หาข้าเถิด า ” ต่อไปก็นิทาน ใจความว่าเดิมมิได้มีคนในโลกนั้ อายดินหอม ขึนไปถึงพรหมโลก พวกพรหมก็เหาะลงมากินซึงพสุธารส คือสิงซึง เกิดขืนจากดิน (เช่นผลไม้) เมื่อได้เสพซึงรสของโลกนั้ก็กลายเบนมนุษ มีเพศบุรุษสตรีสืบพืชพรรณกไเต่อมา ครนมีมนุษมากขนการแตก ต่างแห่งกวามคิดย่อมทวีจนเห็นกนที่ว่ไปว่า จำจะต่อ ง หาผู้ใด สมมตขืน เบนหำหนำว่ากล่าวกน จึงได้เลือกเอามหาบรุษผู้หนึง ซึงเห็นกน ว่าสมควรขนเบ็นหำหนำเรียกว่าสมมตราช คือผ้ครองเมืองทีได้เลือก สรรก้นขืน พญาสมมตราชมีอำมาตย์ผ้ใหญ่ซึงมีบุตรชื่อก้ท่ร และ มนุสาร เฉลียวฉลาดทงสองกน คนผู้นิองนน์เกิดนอย , ใจดำยราษฎร ติเตียนในการวินิจฉว้!คดีจงหลบไปยงชอบจว้ไรวาลในานเบนฤาษี ไป เห็น บท พระธรรมสาฅรที่น”น จึงจำไว้ไค้แลำกก้บมาทูลสอนพญามหา สมมตราช แต่นนมาการปกครองน่านเมืองก็ยื่งคีขึนเพราะมีบทพระ ธรรมสาฅรคุ้มครองเบ็่นหล'กิอยู่ ขอฅํ้ง์ขํอสงเกฅในวาระนั้คำยว่า วิธีที่เกิดพืชพรรณขนก่อนมี มนษ แลำมนุษจึงค่อย")บงเกิดขืนนไม่ใช่แบบพราหมณ์ ซึ่งว่า เทพเจาสรำงโลก แต่แบบนั้เบนแบบพุทธศาสนา เราจะหาอ่านได้ ใน อกคผฌสุฅฺฅ์ ทีฆนิกาย แห่งพระสุตฺตบี่ฎก ส่วนวิธีสมมฅผ้กรอง เมีองนนเบนหลว้าสำคญของชาติที่ถือพุทธศาสนาในอาเชียอากเณย์ ไม่ ใช่แต่ไทยเท่านน และไม่เกี่ยวกบหลว้า “ประชาธิปไตย” ที่-พึ่งเกิดขํ้น ภายหล่งเรืองน ๓๙' ท่านผ้รจนาเรื่องน้ กล่าวยุติความในลำคบนว่า กล่าวทระราชห}'&าวดา ส ล}แ ดริห เระเจิามหาส}]}]ติราชแลอุป้‘ตเหตุแห่} คร/. 'ภ , .ร์หระธรรร}ลาตรโดยเ ติ? เขไ]ก็ยติแต่เห่า ขํ้ ” นระธรรมสาตร ข. ตำบท ต่อแด่นนไปท่านกล่าวถึงฅวบทพระธรรมสาดร โดยอธิบาย เบองฅนถึงลํกษณะผู้ท้จะเบี่น “กระลาการ” ว่าควรเบนผู้ปราศจาก อกติสี คือ ความลำเอียงด้วยริก ความลำเอียงคิวยเกลียด ความลำ เอียงควยกล'ว ความลำเอียงควยหลง ควรชำระความ หั}สอ}ล่ๆ}ล้าย จิตรอันเสร}อ (๒๓) ต่อไปก็กล่าวถึง เหตุแห่'}กระลาการ ๒๔ ประการ อินเบนเรื่องเทฆนิกของการชำระความโดยแท้ จะไม่ขอกล่าวถึงใน ที่นั้ซึงเราเพ่งเลงถึงประวํฅของพระธรรมสาดรมากกว่าเรื่องชำระความ ท่านแจงความต่อไปถึงอรรถคดีซึงว่ามีสองอย่าง คือ มลคดี กบ สาขคดี อย่างแรกนน์มีกฎหมายส่วน'ที่เบนหนาาที่โดยฅรงของสู้1 ?กากนา กระลาการ อินมี ๑๐ ประการ กบ มีมลคดีวิวาท คือ เหตุที่}ะ! คั? (๒๓) น่าส่งเกฅว่า กำว่า “กระลาการ , 'น่ ในเวลาก่อมาท่านเปลี่ยนใช้ว่า “คระลาการ ,, แลำกลายไปอีกเบน “ตุลาการ ’ ความจริงกำว่า “กระลาการ , ’ น้จะ ว่าสะกดผิคก็ไม่ใช่ เพราะโบราณท่านใช้ “กระลา' , สำหริบส่งเวียน เช่นในพระ ธรรมสาครน้เองแห่งหนึ่งก็ว่า “ กรนบจฉิมยามเสคจึ , เขาทพระกรลาบ่นทมบรมศฃ ไสยาศน์โคยกวรแก่เวลา ,, ซงหมายถึงการเสก็จเข่าที่พระบ่นทม ฉะนึ่นกระลาการ ก็อาจหมายกวามถึงผู้ปฏิบ่คการในส่งเวียนชำระกวามก็ได้ ส่วนคระลาการน 1 นไม่ได้ กวาม กงเกิดจากไทยเราปน กร กลา ก่บ ฅรกลา บ่อยๆ เช่นคราบกิ'บกราบ ๆลๆ ส่วนคลาการนนกงเกิคแก่เห็นก่นว'าฅระลาการไม่ได้กวาม จึงคิดได้ง่าย ๆ ว่า คลาการ ซึ่งได้กวามกว่า ว่าผ้ใช่ดุลยพินิจ ๔ ๐ เกิดความทังปวง ได้แก่เรื่องที่เกิดมาจากกู่ความอนมี ๒๙ ประการ มลกดีนเบนกฎหมายแบบฉบบนบเบ็่นภาษิตโคยตรงของพระมนุสารา จารยทีได้ญาณวิเศษมาจากขอบจกรวาลนนเบ็๋นท่านอง Iภร!ว!1-6๘ 1.ะ1^ ต่างกนกบอรรถคดีอย่างหลงที่เรียกว่า สาขคดีอ้นเบ็ 1 นราชสาฅร หมาย ถึง หระราชกำหบฏบทหระอายการ แลพระราชยัญหญตชี่งวัดเบบหระราช ลาตรทังปาง" ท่านกล่าวถึงที่มาแห่งราชสาฅรนั้ในกาถาบาลีว่า “ โปราณราเชน น'รินเทรามา— “ธิปฅฺติเยนาธิปรกกเมน “เบาณานสาเรนบี่ ธมฺมสตฺถํ “มาตุราภิเธยฺเยน ปติฏวิตา เต” อาจารย์กฎหมายไทยแปลความนไว้ว่า '‘อับบรา[บราชกระยัตร . . .ปีบญญากินิหารลมภารบารมเปบอธิบด ประชากร . ปีความปราถบางะให้ฟบหิตาบหิต ประ โยชบ์ยัว ทวย ราบฏรํ'ทังปวง . ทรงพระอุลาหพิงารณาคำปีงด'!มคำภีร์หระรรรม ลาตร . แล้วปีพระราชยัญหญึตดัดแปลงตกแต่งตั้งเปบหระราชกำ หบดบทพระอายการไว้โดยมาตราเปบอับมาก ทกทกลำดับกระยัตร มาตราบเท้าทุกวับบ” ขอที่งํ้ขํอสิงเกตอีกว่า ทีท่านแปลไว้น ท่านขามความสำกญทางประ ว่ฅศาสตร์ไปเลียขอหนึง ซึงท่านคงเห็นว่าเบ็่นบญหาที่แก้ไม่ออกจึ่ง เลยไปเลีย เพราะ ถึง อย่างไรก็ไม่มีนาหนกอนใคในทางนิติศาสตร์
  • (รี! 0 ความทีท่านขามไปนั้ได้ขีคเล้นใต้ไว้ในคาถาช่างบนนแล้ว เนคาถาน ท่านไม่ไค้ว่า “ บูราณราชกษํฅร . 1 .. ทุกทุกลำคบมาตราบเท่าทุกวน น” แค่ท่านว่า (ขอเขียนรกษาฅวสกดให้เช่ารปกบที่ท่านแปลไว้ว่า) “บูราณราชกระษฅร ทรงพระนามว่า พระเจ่ารามาธิบคี มีบุญญาภิ นิหารฯลฯ” ค่างหาก แต่มีขอลำบากอยู่'ที่เราไม่รู้'ว่าพระรามาธิบคี พระองค์ใด ในกรุงศรีอยธยา พระรามาธิบคีพระเจ้าอู่ทองผ้สห้างกรุง ก็ทรงผกใผ็ในการออกกฎหมายอยู่ และยงมีเบ็๋นพระรามาธิบคีที่สอง (พ.ศ. ๒๐๓๔-๒๐๗๒) ซึ่งก็สนพระราชหฤท่ยในทางนอยู่เหมือนกน ท่าเราวินิจฉํยได้ว่าเบนพระองค์ใดแน่เราจะได้รู้อายุชองพระธรรมสาฅร ส่วนที่'ว่าด้วยราชสาตร นอกจากสองพระองค์นย้งอาจมีพระรามาธิบดี นอกประเทศไทยอีกบาง เช่น พระเท่าธรรมเจดีย์แห่งราม่ญประเทศ (พ.ศ. ๒๐๐๓-๒๐๓๔) เพราะในทางกฎหมายมอญกับไทยเกี่ยว ของกนอย และพระเห้าธรรมเจดีย์พระองค์นนอกจากทรงสนพร ข ราชหฤท่ยในทางนีดิศาสตร์อยู่แล้ว พระองค์เคียวทีประกัดศาสตร์บนทึกไว้ว่า ทรงพระนามว่ารามาธิบคี ยิงไค้เบนพระเจ้าแผ่นดินรามญ สนนิษฐานเคามูล ยงมีอีกบญหาหนึง ซึงขำพเจ้าฅงใจสงวนไว้กล่าวในทำยแห่ง ตอนที่ว่าดวยพระธรรมสาตรน เพี่อมิให้เช่าไปสไ]สนอยู่กลางเรื่อง ค'งได้ยกคาถาพระธรรมสาตรมาลงไว้ช่างตนแล้วเบ็!นใจความว่า พระ ธรรมสาฅรนท่านว่าพระมนุสาราจารย์รจนาไว้แค่เดิมเบ็่น “มลภา ะ ไ 1 น่ กัย์ ษา” แล้วได้มาตงอยู่ในรามญ ประเทศไทยเราคงจะได้เกยใช้ฉบบ รามญนเหมอนกน จงมกวามกลาววา บุรุษผใชกฎหมายลาบากควย กฎหมายเบนภาษารามญ ท่านผู้รจนาคอนนั้จึ่งไค้แปลไว้เบนสยาม ภาษา เบนอนว่ากาถานเขียนขนในเมืองไทยเบนภาษาบาลี ทีนีว่าถึงกฎหมายของรามญ ประวฅิศาสตร์กล่าวว่าในรามรุ

    ประเทศ มะกะโทชึนเบนพระมหากษ'กริย์โกยความริบรองของพระเจำ รามกำแหงกรุงสุโขท*ย ผ้เบี่นพระราชบิดาของพระชายาของมะกะโท ตงราชธานีที่เมืองเมาะตะมะ ได้ให้ออกกฎหมายชื่อว่ามนุธมมสฅฺถ หรือธรรมสาฅรฃองพระเจาวะการ ขำงไทยเราเรียกพระราชาพระองค์

    I 2^ 91 แ!/ ๘ ๘ I 0 1 ๗! 0 ๘) นวา นนเอง พระเจาพาร'วก็กงเบนกำเคียวกนกไ] วะการุ หรือ วะเรรุ แก่มนุธมฺมสฅฺถของพระเจาวะเรรุนี ก่อมาน์กนีฅิศาสฅร์ รามรุชื่อพุทธโฆษาจารย์ (๒๕) ไค้แปลออกเบนภาษาบาลีเมือประมาณ ศตวรรษที่ ๒0-๒๑ แห่งพุทธศกราช เรียกชื่อว่า มนุสาร คมภีร มนสารนคอกกระมรุทิ'เบนฅนฉบบ และถรุเช่นนํนแล้วกฎหมายรามญ นํ้ก็ไม่ก่อนสมยพระเจ'าอ่ทองรามาธิบคี มาน วธรรม สา ตร ไม่ใช่ มุลา เองกฎ หมา ชรา ทญหรฮไทย เมือไค้พิจารณากนมาถึงเพียงนั้ ก็น่าจะมีผ้อยากรู้ว่า เมื่อไทย เราไค้กฎหมายพระธรรมสาครมาจากมอญแล้ว มอญได้ของเขามาจาก (๒๔) อาจารย์พุทธโฆษชาวราม ญผู้น้ เราฅองไม่เอาไปปนลันลับพระพทธโฆษ เถร ที่ไปข์ากชมพทวีปสู่ลังกาประเทศ และไค้แปลพระไครบี่ฎกภาษาลังกานนกลับเบน ภาษาบาลีในส งกายนาที่นบ เบนลำ คบที่หก คามก มภีร์ มหาวงส ของ ลังกา ซึ่ง ไทย เรา นบ ถือคามนยว้าท่านชานลงในใบลานไว้แค่ พ.ศ. ๙๕๕ ที่ลังกา ๔ ๓ ฅอมาพทธ ซึงกงจะเบน ใหน ในคาถาเบึองต่นแห่งพระธรรมสาครของไทยว่ามอญได้มาจาก 'มูลภาษา” อาจารย์ไทยทิได้เกยถามท่านอธิบายว่า “มูลภาษา” ก็ คือมคธ (คือบาลีนนเอง) แต่ประวทีกฎหมายมอญแม้พุดถึงกฎหมาย ปรไ)ปราในชมพุทวีป แต่ก็ไม่ได้ว่าเบ็๋นภาษาอะไร มากล่าวเอาตอน หลง'ว่า พระเจ้าพารวตรสให้เขียนกฎหมายขนเบี!นภาษามอญอนได้ชือ ต่อมาว่า ธมฺมสตถ ของพระเจ้าพาร”ว หรือวะเรรุ โฆษาจารย์ (มอญ) จึ่งได้แปลออกเบี่นภาษาบาลี ฉบบที่ไทยเราได้มาเบน “พระธรรมสาคร”น (แต่ลำคบภาษาสบ กน คือ จากมูลภาษาเบนมอญ ) อย่างไรก็คี ทงจ้มภีร์โบราณทง ความเข่า ใจของ นกินีติ ศาสตร์ที่ สนใจในประ วติโบราณ ของ กฎหมาย ความเห็นนิอมไปใน ทางทีจะสงสโ)ว่า เกามลชนเดิมคงจะมาจาก อินเดีย และในอินเดียเรารู้อยู่ว่ามีคมภีร์ “มานวธรรมศาสตร์” ซึงถือจ้นว่า เบนวาทะของพระมนหรืออาจารย์ใค พุ ทีเรียบเรียงขนตามเคาของพระ มน ฉะนนจะขอพิจารณาตำนานกฎหมายอินเดียโบราณแต่โดยย่อที่ สดในลำคบน แจ้วจะได้เทียบคูกบของไทยเพื่อหาทางคนกจ้ามลเาน กฎหมายในอินเดียเรืมตนมาแต่ปรมปราไกลลิบ แม้นกิจ้น คจ้าทางประวํทีศาสตร์ก็เกยถกเถียงกนมามาก เดิมที่จะจ้นคจ้ากน นน เจ้อร์ วิลเลียม โจนส์ ได้ความจากการอนุมานว่ากฎหมายที่ได้ชื่อ ว่า “มานวธรรมศาสตร์” นนน่าจะมีมาแจ้วแต่ศตวรรษที ๙ ก่อน พทธศกราช (ประมาณ ๓๓๐๐ บมาแลว) นกกนกจ้าต่อพุ มาเห็นว่า ไกลเกินไปไม่มีหลก^านสนบสนุนพอเพียง ในที่สุดยุติลง (เมื่อจ้ก๒๐ บี!ก'ว'า พุ มานํ้) ว่า คมภีร์นํ้อาจเกิดขนในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๕ ถึงที ๙ (ประมาณ ๒000 ถึง ๑๖00 บื่มาแล้ว) อย่างไรก็ดี ล้มภีร์นไม่ใช่ล้มภีร์แรกของกฎหมายอินเดียโบราณ คงจะไค้เขียนจาก “สตร์” (หำขอล้น' 7 เสำหรบจำไค้ง่าย เพราะสมไเโบราณไม่มีหนง ลือ) ทีโลกรุ้จำทำถีงว่าเบ็นกมภีร์กฎหมายแบบฉบิบุ ฉะนนนกปราชญํจิง ไค้สงล้ยว่าจะไค้เบ็๋นเล้ามลแห่งกฎหมายที่มายำเมืองไทยผ่านมอญ แต่ “มานวธรรมศาสตร์” น็เบนล้มภีร์พราหมณ ล้กษณะ ของเรื่องต่างล้นกบ“พระธรรมศาสตร์” ของไทยในขอสำคญอยู่ไม่นอย เช่นกล่าวถึง“อบิตเหตุ”ของโลกและมนษว่า พระมนเล่าว่า ในชน ล้นโลกนั้มือยู่ในความมืดมนดุจหล้บสนิธ ไม่มีใครเห็น ไม่มืล้กษณะ ใด 'ๆ หมด จึ่งพระศยมภูซึงก็ไม่มืใครเห็นไค้เหมือนล้นไค้ ทำ ให้ความ มืดมนนนอนฅรธาน โลกมีรูปร่างขั้นแล้วสล้างอาโปธาตุขั้นจากภาย ในพระองค์ และบนดาลให้มีพืชขั้นในนานน พืชนนได้เจริญขั้นเบน ไข่ทอง (ไหมาณฺฑ) “อ , นโอภาสคำยล้ศมีดุจแสงอาทิตย์” จากไข่นน พระศยมภซึ่งปราศจากรูปแต่เดิมก็ไค้อุบิฅิขนเบ็่นพระพรหมาผู้พ็๋นโลก บิดรให้กำเนิดแก่ปวงมนุษต่อมบิ ๒๖ ' ส่วน “พระธรรมสาฅร” ของไทยที่ได้มาจากมอญนนกล่าวถึง กำเนิดโลกค่างกน ของเราช่ำจะเกือบมืกวามล้องกนกไ]วิทยาศาสตร์ (๒๕) 1\/[อิ10นิเ01ไ1ใ611 : 111(11๙3 ?นิ131:, 0x^๐1*01 11ณ่ห61* 311:7 1927. หนา ๑๖๓ (๒๖) 8(11ไ161ำ 0601*2: ไาไ6 03\^3 01* IV[ล.!!ฆเ (83.01*6(1 ธออเนิร อ! 11ใ0 ธ33เ: XXV 1 0131*611(1011 ?1*63ร, 0x^๐1*01, 1886. หน้า ๓- ๕ ๔๕ บทบน แต่กวามจริงดงได้กล่าวมาแล่วของเรามาจากอินเดียเหมือน ก้น แต่เบนนิทานแบบพทธศาสนา ยินมีที่มาในพระไตรบี่ฎก เรือง ราวแบบพุทธนั้เก่าแก่ ทีฆนิกายแห่งพระไตรบิ!ฎกนี่อาจารยริสเดวิดส อนุมานว่า จะมีอายราวก่อนรํชสมเยพระเจาอโศกแห่งมคธรุ้ฐ ฉะนน ก็ก่อน “มานวธรรมศาสตร์” ฉบบนั้ รวมใจความว่า กวามติดต่อระหว่างกฎหมายไทยก’บกฎหมาย อินเดียโบราณโดยตรงน 8 นไม่มีแน่ เห ฅที่ ทำให้เราสงสไ)ว่ามีนนก็คง เบ็๋นต่วยชื่อ ตำราข้างไทยว่ามีพระมนสารดาบศเหาะไปได้พระธรรม¬ ลาตรมาแต่ขอบจิกรวาล ชวนให้เราเอาไปโยงกนกบพระมนุ (หรือ มน) ที่ว่ากนว่าเบื่นเข้าของตำรากฎหมายอินเดียโบราณ แต่ของเรา มี “สาร” ต่อทายชื่อซึงข้าพเจาข้องใจมานานแลว แต่ไม่ปรากฏว่าท่าน ผ้ร้ไม่ว่าไทยหรือเทศได้เคยเอาใจใส่พิจารณา ต่อมาข้าพเข้าได้อ่าน ประ'ข้ตกฎหมายมอญดง่ได้กล่าวมาแล่วิข้างตน ซึงว่า ฯ พุทธโฆษา จารย์ (มอญ)แปลกฎหมายเก่าของมอญจากภาษานนเบนบาลี และให้ ชื่อคมภีร์นี่'ว่า “มนุสาร” จึงไค้ความกิคขํ้นมาว่าย'งจะมีทางเข้าใจ ความไค้อีกทางหนึง คือ สำนวนทีว่า “มนุสาราจารย์”นนแทนที่จะ แปลว่าพระอาจารย์ชื่อมนุสาร (กรรมธารยสมาส) เราอาจแปลไค้อีก ว่า พระอาจารย์แห่ง (คือทีเขียน) มนุสาร (ต่ฅปุรุษสมาส) ก็เบื่น ไวยากรณ์ที่ถกต่องไค้เหมือนกน ฉะนนอาจารย์ที่เขียนต่นฉบบของ พระธรรมสาตรของเราเบ็่นบาลีนํ้ ก็ , ใช่ยืนไกล คืออาจารย์พุทธโฆษนี่ เอง ถาเข้าใจไค้ด’งนนประวติแห่งกฎหมายไทยก็ง่ายขนอีกมากสำหรบ ที่จะเข้าใจให้ถูกเรื่องเสียแต่ยํงสบสนกนเรื่องลำด’บของภาษาซึ่งอาจเล่า (รี! ผิดได้กระก่งท่งนยกเวนคาถาบาลีส่วนที่เกี่ยวก่บราชสาฅร ซึงเห็น ได้ว่าใหม่กว่า I ราชสาตรในรชกาลท ๑ เมื่อได้กล่าวแซงกวามนอกเรื่องมานานแลว ขอยอนเขาหา เรืองใหม่ นอกจากพระธรรมสาฅรแลว กฎหมายอื่น "I ก็ไม่จำตอง พิจารณา , ในที่น เพราะเย็นเรื่องเทฆ'แคของนีดิศาสตร์ซึงไม่ได้ตงใจ จะพดถึง เพราะไม่ได้เกี่ยวกบเรื่องของขาพเจำ ท 1 งจำพเจำก็มิได้ จะขอกลาว นํ้ วด ^ ข ตงใจจะเขียนในแงนทีศาสตร์ซึ่งจำพเจำไม่มีความรู้เลย ถึงแต่ ใน แง่ ประวํติศาสตร์ว่า ท่านรวบรวมเอากฎหมายกรงกรงศรี อยุธยาไว้ได้พอใช้ และยิงได้ไปเย็น แบบแผน สำหรบประเทศอื่น ' ๒๗ ^ ซึ่งแบ่งหมวดหมู่กฎหมายของเขาไว้เหมือนก่นกบของรํชกาลที่ ส ส่วนกฎหมายทีเกิดขนในรชํกาลนที่เอาเจำต่อท่ายกฎหมายเก่าตามหม หม่ แต่มืพระราชปรารภแสดงเวลาทีเกิดขนก็มี เช่นที่บ'ญญตการ หย่าราง ๆลๆ เพมเติมเขาไว้ใน “ พระอายการสว้าษณะผวเมีย ”( ๒๘ ) ในย็เดือนเดียวก่นกบที่ชำระกฎหมายกราวใหญ่น 1 น ส่วนมากของ กฎหมายที่เกิดขืนในรชกาลที ๑ ท่านแยกไว้ต่างหาก เรียกว่าพระราช บญญ่ตก็มื กฎหมายพระสงฆ์ก็มื พระราชกำหนด (ใหม่) ก็มื วะพิง สํงเกตได้ว่าย็ใคที่มืงานพระราชสงครามม่กมืกฎหมายเกิดขนนอยกว่าบ ที่ว่าง ศกราชเดิมท่านใช้จุลศกราชเสมอ แต่เพื่อกวามสะดวกของเรา (๒๗) บ60 161-0 : บ 6ร 0ฟ08 031ท!ว801ฐ1011ร, 2 100163, ธ. บ 60011ท, ?31‘1ร,
  • 1ว1ว. 1-19 (๒๘) ประมวลกฎหมายร , ชกาลที่ ๑ มหาวิทยาล่ยธรรมศาสคร์ เล่ม ๒ หนา ๓๙ ๙'๗ ด้คำนวณเบน'พุทธศกราชทกแห่ง ทีว่าพระราชกำหนดนํนเป่นจำ พวกพระราชกำหนดใหม่ทงนน พระราชกำหนด'ก่าเบ่นของสมยอยุธยา ต่อไปนีจะได้ยกตวอย่างของลำดบกฎหมายทีเกิดขึนในรชกาลที ๑ เพียง 0 ^ 0)1 สกสามบี ขาล ๒๓๒๕ เสวยราชยํ พระราชกำหนด ขอ ๑ วางระเบียบจกช่องลํอมวง พระราชกำหนด ช่อ ๒ หำมขำราชการมิ , ให้กินเหลำเล่นเบย พระราชกำหนด ช่อ ๓ วางโทษ “เพื่อนโจร” และ นกรบาลที่เกลื่อนโทษโจร ให้เท่า กบโจร พระราชกำหนด ช่อ ๓๓ ให้ข่าราชการตั้งอยู่'ในกุศลกรรมบถ ©๐ ประการ พระราชกำหนด ช่อ ๓๔ ท่าโปรดเกลำ ๆ พระราชทานทรพย์ แก่ผู้ใด ผู้นนลำงรบสํงไปรบเอง ไม่ได้ ลํองมีผู้รํบผิดชอบรบส่ง'ไป แจง แก่กลงให้จ่าย พระราชกำหนด ข่อ ๓๕ ยอมให้บำรุง ศาล เทพารกษ แฅ่พอ ควร แต่รูปลึงคให้เก็บเผาเสีย ให้หมด พระราชกำหนด ข่อ ๓๗ โทษทีผู้ทำช้แก่กนจะพึงได้ร' บทงั้-

    สองผาย ๘ ๘ กฏหมายพระสงฆ์ ข้อ ๑ บรรยายอานิสงสการพ้งธรรม และ หำมเทศน์ฅลกกนอง เถาะ ๒, ท ๒๖ พระราชกำหนดข้อ ๔ กำหนดโทษโจทจำเลยในคดี เรื่องไพร่เข้าเวรทำราชการ กฏหมายพระสงฆ์ ข้อ ๒ หำม พระ มิให้ริบ ฝากสมบํฅิของ ? 9 9 9 ๓ ฆราวาส

    ห้พระมีหน์งสือประจำฅว 5 9 ๔ ให้พระราชา คณะ อธิการทำ บโบชี หางว่าว พระใน หํงคํบบญชา ส่งผ้มี หน'!ทีปกกรอง ๕ วางโทษอุกฤษฐ์แก่ผู้ปกบี่คกดีทีฅน เบนปาราชิกแส่ว 9 9 9 9 (ะ 0 ๖ หำมพระมิให้หากินจุกจกกบฆราวาส ๗ หำมพระมิให้นำข้ออนสงฆวิวาทกน ดวยกิจพระวิน”ยมาถวายพระพรข้าม หนำพระส่งฆราช มโรง ๒๓๒๗ พระราชกำหนดข้อ ๕ วิธีใช้งานแทนเงินที่กางแก่ไพร่ ,, ๖ ข้าใกรมีทกข์จะร่อง 1 /เอง ย”งโรงศาล ให้มาให้การควยปาก หำมทำหนง สือพ้อง เพราะเบน โอกาส ให้ หมอ ความทุจริตเสยมสอน แต่งสำนวน เท็จ ๔๙ ? -) 1 ? 1 5 ร 1 พระราชบญญ'ติ ๗ เพี่มโทษแก่ “พยานอาษา” ๘ หำมการใช้เงินปลอม และวาง ระเบียบใช้ เงินทดแทน แก่ ผุ ไม่ ผิด ในเรื่องน ๙ หำมการพ้อง รอง เรื่องทรพย์ มรดก ขามศาลขนมาถึงพระองค ๓๘ เกณ'ทที่'จะเลือก คนถวายตวเบีน มหาดเล็กขอเผาชาวที่ ๓๙ หำมมิให้เอากนที่ขายไว้แห่งหนึง แลวไปขายอีกแห่งหนึ่งเล่า ขอ ๒๒ ออกเมื่อบีฉลู วน ๒ๆ๗ ก่า ก่อน ศึกพม่าเกิดขั้นใหม่ไม่กี่เดือน ทรง พระราชปรารภทาสชเลยว่า ข่าราช การที่ไปงานพระราชสงคราม ไค้ ชายหญิงข่าศึก มาเบีนทาสเชลย ขาดสิทธิทงปวง บางรายนายนนก็ เลั้ยงดต่ว้ยเมตตา ถึงให้บวชเรียน ดุจลุกหลานของตนแต่ที่ร่าย ฯ ก็มี ซึ่งจะไถ่ค่าฅวก็ไม่ได้เพราะเบีนทาส ชเลย ซึงถือว่าเบนข่าศึกไม่มีทาง ปรานี ทรงพระราชดำริว่า ความ 1 0 จริงกน,เหล่าน้ ก็มา เบนขา แผ่นดิน (หมายความว่าเบนคนไทย) แลว กรนจะให้ไถ่ค่าตำได้ผู้ไปการณรงค สงครามซึงเป็นนายก็ได้เหนือย ยาก ได้ชเลยนั้มาก็โดยสุจริต ทงทาสที อกฅํญ่ฌ ก็มิใช่ว่าไม่มี ทีจะให้ ไถ่ค่า ตำได้เหมือนลกทาสลูกกรอกนนหา ควรไม่ จึ่งทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ล่งว่าต่อไปช่างหน้าถาทาส นน , ''เได้ถูกขายต่อไปยงนายอืนแล้ว ก็ให้ไถ่ค่าตำได้ และน้ามามีลกขน ระหว่าง เป็น ทาสก็ให้ คิดค่า ตำมน สิ่ล!/ I 0^ 0^ ตามกะเสียนอายุบทพระไอยการเดิม มิให้คิดเอาสองเท่าต่ง้ทื่ทำกนอยู่ใน เวลานน ท่งนั้ย่อมเป็นข่อผ่อนผ่น, สำกโบอนห'แงในทางล่งคม กฎหมาย เหล่านั้บาง ข่อแสดงสถานการณ์บ้านเมืองให้เราเห็นใด้ว่าเป็น อย่างไร ยกตำอย่างเช่นในบมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๒๘ เกิดศึกใหญ่ กบพม่าในเดือน ©๒ มีพระราชกำหนดฉบไเหนึงลงวน ๒ๆ®© คา ๖ กล่าวว่า ( © ขนVทำเปียม!]ราณราชปรเพณส่าหล้นแผ่นดินสนมาแต่ก่อน ผาย สมณพราหมณาจารยไพร่พาปรชากรกังปวง แต่ล้นดาอยในแว่นแควน แผ่นดิน . แสตงถนถานล้านเรือนอย่ได้ก็เพราะพระราชกทูนฏาเดชาน ผาพพระนารมื สมเดจผาะมหา กระล้ตราริราชเจ้า เสดจผ่านท.ภพ บองกัน อรินราขข้าดิก ชงจะมากระทำวินตเปียดเปียนยายีให้เบนกันรายมิได้ แล้ว ก็ฝนที่ถติการตงมนาระหหรสากนา ผายสมณพราหมณาจารได้ ปาเพญสาฅนพรหมจรรย์ล้คพรหมจรรย ผายรานฎรก็ได้ตั้งล้านเรือนฝน ศข...แสชงทรงพระกรรณาให้ถาปะนาช่างพระนครคล้งนี ก็ฝนสำหรัน ราชใ]รเวนกระกัดราริราชเล้าแผ่นดินสืบมาแต่ก่อน แสผายเสกไพร่ หลวงสมกำล้ง ข้าทูสออง 7 แสหญิงข้าหสวงกังปวงกำราชการทกล้นน ใช่ จะใช้สอยตรากตรำให้ทำการไปรวดเดิยวหามิได้ก็ย่อมทรงพระมหา กรรณาโปรดให้เข้าล้นราชการแต่เดือนหนีง ลดผ่อนให้ออกกำมาหากิน กงสองเดือนเปนสามผล้ด ฉนีก็เหนได้ผาคุกกว่าแผ่นดินแต่ก่อนนนอก ล้าผู้ชงมนญา....ก็สัจชอ....มความวิริยะอนาหะ เอาใจใส่กำราช การ....โดยยงยืนมิได้หลนหนี แต่ช่งเก็ยจคล้าน....ย่อมหลนหนีไป แอนแผ่งอยด้วยเล้าเมืองกรมการณกัวเมืองล้าง เที่ยวหลบหลกขนส่องเข้า ออกไปมาล้าขายกำมาหากินโดยอิจฉารมณของตัวก็มืล้าง ขาดราชการ พนักงานโป ผายมนนายเล้าหมนายหมวดต้องทดรองล้างผคนกำ ราชการ แทน . . . .คล้นจะไม่เอาโทนตามพระราชอนาล้กรล้างเสยก็จะมืนาใจกำเริบ . . .ภากันหลนหนีไปเนือง ๆ ราชการแผ่นดินจะเสยไป.. .” (๒ เรืองราวทีเกิดขึนครงนึ่น่า จะเบ็!นดวยเลขหลบหนี การพระราชสงคราม ซึงกำส่งจะมีขึน และพึง สาเก ตควยว่าในบื่นึ่มีกฎหมายออกนอย เต็มที เขาใจว่าเพราะติดงานพระราชสงครามอีก ฅามที่ได้ยกบางตอนของ กฎหมายมาไว้ในทีนี จะเห็นไค้ว่าเราอาจศึกษาประวฅศาสตรโดย เฉพาะในแง 1 ส่งคมศาสตร์ได้โดยนยนึ่เบนอนมาก นอกจากการชำระกฎหมายกรงใหญ่นีก็ปรากฏว่า บางคราวก็ไค้มีการขอให้กนเก่า “ให้การ” เรื่องเก่า จต่าง"Iเช่นที มีหนํงสือ “คำให้การขุนโขลน” ซึ่งกงจะเบ็่นกรมการผู้หนึ่งของพระ พุทธบาท อไแบนเมืองจตวาเล็ก พุ แห่งหนีงอ่านแล‘วไค้กวามรู้ทาง ภูมิศาสตร์ และ ขนบธรรมเนียมประเพณี ของทีองที่เล็ก นนเบ็่นอ* , นมาก เสียคายที่ไม่ปรากฏว่ามีคำให้การชนิดนึ่สำหรบทีองที่อื่น พุ อีก ๒๙ '’ บางกรง I
  • (๔) ทรงฟ่นฟูสิลปสาสตร์โดยเฉพาะอกษรสาสตร์ ส่วนใหญ่อนหนึ่งของการพ่นฟวํฌนธรรมในร"ชกาลที่ ๑ ได้แก่ ติลปศาสตร์โดยเฉพาะอํก่ษรศาสตร์ ซึงพระเจาแผ่นดินทรงนำเอง ควยทรงพระราชนิพนธ์ทีาง มีพระราชดำรสส่ง , ให้ผู้ร้ , ทำบาง และยง มีกวีและผ้ร้บางท่าน คิดทำขน เองบาง โดยเอกเทศ ได้ลองรวบรวมราย ความปรากฏว่ามีการเขียนเรื่องต่าง พุ อย่ฅลอด ร ช'กาล (๒๙) กำให้การ ขน โขลน พิมพ์ในประชุมพงศาวดารภากที่ ๗ โรงพิมพ์โสภณ พ้พรรฒนากร ๒๔๖๑ หนา ๔๙ การเท่าท้จะหาไค้ (I) จะจบกล่าวแต่เฉพาะพระราชนิพนธ์ก่อน อ"นทีจริงแม่ท'พ่ที สามารถก็ดี น'กปกครองที่สามารถก็คี ไม่จำเบนจะน้องเบนศิลบี่น หรือกวีหรือนกแต่ง-หนงสือ แต่พระบาทสมเด็จพระพทธยอดพ้า ๆ ทรงสนพระราชหฤทโ]ในอกิษรศาสตร์ดวย แม้จะมิไค้ทรงเบ็่นกวีเอก ก็ทรงแต่งกลอนไค้ยาว "I และที่สำคํญที่สุดน 1 นอยู่ที่ทรงสามารถจะบน ดาลให้เกิดมีอกิษรศาสตร์ชนใหญ่ ทุ ตี ‘สุ ขนใหม่ไค้แพร่หลาย จงไค้ กล่าวในเบองตนหนงสือเล่มนว่าในเมืองไทยเรานนวฌนธรรมย่อมแวด ลอมพระองค์พระมหากษตริย์น้าพระองค์สนพระราชหฤทโ]ในทางน้น การที่พระเจาแผ่นดินทรงพระราชนิพนธ์น 5 น ผู้ศึกษาบางคน มกเข้าใจว่า พระองค์ทรงมีหนำที่ราชการมากมายทุกดาน ไฉนจะ ทรงมีเวลามาแต่งหนงสือได้ ความเข้าใจอย่างนไม่แต่มีในเมืองเรา หากในต่างประเทศก็มีอยู่เบนอน้มากในสงเวียนปราชญ์ เพราะปราชญ์ เหล่านนถนคแต่จะนงเขียนควยตนเอง เช่นพระเข้าหรรษวรรธนะ ที่ไค้สมญาว่า ศรีวิกรมาทิฅย์แห่งอินเดียทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรม ไว้หลายเรื่อง บางเรื่องเช่นบทนาฏิกาทีชื่อ “รตนาวลึ” มีชื่อเสียง และคนนิยมแพร่หลายมากน์กิปราชญ์ฝร่ง้ก็ สงส'ยกนิ'ว่า จะเบน’ผี่ปากกน อื่นกระมง เพราะท่านเบนเข้าแผ่นดิน ที่ไหนจะแต่งหนงสือไค้อย่าง นน แต่เรามกลืมเสียว่าพระเข้าแผ่นดินก็ทรงเบ็ 1 นมนุษย์ผู้หนึง และ มนษย์ทุกคนใช่ว่าจะมีอาชีพแต่ในทางที่ทนชอบหรือถนดเสมอไป ข้า ราชการที่สามารถในหน้าที่ปกครอง หรือพ่อน้าทีทำการสำเร็จดีแต่ ชอบเขียนชอบแต่งก็มีถมเถไปนํนใท พระเจาแผ่นดินก็ดุจกนแม้ใน ๕ ๔ เมืองฝรั๋งเองก็มี การแต่งหน์ง์ลือแลวเอาไปช่วยกนตกแต่งแตมเติม ในสิงเวียนคนทีมีอธยาศไวรรณคดีดวยกนเบนวิธีธรรมดา แม้แต่มหา กวีเชกสเบียร์ก็ ปรากฏว่า บทละคอน พดของท่าน มีบางแห่ง ทีแสดงสำ นวนของเบคอนที่ชอบพอ และ “คอเดียวกน” ซึงข่าพเจาไม่สงสย เลยว่าอาจจะ ไค้ช่วยฅิทํก และเชกสเบียร์คงริบเอาไปรวมไว้ในเรือง ของเขาไค้โดยมิไค้นึกว่าเบนการปลอมแปลง’ผปากแตอย่างใด ฉะนน การที่พระเจาแผ่นดินจะทรงทำเยี่ยงสหายสิงเวียนอื่น "I ทำกน ทำไม จึงจะไม่เย้นไปไค้เล่า ? อย่างไรก็คี น่าจะเข่าใจไค้ว่าพระราชนิพนธ์ที่ทรงเองก็มี แต่ ก็ทรงปรึกษาหารือ “อ่านพงกน” ในสิงเวียนพระสหายและผู้ร่วม พระราชหฤทไ)ในการเขียนการแต่ง นี่ว่าถึงเฉพาะสมเด็จพระพุทธ- ยอดพา ฯ เพราะที่ท่านทรงจริง "I จนฅลอดเช่นพระบาทสมเด็จพระเข่า อย่ห่วิริชกาลที่สี่ ที่หำ ที่หก ก็มีเหมือนกิน แม้ในสี่พร ะองค์นี่ บาง พระองค์ เช่น ริชกาลทีหกทรงเขียนเองเย้นอไเมากแล่วออกพิมพ์เลย ก็มื แต่ก็ย่งมีบางโอกาสทีท่านทรงเขียนแลวทรง “ น่ามาอ่านพง กน ” และแก้ไข ทระราชนิหนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพ์า ๆ ทรงพระราชนิพนธ์กลอน ไว้มาก ผพระโอษฐ์นบว่าปานกลาง แต่พระราชนิพนธ์ “รามเกียรด” นนสำต่ญมาก เพราะเย้นการธ์กษาความไว้ตลอดเรื่องอไเยืดยาว ใน เมื่อนิทานคงจะได้กระจด กระจายหายสูญไปใน คราวกรุงแตกเสีย จนไม่ ๙๕ ต่อติดกนได้ เรื่องพระรามนํ้แม้จะเบ็๋นนิทานที่มาจากต่างประเทศใน 2 - , 1 1 ชนเดิมกจริง แต่ไค้จไ]ใจคนไทยดุจดึงได้จบใจชาติอื่น ‘ๆ ในอาเชีย อาคเนย์มาเสียมาก จนเช่าเจืออย่ในศิลปทุกแขนงไม่ว่าจิตรกรรมปฏิมา กรรมสกาบตยกรรมหรือวรรณกรรม จะเดินทางไปในเมืองไทยแห่ง ใดเราจะเห็นได้เสมอว่าเรื่องพระรามนใคร ทุ ก็ร้จ้กนิยมกินหมด วิธี ทรงคำเนินเรื่องเบนลํกษณะบทละคอนรือง มีหนำพาทย์ สำหริบรอง ตลอดแต่ไม่ปรากฏว่าไค้เคยเล่นฅลอคเรื่องในโอกาสใด ทุ เลย ถอย กำทีทรงใช้ก็พดตรง ทุ เบนสำนวนทหาร ไม่มุ่งหมายไปในทางอลํง การกี่มากนอย เช่นตอนที่พระนารายณ์แปลงเบนนางพ้าไปปราบ นนทก ชวนให้รำตามแลวแกลิงชั้นวไปที่เพลาเพื่อจะให้นนทกซึงมี นวเพชรชั้อะไรก็ตายยไ]เยินไปนนทำตาม นนทกหลงกลนาง พอ ชั้ที่ ขาตนขา ก็ “ห่ กลมลงไม่ทนได้ ” พระนารายณ์กลายเบนองค์จริง ไปและเหยียบนนท ก ไว้'เพื่อจะฆ่าเสียนน มีบทนนทกพดกะทิดรดง่ายทุ แต่ไค้ความ ด้งจะขอคดมาเบ็่นตวอย่าง บัดหน เห็Iเพระองลทรงสังข์คขาปีร ว่าทระหริวงดทรง!}ทร าง}!วาทถา}]ไใ! หหหกแกล้วหาญชาญส}!ร เหห'ลี่ก'รก็รฺริ!!ระ'วักVใจ กวงล้างชีวิตก็เห','ใ!ได้ โทหข้าเหหไฉหให้ว่า}!า า 1 * พระนารายณ์ ตอบ ด้ายทำโอหังบังเหตุ เองฆ่าเทาาสรารักบ ตัว กู /?คิดเมตตา โทVามงใหญ่หอางยัก ไม่เกรงเดชพระอีศารทรงลักร โทมหนักอีงที่บรรลัย แต่าะไว้ชาาอีงไม่ได้ นนทกแยง- /ห ดุ ?ดอีทำชี่งหใ,ว้า ฤาร่ากลัวทาเทชรน ตัาข้าอีปีอแต่ลองปีอ ขิงพระองคาะผกาญชา มารยาเอีใาหญิงไม่นัดอี าะชพระองคไห้บรรลัย ฤๅาะสู้ทั้งที่กรได้ ! 9 แม้บอี'ปีอเหปีอบพระองคทรงชัย ที่ไหมาะทำได้ด้งม' พระนารายณตองตอบ (น่าจะ เขาใจได้ว่าควยกวามไม่ส ะควกพระทโ] ทรงพรรณนาโวหารเล่าถึงบุคคลก็กะทครคดี เช่น กVแปองพนสตรีมา เหราะปีงอะถึงแก่ศวามตาย ใช่ว่าอะกลัว(เหรา ชาตินปีงปีแต่อองหัตถ์ ใปีติใ]เคยรสิบหักตร์เกวิ’ยงไกร เหาะเหวเด้รได้ในลัมหว ปีปีอญี่สินข้ายขวา ถือคขาอาว ปีรนคว ฉินหายด้วยหลงเอนหา ศักดานาเหขวา]ใ]เมอไร องไใ]อหัตเอาชาติใหปี 1 II กาะเบมมมยแต่สองกร ตามไโ!ราญรอมชา" V V V \ เ* 1 รู่'^ V เ! ชิ?‘/เชิ ฐ®1/1ซิ* ■&&'ชิ®! เฟ้ 1 เผ , ภาพรามเกขรตลายมกด ทบานประตพระอโบสถ ฅอนรบารณจำบง วดพระเชตพน ๗ ทรงพรรณนาโวหารเล่าถึงบุคคลก็กะทํดรดดื เช่น “ มาจะกล่าวบทไป ถึงกุขนพรานไพรใจกลำ อยู่ในบุรีรมย์นกรา นาใจหยาบชำสาหส ไม่ร้จ่กบี!เดืยินคืน'วน ภูผาลํอมรอบเบนขอบกน อคทนเรี่ยวแรงแขงขน สำกญใบไม้หล่นจึ่งแจงใจ ริ ริ เรืองรามเกียรฅเบนอย่างไร มีเคามลที่มาอย่างไร ถ็นเดิมของเรื่อง อยู่ทีไหน เดินทางเชำมาถึงเมืองเราอย่างไรเมื่อไร ชำพเจ่าใต้แก่ง ทูลเกล่า ๆ ถวายในรชกาลบจจุบนเพื่อประกอบสมุดภาพทรงถ่ายที่พิมพ์ ชนเบนที่ระลึกงานพระศพสมเด็จพระเจ่าบรมวงศเธอ กรมพระยาชไเ- นาทนเรนทรแล่ว (๓0) หน์งสือนั้ก็เพี่งพิมพ์ออกจึ่งจะของดไม่ยกมา กล่าวซาอีก จะเพ่งเลงเล่าถึงแฅ่ฅวเรื่องของพระราชนิพนธ์รีชกาลที ๑ เท่านน เรื่องรามเกียรฅนั้ ไค้ความจากหน์งสือนั้นเองว่าทรง “แรกริ” แก่ ณ วนจ่นทร์ขํ้น ๒ กํ่า เดือนอาย บี!มะเส็ง จุลกกราช ๑๑๕๙ ซึ่งตรงกบพทธศกราช ๒๓๔อ และในทำยเรื่องกล่าวว่า ' ย้ไ/ หระราขมิหVปี'รามเกืยรต ทรงเหยรตามเรึ่องไ}ยายไสย ใช่าะเVนแก่มสารสงใด ด้งหระทัยสมโภชยชา ใครหงอย่าได้ ใ หลหสง างบ่สงฒิพังสังขาร .. 1 '’ (๓๐) ภาพรามเกียรด ทรงพระกรุณาโปรดเกลาๆ ให้พิมพ์พระราชทานในงาน พระ; ศพสมเด็จพระเจ่าบรม วงศ์ เธอกรมพระยาชิ , ยนาทนเรนทร (โรงพิมพ์'พระร้นทร์ ๒๔๙๕) มีบทอธิบายทำยเล่มเรืองนิทานพระราม ซี่งกรมหมื่นพิทย ลาภ พฤฒิยากรเรียบเรียงขั้นโดยพระบรมราชโองการ ๕๘ บไนั้จะได้นำเรื่องรามเกียรฅื้ฉบไพระราชนิพนธ์รชกาลที ® นี มากล่าวโดย ย่อพอ ให้ผ้ใกร่ พิจารณาได้ ใช้สำหรบเทียบ เคียงเรือง เพือ ประวํตศาสตร์ต่อไปด"งนี รามเกยรตรํชกาลที ๑ น ไม่แบ่งภาคฅอนเหมือนอย่าง “ รามายณ ” ไม่มี “กาณฑ์” (คือ กณ , ท) เช่น “ รามายณ ” นนเลย ทรงแต่งเบ่นเรื่องเคียวยาวยืดไปจนตลอด แต่สำหรบประโยชนในทาง ที'จะเทียบเกียงกบหนง์สืออื่น นุ เช่น รามายณเราขอแบ่งเอาเองเทือ ความสะดวกในการอางถึงต่อไปนั้ ภาค ๑ เบ็่นภาคเบ็ดเฅล็คทำนองกณฑ์แถมของรามายณ ต่างกนแต่ ทานองวาจะดาเนนเรอง ในช่อที่ของเราเอามาไว้ช่างตน โดยลำดไเหตุการณ์ที่เกิดชื่น เนีอเรืองมี อสูรพงศ วานรพงศ และราชวงศมนุษที่อโยธยาสลบกนไป รวมทงเรื่องเกร็ด เช่น เรืองนนทก (เพื่อจะแสดงชาติก่อนของทศกณฐ็) และเรื่อง เทวดาจบระบ้ามีรามสูรเมขลาเช่ามาไล่กน (เพื่อเชื่อมนิทาน) แต่เผอิญ ๒ เรื่องนีคนรู้จกมากเบี่นการเล่นของละครที่ แพร่ หลายทง ๒ ตอน ภาค ๒ จบตวเรื่องจริง นุ ตรงกบในรามายณ ต่างกนแต่มีเกร็ดลาง เรื่องแทรกแซมเช่าไปเบ็่นแห่ง นุ เรื่มแต่ทำวทศรถแห่ง อโยธยาทำพิธีขอลูกโดยเชิญพระอิสีสิงกมุนี ( ตรงกไพระ ฤษยสฤงคในรามายณ) มาเบนประธาน ในระหว่างที่ทำพิธี 1* นันมีอมนุษเชิญถาค ทิพยปายาส ผุดขนมา กลางกอง ไฟแห่งพิธี นางกากนาสูร (กาซึงเบนยกษ) โฉบไปได้ครึ่งกอนให้แก่ นางมณโฑมเหสีของทศกณกุฐ์ นางเสวยแก่วทรงครรภ์คลอด เบ็่นสีดา ซึงทศก่ณฺฐ์ทราบว่าเกิดมาลำงผลาญวงศยว้าษจึงให้เอา ไปทงนาเสีย พระชนกราชาซึงทรงผนวชเบ็ 1 นฤๅษีเก็บผงไว้ ต่อมาจึงขุดขืนมาเลยงไว้เบนพระธิดาบุญธรรม ส่วนทาง อโยธยามเหสี ๓ พระองค์ของทำวทศรถเสวยและทรงครรภ์ แลวประสูติพระโอรส ๔ พระองค์ คือ พระราม ๑ พระ พรต (รามายณว่า ภะรต) ๑ พระลว้าษณ์ (รา. ว่าลกิษมณ) ๑ พระสตรุด (รา. ว่า ศตรุฆน์) ๑ เพื่อพระรามมีชณษาได้ราว @๖ บี่ พระฤๅษีได้มาขอ ให้ไปปราบยว้าษกาอนมีนามว่ากากนาสูร ซึ่งมาร“งควานอาศรม จนไม่มีสมาธิที่จะบำเพ็ญพรต พระล'กษมณไปควย เมื่อฆ่า กากนาสรตายแก่ว มารีจและสวาหุผู้บุตรของกากนาสูรมาแก้ แกนแทนมารดาได้รบกน สวาหุตาย มารีจหนีจากที่รบ พระ ฤๅษีจึ่งพา ๒ กุมารไปเมืองมิถิลา ในเวลานนทำวชนกราชา แห่งมิถิลาประกาศเชิญกษติริย์ ทงหลายให้ไป ประลอง กำก่งยก ศร พระรามยกได้ ทำวชนกยกนางสีดาพระธิดาให้พระราม โดยให้ไปเชิญ ทำวทศรถจากอโยธยามาในการอภิเษกสมรส ครนเสร็จงานแลวทำวทศรถและพระรามกลบอโยธยาพบรามสร กลางทาง พระรามรบกบรามสูรชนะแก่รามสูร ๆ ถวายศรของ ตรีเมฆผู้เบนอโ]กาธิบดีแก่พระราม ๖ ๐ ภาค & ภาก ๒ น็ฅรงกบพาลกาณฺฑในรามายณเบนส่วนมาก ต่างหรือเพยนแต่ชื่อกนหรือทองที่บำง ท จิบเรื่องกล่าวถึงทรพีควาย (รา. ทุนทุพี) ตลอดถึงพาลีรบกบ ควายในถานานจนเลือดไหลออกมาปากถามาก สุกรืพน้องชาย พาลีเขาใจว่าพี่ถกควายฆ่าฅายจึ่งบี่ดปากถาเสีย พาลีโกรธขบ สุกรีพให้ไปอยู่'บา สุครืพจึ่งไปอยู่แห่งเดียวกบที่หนุมานบำ เพ็ญพรตอยู่ในบากลวย ครื่นแลวยอนมากล่าวถึงทาง อโยธยา ซึงทาวทศรถ จะ อภิเษกให้พระรามเบ็่นยวราชสำเร็จราชการบานเมือง นาง ไกยเกษี (รา. ไกเกยี) มเหสีทำวทศรถทวงว่าเคยไค้พรไว้ ว่าจะขออะไรก็ไค้ บํคนนางขอให้เนรเทศพระรามออกไปบา :หว่างน้นให้พระพรตลูกชายของนางเบนใหญ่แทน ทำวทศรถอนุมติตามเพี่อมิให้เสียวาจา พระรามจึ่งออกบา พร , อมควยพระล่ก์ษมณ์และนางสีคา ทำวทศรถเสียพระทไ)ใน ©๔ บี่ ร เรื่อง'แจนสํ้นพระชนม์ ส่วนพระพรตพระสํฅรุดน้องพระราม ซึงไปอย่เมืองไกยเกษ เมือไค้ข่าวว่าพระบิดาจะอภิเษกให้ พระรามเบ็่นยุวราชกเดินทางมาอโยธยาเพี่อจะช่วยงาน แต่ กรนมาถึงไค้ความว่าพระรามถูกเนรเทศ และพระบิดาสนพระ ชนม์เพราะเหตุนนก็ทรงพระพิโรธแก่พระมารดา และเมื่อจด การพระศพทำวทศรถเสร็จแลว ก็ออกตามพระรามไปจนพบ แต่ทลเชิญให้กลบมาทรงราชย์ไม่สำเร็จ เพราะพระรามจะ ๖ ๑ รีกษาสฅย์ของทำวทศรถ ในที่สุคพระรามประทานรองพระ บาทหญ้ามาให้ตงไว้แทนพระองค์ พระพรตกงรกษาบานเมือง ไว้ท่าพระรามจนกว่าจะเสด็จกลบ ภาคนีนบว่าตรงกนกบอโยธยากาณฺฑในรามายณ ต่าง กนแต่ชื่อกนชื่อท่องทีบาง ภาค ๔ ผายพระรามเดินลึกเขำไปอีกในท่าพบพิราบ (รา. วิราธ) ได้ รบกนแลวิชนะ เดินท่าต่อไปถึงผ้งแม่นาโคทาวารี นาง สำมนกขา (รา. ศรปนขา) มาพบเขาอยากได้พระรามหรือ ล'กษมณ์เบนผวิ เมื่อไม่สำเร็จก็เข่ารงแกนางสีคาจนพระ ลกษมณ์ออกต่อสู้ตคจมูกและหูขาด นางหนีไปพ้องทูตขร (รา. ทูษณ และ ขร) ตรีเศียร (รา. ไม่มี) พี่ของนางทงสามยกษ ได้มาแก้แคนแทนนางแต่แพ้ถูกฆ่าตายหมด สำมนกขาไปเล่า ให้ ทศกณฐ์พ้งว่ามีนางสีคางามมากอยู่ในท่า ทศกนฐ์ให้มารีจ ลูกกากนาสูรนนแปลงเบนกวางทองมาล่อ นางสีคาอยากได้ กวางให้พระรามคามจบ ระหว่างนทศกถ.เฐ์เขำลกเอานางสีคา ไปได้ พระรามพระลกษมณ์ออกติดตามพบนกสดายุและอสูร ต่าง ท จนบรรลุถึงท่ากลวยที่ หนุ มาน สุก รีพอยู่ ภาค ๔ นความตรงกบอรณยกณฑ์ในรามายณ. ต่าง แต่ชื่อกนชื่อท่องทีบาง ภาค ๕ พระรามพบหนมานๆพาสุครีพมาเผา ทำสญญาช่วยเหลือซึ่ง กนและกนเพื่อสุครีพา)ะได้แก้แคนในการที่ถูกพาลื เนรเทศและ จ)๒ ผิดเมียของสุกรีพต้วย สุกรีพสญญาถวายร้พลเมืองขีดขินธ แก่พระรามเพี่อทำสงครามติดตามสีดา เพราะถำสุครีพชนะ แก่พาลีก็มีหว้งที่จะได้ครองเมืองขีดขินธ์ (รา. กีษกินธ์) เมือ พระรามฆ่าพาลีและได้ร้พลขีดขินธ์แต้วย่งได้กองทพ เมืองชมพู อีกดวย กองทพขีดขินธ์มีหนมานและองคฅเบ็่นนายทหารผู้ ใหญ่ ผายชมพูมีชมพูพานกบนีลพํทเบนนายทหารผู้ใหญ่ บิด นพวะรามจึงส่งทหารลิงเหล่านออกติดตามคนหานางสืคา ภาค ๕ น ความเกือบตรงกไเกบกืษต้นธกาณฺฑใน รามายณ ต่างกนแต่ทหารชมพูนนเบื่นลิงมิใช่หมี และต่างกน ควยชื่อต่าง นุ ตามเคย เวน สุครีพ หนุมาน ซึ่งเหมือนและ องกตซึงเกือบเหมือนกน ภาค ๖ ในจำพวกทหารลิงที่ออกไปกนหานางสีดานน พวกนายทหาร ผู้ใหญ่มีหนุมาน องคต ชมพูพาน เบ็่นต้น ได้ไปทางทิศใด้ แต้วหนุมานแต่ผู้เดียวขำมเช่าในลงกา พบนางลีคาซึ่งเขาเอา ไปไว้ในสวนนอกเมืองได้ถวายแหวนของพระราม ขากต้บได้ ทำลายสวนจนเกิดรบพุ่งกนขึนเบึนขนานใหญ่ ในที่สุด ยิก ษ์ ต้บหนุมานได้ จะฆ่าเท่าไรก็ไม่ตาย หนุมานทลทศก , ณฐ์ให้ เอาไฟจุดต้วเสีย กรนจุดแต้วหนุมานทำตวเบ็่นเชอเพลิงเที่ยว เผาเมืองลงกาเสียสน แต้วหนีรอดมาได้ ภาค ๖ นี ความเหมือนกนกบในสนทรกาณฑของ รามายณในขอสำคญ ๆ แต่เรื่องของเรามีเกร็ดย่อย "I ต่อเติม ออกไปอีกบ้าง ๖๓ ภาก ๗ ลำดบนีถึงระยะทีจะกล่าวถึงการศึกในลงกา ท่านผ้อ่านอาจ ระลึกได้ว่า ในหนำฅน ๆ ที่แล่วมาขำพเล่าได้กล่าวว่า กาณฺฑที ๖ ของรามายณซึงชื่อว่ายทธกาณฺฑนน เบนกาณฺฑที่ยาวกว่า ฅอนไหน ๆ หมค เรื่องรามเกียรฅของไทยก็ยาวอยู่ทีการรบ นเหมือนกนแต่ไม่เหมือนรามายณ ที่ฅรงของเขายาวด้วยคำพูด ของแต่ละผายที่ออก มารบกน หรือออกมาแสดง บทบาทต่าง ‘ๆ ของเราแม้ไม่ใคร่พูดมากด้งนน ก็ยาวอยู่ที่การเล่าถึงวิธีที่ต่าง ผายต่างฅระเดรืยมรบ วีธีรบกน และผลของการรบนนๆ เช่นทก ๆ คราวที่'จะรบกนมก'จะเรืม ตนด้วย ทศกณฐ์ปรารภหา ใครออกไปรบแล่วก็ให้ไปเชิญมามีการรบรองเลี่ยงดูแล่วล่ดทพ แม่ทพก็แต่งองค์ทรงเครื่อง แล่วเล่าถึงพาหนะทรงของแม่ทพ ต่อจากนํก็เปลี่ยนไปกล่าวถึงผืายพระรามที่อยู่ในก่ายได้ยินเสียง ทพล่กษ์โห่ร่อง พระรามจึงถามพิเภกว่าใครยกมาแล่วก็ล่ด ทพออกไปต่อสู้ ส่วนแม่ทพนนจะเบนพระรามเองหรือพระ ล่กษมณ์ก็ตาม ก็ต่ง์กองสรงนาทรงเครื่องออกตรวจพล และ เล่าถึงพาหนะทรงแล่วจึงจะเล่าถึงการบ แต่ละศึกย่อมกิน ความยืดยาวด้ง้พรรณนามาฉะน และนอกจากการศึกที่ฅรง กนเช่นศึกกุมภกรรณและอิน ท รชิฅแล่ว ของเราล่งมีญาติวงศ์ เพื่อนฝงของทศกณ 1 ฐ์มาทำศึกย่อยแทรกระยะหรือขดตาทพบ่าง เนืองๆ ซึ่งไม่ใคร่จะมีในรามายณ เหตุฉะนื ศึกลงกาชอง เราจึ่งยาวเหมือนกน ดำเนินเรื่องเบี่นล่งเขปด้งต่อไปน ๖๔ เมื่อพระรามได้กวามว่า สีดาอย่ลงกา แล้ว จึงยก ทพไป ฅงทิเขา คนธกาลาริมผึงทะเล (รา. เรียกเขาว่า มเหนทรคีรี) ผายในลงกา ทศก'ณฐผึนรำย ให้พิเภก ( รา. วิภีษณ) ทำนาย พิเภกเห็นมีทางแก้ ล้วยส่งสีดาคืนให้ผำชองเขา ทศก'ณฐ์โกรธข'บพิเภกออกจากลงกา พิเภกไปขอพึงพระรามถือนาถวายสฅย์ แลวสาบานเบนสหายกบสุกรีพ พระรามให้ทหารลิงสำแดงฤทธื้ให้พิเภกคู เสียงกึกล้องล้งไปถึงใน เมืองลงกา ทศกจึ่งให้ศุกรสาน (รา. เบึน ๒ กน คือศุกร ๑ สาร*ณ ๑) ไปสอดแนมแต่ถกจ'บได้ลงโทษโบยแล้วปล่อยตำไปบอก นาย ทศก"ณฐ์ปลอมเบนฤๅษีมายพระรามให้ระแวงพิเภกก'บสุกรีพ. (รา ว่าส่งยกษอนมาสอดแนมอีก) ๔ส 2 ทศกณฐํให้เบญกายลกพิเภกปลอม เบื่นสีคา ทำตายลอย มาพระ รามลงสรงเห็นเข่าก็เชื่อและเศรำโศก หนุมานพิสูจน์ว่ามิใช่ศพ จบ ตำนางไว้ซํกถามแล้วปล่อยไป นี่เบืนตอนสำค'ญล้นแรกซึงรามเกียรตี้ ชองเราผิดล้บรามายณ พระรามให้จองถนนล้ามทะเลไปลงกา ล้างไทยมีเรื่องหมุมาน วิวาทล้บนีลพท จนล้องส่งนีลพ'ทกลบ'ไปร้กษาเมืองขีดขินธ์ แล้ว มีเรื่องนางสุวรรณมำฉาขดขวางการจองถนน หนุมานล้องไปจ"บล้วและ เล้าโลมให้เลิกการขดขวางทงสองเรื่องน์ไม่มีในรามายณ น'บเบน ตอน สำค'ญที่ ๒ และที่ ๓ ที่ต่างกน เมื่อจองถนนเสร็จพระราม ยกพลล้ามไปตงประ ชิดลงกา ด 8 ง ก่าย ที่เขามรกฏ (รา. ว่าเขาสุเวล) แล้วให้องกตเล้าไปสื่อสาร บอกเหตุ X ทียกทพมาขอสีดาคืน ทศกณฐ๎ให้จบองกฅเกิดต่อสู้กนขั้นจนยกษ์ตาย หลายฅน องคฅกลบมาไค้ ทศก'ณรู้เยก'ฉฅรใหญ่ขั้นเ 1 พื่อ'ดูทพ , พระราม ทีขางนอกเมือง สุกรีพเห็นเขาก็โกรธ เหาะ ไปหว้าฉตรไค้ต่อสู้ก'น (รา. ว่าสุครีพหกฉตรก่อน) ลำด'บนรามเกียรฅื้แทรกเรื่องใหญ่เซัาไปเบนเรื่องแตกต่างที่ ๔ คือเรื่องไมราพณ์ผู้เบ็่นย่กษ์อย , ใต้ดิน มีวิชาลึกลบสะกคกนให้หลบไต้ พิเภกรู้เรืองจึงเตือนพระราม หนุมานนฤมิตตวให้ใหญ่อ็าปากอมพลบ พลาทีประทบพระรามไว้แต่เมื่อถกมนต่ไมราพณ์ก็หลบเหมือนกบทหาร ลิงทงปวง ไมราพณ์ขโมยพระรามลงไปบาดาลใต้ดิน แต่หนุมาน ตื่นขั้นตามลงไปทนฆ่าไมราพณ์ และเชิญพระรามอัมกลบขั้นมาไค้ ทงบรรทมหลบ เมื่อ บคนจึงเรึมศึกลงกาแท้ๆ คือ ๑. ศึกกุมภกรรณ กมภกรรณยกมาพิเภกขอออกไปพูดจาห่ามมิให้รบ เพราะพิเภกเชื่อ ว่ากุมภกรรณเบนยว้าษทีมืศีลสตย แต่กุมภกรรณไม่ยอมเลิก เพราะถือ 0 0 -/ กาสงทศกณ 1 ฐ์เบึนใหญ่ไม่ว่าผิดหรือถูก สุครืพจึงยกทพออกรบ กมภกรรณจ'บสุกรีพหนีบรว้าแร้ไป แต่ภายหล'งสลิดหนีมาไค้ โดย หนมานตามไปช่วย กุมภกรรณยกตามมาไค้รบกบพระลิกมณ์ พู ถูก ซัดหอกโมกขศกคแต่แก้กนไค้ ลำคบนีกุมภกรรณไปนอนทดนามิให้ ไหลมาเพื่อให้ลิงอดนา ห่นุมานตามไปสืบไค้ความว่านอนทดนาอย่ แห่งใดไค้ต่อสู้กน เบนอนความคิดทีจะทดนาลมเหลว กุมภกรรณยก ออกมาย'งก่ายพระรามอีก พระรามออกต่อสู้ฆ่ากุมภกรรณตาย 'วไ) ๒. ศึกอินทรชิตกร์งที ๑ อินทรชิฅออกร๖กบพระลืกษมณไม่เบนผล อย่างไร จึงกลบไปตงพิธีชุบศรนาคบาส ๓. ทศกณฐ็ให้เชิญมงทรกรรณลกพญาขรมาขดตาทพฌ็นศึกใหญ่ แต่ ตายควยศรพรหมาสตร์ของพระราม วิรุญมขออกขดตาทพไว้พลาง VI . ส่วนอินทรชิตทำพิธีไม่สำเร็จ เพราะชามภวราชแม่ ท พลิงฅนหนึง ปรบกวน เลยยกทพมาหนุนวิรญมุขเขารบกน พระล"กษมณ์ออก สุ้จไหิรุญมุขได้แลิวปล่อยกลบไปเพราะเบนเด็ก อินทรชิตแผลงศร นาคบาสมามดพระลิกษมณ์และลิงได้ พระรามเรียกพญาครุฑมหก แก้ ได้ ๕. อินทรชิฅทำพิธี'ชุบศรพรหมาสตร์ กมบนออกขดตาทพ (รา. อกมบน) หนุมานฆ่ากมบนตาย อินทร'ชิตถกรบกวนลิวย , ทศกณ'ให้ ไปบอกข่าวกมบนตายจึงชุบศรไม่สำเร็จ แต่ก็ยกทพอย่คีและ แผลงศร พรหมาสตร์ถูกพระลิกษมณ์ลิบร็พลสลบหมดเวนหนุมาน ตอนนของ เราว่าอินทรชิตแปลงเบนพระอินทร์ลอยมาบนพา หนุมานจึ่งขนหก คอชำง (ปลอม) ซึงเบึนเทพพาหนะของพระอินทร์ปลอมจนหมดกำลิง สลบไป พระรามออกมาสนามรบ พอหนุมานพนขนก็โห้ไปหายาที่ เขาสรรพยาแต่ไม่พบตนยา จึงชอนมาทงเขา พวกทพพระลิกบมณ์ พอได้กลื่นยาจากเขานนก็พากนพืเนขนหมด ๖๗ ๖. ทศกณ;เก็บอินทรชิตคิดให้สขาจารปลอมเบนสีดา เอาฅวมาฅดหว ให้พร ะรามดกลางสนามรบ แต่พิเภกทูลพระรามว่าไม่ใช่สีคาจริง ๗. อินทรชิตตงพิธีกุมภนิยา ชบศรสามกน พระลกษมณ์ไปลางพิธี ได้แต่ก็เลยรบกนจนหมดศร (รา. ว่ารถหก) อินทรชิตหนีเช่าเมือง แล่วออกมารบอีกโดยแฝงทอง'พา ในที่สุดก็ถกศรพระรามตาย ๘. ทศกณ 1 ฐกลํ่ง ยกออกรบเอง มี “สิบรถ ม่ปรากฎชื่อ) นำออกมาควย เรื่องตอน น (ลกทศก็ณฐ์ ๑๐ องค์ ช่างไทยเอาเบ็๋นศึกใหญ่ ถึงพระอินทร์ให้พระวิศณกรรมนำรถทรงมาถวายพระราม การศึก ตอน น เฉพาะทศก'ณ เต รงกนกบรามายณแล้ว แต่เรื่อง “สิบรถ” นน รามายณว่า มีโอรสทศกณ ฐ์ ๔ องค์เท่าน'น ในรามเกียรติ้ก็เล่าว่าขน ตนโอรส ๔ องค์ออกรบ กรนตายลงจึงออกตามมาอีก ๖ องค์ ก็ เห็นจะทำนองเดียวกนกบ ที่ผู้เล่ายง เพลิดเพลินการรบ อย่ในตอน เสร็จ

    ศึกลงกาแลวจึ่งขยายเรื่องศึก จ้กรวรรคิต่อ ออกไปให้ยาวดง จะได้กล่าว ถึงต่อไปช่างหนำต่อจากนไป ทางช่างไทยได้แทรกการศึกของพระ ญาติวงศ์และสมพนธมิตรของทศก็ณฐ์เช่ามาอีกหลายราย รามายณของวาลมีกิ คอ

    3 VI ซง ม่มี , ใน ๙. สห'สิเดชะ ราชาแห่งปางตาล และมูลพลำ อุปราชปางตาลที่ง สองเบนสหายทศกณ1 ๖๘' ๑0. แสงอาทิตย์ ลกพญาขรซึงเบึนอนุชาทศกํณฐ ราชาแห่งโรมกล ด®. สตลุง ราชาแห่งจกรวาล กบฅรีเมฆลูกตรีเศียรซึงเบนอนุชา ทศกณช ราชาแห่งม่ชวารี ๑๒. สทํธาสร ราชาแห่งอสคง สหายของทศก'ณฐ์ ๑๓. วิรุณจำบง ราชาแห่งจาฤก ลูกพญาทูตซึงเบนน์อ์งทศกณ; ๑ ๔. ในระหว่างศึกแถมเหล่าน้ มีศึกที่ทศกณฐ์เองออกทำกรง ๑ แล็วทศกณฐ์ลงไปชุบฅวในอุมงค์ ซึ่งพระรามใช้ให้นายทหารลิงไปทำ ลายไต้สำเร็จตามเกย กรนแล่ว่มีตอนสำกญอีกที่แพร่หลายมากใน เมือง ไทยและนิยมเล่นโขนกนมาก ศีอทศกณ3ให้ไป'เชิญทำวมาลีวราชผู้ เบนอยกาธิบดีอยู่บนสวรรค์มาว่าความ แต่ทำวมาลีวราชมิไต้หลงกำ โจทเท็จของทศ ก ณฐ์ ทรงชขาดโดยกำพยานกนกลางคือนางสีดาว่า ทศกณฐ์ผิดให้คืนนางเสีย ทศค์ณฐ์โกรธการชำระกวามก็ไม่เบนผล ประการใด ๑๕. ทศกณฐ์ออกรบอีก พุ่งออกกบิลพทกกพระลกษมณ็ พระราม จดการแก้ไต้ ต่อไปนทศกณ3ออกรบอีก แต่บาดเจ็บสาห์สลึงกรขาด และพระองค์ทะล ตองเสกเบาแก้แผลแล่ว้ล่าท'พกลับเข่าลงกา พิเภก นิ , นิะ ๙ ’ จึงทลพระรามว่าทศกณฐน , นิถอดดวงใจเก็บไว้ต่างหากจะฆ่าเท่าไรก็ไม่ ๖๙' ฅาย ตองได้กล่องดวงใจมาจากพระฤๅษีโกบฅรมาทำลายจึงจะฆ่าได้ หนุมานรบอาสาไปจํคการเรื่องน เมื่อหลอกเอากล่องดวงใจมาได้แลวก็ ให้พระฤๅษีพาฅนเทำไปริบอาสาช่วยทศกณฐ์รบพระราม ทศกํณฐ์เชือ กลนํ้ แล่ว้ให้ออกรบ ได้รบกินอีก ๒ กรง นุ หล่งทศกณเยกตาม ออกมาดวย หนุมานรอเวลาพอพระรามแผลงศรก็ขยั้ดวงใจทศกณฐ์ให้ ทศกณเด ทศล่ณฐ์จึงตายเรื่องกล่องดวงใจทศกณฐ์น็รามายณไม่มื แต่มีว่าพระฤๅษีรูป ๑ มาบอกมนต์อาทิตย์หฤทโ)ให้พระรามนุเล่า มนต์น้เวลาแผลงศรไปฆ่าทศกณเ นุ จึ่งตาย ลำดบนพิเภกเข้าไปในลงกาและเชิญนางสีดาออกมาถวายคืนแก่ พระราม นุ ให้สีดาลุยไฟเพื่อให้โลกเห็นว่าเธอเบนผู้บริสุทธ แม้จะถูก เอาไปเก็บไว้เบ็่นเวลานานในเงอมมือยกษีก็ยํงบริสุทธ มีไค้ถูกชายใด แตะต่องเลย ครนแลำจึงอภิเษกให้พิเภกครองลงกาและเรีมเดินทาง กลบจากที่นน ลำดบนมีเกร็ดเพื่มเติมสองสามเรือง คืออศกรรณสหายของ ทศกณฐ์ยกทพมาถึงลงกาเพิอแก้แคนแทนทศกณฐ ถูกพระรามฆ่าตาย แล่วับลล”ยก’ล!]ลูก , ทศกณเ'ซึ่งพญานาคเอาไปเลยงไว้นํ้นั้ ขนมาจากนาค พิภพ มาได้ข่าวว่าพ่อตายก็โกรธตามไปแก้แกนระหว่างทางทิพระราม กำลโยกกลบ หนุมานไปรบตำต่อตำแล้วฆ่าคาย พระรามก็กลบถึง อโยธยาในฤดูใบไม้ร่วง ( ทุกวนนชาวอินเดียทิถือศาสนาสินดูยำฉลอง วนพระรามกล่บเข้าเมืองในฤดูนีฌ็๋น'นิตย์ ) ในการบำเหน็จแม่ท*พ นายกองนนพระรามให้หนุมานได้ "กินเมือง” พระนครศรีอโยธยา แต่ ๗ ๐ หนุมานเมื่อไต้ทำตามรำสงแล่ว้วน ๑ ก็ถวายเมืองคืน เพราะเห็นเบน การละเมิดพระเกียรติของพระราม นุ จึงสร่างเมือง “นพบุรี’ ’’ให้ไปภรอง เรืองบำเหน็จนรามายณน่าจะไม่มื ภาค ๘ เบ็!นเรื่องที่เกิดขนภายหล่ง์ที่พระรามกลํบเช่าส่อโยธยาแล่ว ลาง เรื่องก็มืในอุตตรก่ณฑ์แห่งรามายณ หากขยายกวามออกให้ ยืดยาวกว่าของเขาเบนอนมาก แต่ไม่ใช่ว่าจะเบ็!นเรื่องตรง กนกบรามายณตลอดไป เพราะหลายเรื่องในรามายณอุตตร กํณฑ์นน เราเอาไว้ช่างตนของเรื่องรามเกียรฅเสียไม่นอย เช่น เรื่องอสุรพงศวานรพงศ เบึนก่น ขอสรุปกวามของภาคสุดทำย ขอ ๑. พาวมหาบาลเทพาสรผ้ครองเมลงชิกรวาฬ (เมือง ฃ รเ! \ นั้ออกชื่อรื่าไปว่าเบ็่นของราชายำษ์องค์นนทำงองค์น็ทำง ไม่ ทราบว่าหมายกวามอย่างไรแน่ แต่อย่างไรก็ดี อนว่าชื่อทอง ที่ในรามเกียรตชองไทยย่อมเลื่อนลอย แทบทงหมดคงไต้ยกขั้น เปรียบเทียบมาแลวช่างตนเบนราย นุ เรื่อยมา ออกจะตอง ทำใจเสียว่าจะชื่ออย่างไรก็เหมือนกไเ ไม่สู้จะมีค่าแก่การสอบ สวนนำ ) ทำ-วมหาบาลน็ยกท'พมา แก้แค่นแทนทศก้ณ
    หนุมานไปช่วยบองก่นพิเภกไต้ฆ่ามหาบาลตาย ตอน'แหนุมาน ไปพาลกกบเบญกายอีกตน ๑ ชื่ออสูรผํดมาถวายพระราม แล่'วหนุมานออกบวชเบนฤๅษี ©ป © ขอ ๒. สึเาพาวปีกรวรรดิแหไมลิวน (ตรงกบอุตฅรกาณฺฑ แห่งรามายณ ซึงกล่าวว่าพระรามให้พระศตรุฆนไปปราบ ยกษ ชือลวณผ้ฌืนราชาแห่งมธุวน) รามเกียรตฃองเรา เล่าว่า สาเหตุแห่งศึกจ'ก็รวรรติเกิดขนเพราะเมื่อทศก็ณตายลง นาง มณโฑมีครรภ์กบทศก็ณฐ์ไค้เพียงเดือนเดียว พระรามยกนาง ให้พิเภก ครนประสูติโอรสนั้ออกมา พิเภกสำก็ญว่าเบืนลูก ของตนไค้เลยงดเบ็ 1 นอย่างสนิทสนมดีและให้ชื่อว่า ไพนา- สุริ'วงศ์ กรนเติบโตขนไค้ความจากพีเลยงชื่อวรณีสูรว่าตนมิ ใช่ลกพิเภก หากพ่อตายเสียก่อนเกิดและมารคามา เบนเมีย พิเภกจึ่งเกิดอบอายและชิงช'งพิเภกและมารดาและไปช'ก็เอาทาว จํก็รวรรติจากมลิวลมาช่วยจบพิเภกใส่ตรุไว้ พระรามไค้ทรง ทราบจึ่งให้พระพรตพระส'ฅรุดนำทพวานรมาช่วยพิเภก ไค้ ชไ)ชนะแก่ไพนาสุริวงศ์ ให้ประหารชีวิตแลไยกทพเลยไปดี เมืองมลิวน การศึกตอนนแต่งเลียนศึกลงกา ก่งจะได้เทียบ คกนต่อไปน ' ก. ทงสองศกเรมตนดวยการสอสาร ใช้องคต ศึกมลิวนพระพรตใช้นีลนล ศึกลงกาน 1 นพระราม ข. แม่ท'พยกษ์นน ในศึกลงกามีมาก แต่ที่จํด'ว่าเด่นกว่า อื่น ‘ตุ คือกุมภกรรณมีหอกโมกขศํก็ค มีอินทรชิตลกริก็ของ ทศก็ณมีผี 1 มือทางศร มีม่งกรกรรณหลานและหลานอื่น ‘ตุ อีก ๗๒ ส่วนศึกมลิวนมี สุริยาภพ ลกใหญ่ของทำวจกรวรรค ใช้ชฎา เหมือนอินทรชิต หนำก็เหมือนกินแฅ่สีแดง (อินทรชิตสี เขียว) ซึงใช้อาวุธหอกอย่างกุมภกรรณพ่งเอาพระส่ฅรุดสลบ ไปอย่างกุมภรรณพ่งพระล’กษมณ์สลบไปฉะนน แลวมีบลลยจกร ลูกจกร'ววรคิ , ซึงมืผื่มือทางแผลงศรอย่างอินทร'ชิต แม้เมือดาย ลงพ่อก็ทำศพฌ็นการใหญ่อย่างทศก’ณฐ์ทำให้อินทรชิฅ โอรส ทีสามของจกรวรรดิชื่อนนยุพ’กตร์ กรรณในศึกลงกา มบทบาทกลาย ณมงกร¬ กรนหมดพวกนแลว ศึกลงกาได้ทำวสฒัเดชะ มีลกษณะ เบื่นผู้ใหญ่ที่ , ใคร "I กล’วแต่แท้จริงโง่ ออกมารบก็แพ้โดย งาย ส่วนศึกมลิวนนนให้ทำวไวตาลอนมีลกษณะคลำย ‘กุ สหสเดชะออกมารบในลำคบเคียวกน และก็แพ้โคยง่าย ‘กุ เช่น กน, ในที่สุคก็ถึงทำวจ’กรวรรดิเองแต่ไม่ตายยากเท่าทศก’ณฐ์ ตลอดศึกมลิวนํนํ้ แม้ว่าหนุมานจะได้อยู่ในกองท’พผายอโยธยา ก็จริงและแม้จะได้ทำหนำที่สำกญ่ ‘กุ บางอย่างก็จริง แค่ควนาย ท’พ่ที่อาจหาญปราดเปรียวเช่นที่หนุมานเคยเบ็่นใน ศึกลงกานน กราวนํได้แก่นีลพท ซึงเคยเบ็๋นคุ่ แข่งกบหนุมาน ในศึกก่อน จน ถึงอยู่ดวยกนไม่ได้ทํองกล’บไปร’กษาแนวหลํงที่เมืองขีดขินธ์ ข่อ ๓. พระรานกริวส์ดา มีเรื่องว่า พระรามไปประพาส ชววํน นางสีดาอยู่หล’งในอโยธยาถูกนางอดุลมี่ศาจมาลวง ๗๓ ให้เขียนรปทศกณ 1 ฐให้ดแล้วเม้าสิงรูปนน จะลบเท่าใดไม่ออก พระรามกลบมาเห็นเขาก็หืง ให้พระลิกษมณ์เอานางไปฆ่าเสีย พระลิกษมณ์ปล่อยนางไป แต่ไค้หวใจกวางมาถวายแทนหว เจสีดา นางไปอาลิยอยู่ลิบพระวชมฤคฤๅษีและประสูฅโอรส แลวไค้โอรสซึ่งพระฤๅษีชุบให้อีกองค์ © พระฤๅษีให้นามว่า พระบฅรและลบ พระฤๅษีสอนศิลปศาสตร์ให้จนเชี่ยวชาญ พระกุมารทง ๒ ประลองศิลปจนลิงสนนกึกลิองเม้าไปถึงในกรุงอโยธยา พระ รามอยากจะทรงทราบว่าเสียงใครทำฤทธ กงจะลิอง เบ็๋นผม่บุญ จึงปล่อยม้าอุปการผูกสารไว้ที่คอว่า ลิาใกรพบม่านให้บชา พระราม ลิาม้ดขืนจะถือว่าเบนกบฎ (รา. ว่าพระรามท่า พิธีอศวเมธ คือปล่อยม้านไปบึ่ ๑) กุมารทง ๒ พบม้าเ'ขำ ก็จบขี่เล่นโดยปรารภก่นว่า “กระบฏทดโท 1 ไม่เม้าใจ จบได้ก็ จะขี่ให้สำราญ” อไแบ็่นเหตุให้หนุมานซึ่งเบ็น ผู้มีหนำที่ตาม ม้าไปคูเผื่อจะม่ใครละเมิดโองการนนเขำจบกุม กลิบแพ้แก่ สอง กุมาร กุ จบม้คและเอายางสกหน้าเล่น ในที่สุดพระรามยก ทพออกไปจะจบ แต่ครนพบกนไล่เสี่ยก็ได้ความว่าเบึนโอรส พระรามนน!,อง พระรามจึงให้กุมารพาไปหานางสีดาด้มารดากุ ถวายกุมารนนแก่พระราม ตอมาพระรามอยากจะได้นางสีคา กลบเม้ามาในเมืองนางไม่ยอมกลิบจึงทำอบายให้ หนมานไป ทล 4; โ ’ โ ’ 2 ไ ข่ 8 นางวาพระรามสนพระชนม์ จะถวายพระเพลิง นางเม้ามาก็ ๔ ๗๙ พบพระราม นางขดใจที!ถูกหลอกจึงแทรกพนแผ่นดินลงไป อาศโ)พญานาคอยู่ใต้ดิน ขอ ๔. โดยทีเกิดเห ด ย 1 ง ‘ๆ เช่นน็ พระรา}]หลุมหฤท้, เท้ 1ออ กใ ใ! เต พา ® บ ในระหว่างเดินบานไต้พบยโาษ์ต่าง ๆ ไค้รบกน และปราบปรามอก คือท้าวกุเวร ราชาแห่งกาลยทธ ๑ นก ฒัษ์ชื่อบกษาวายุพํกฅร์ ๑ กบ , ท้าวอุณาราช (หรือทมํกเรียก กนว่ายิกษกกชนาก) ซึ่งพระรามแผลงศรดำยหญืากกไปเสียบ อกไห้ “ ฅรึงไว้กบแม่นศิลา ทรมาอยู่แสนโกฏิบี'” เรื่อง เหล่าน้ยิงไม่พบในรามายณอาจเบนนิยายพนเมือง เอาเท้ามาปน ก็เบนไค้เช่น ‘ ‘ยิกษ์กกขนาก” น ชาวท้านนอกในโบราณแถบ เขาศรีประจนฅใกล้โกกกะเทียมในจงหวิดลพบุรี ยิงยืนยินอย่ เสมอว่ามนอยู่ในถาที'ในเขา ท้อ ๕. พระอีศวรรำคาญว่าพระรามกบนางสีคายิงกงไมปรอง ดองกนอยู่ดำนเบึนการไม่ดี จึงตรัสให้หาทงสองพระองค์ขน ไปบนสวรรค์ ว่ากล่าวไห้ดีกนเสีย แท้วประทาน อ?แ■ยกเสียใหม่ ทง์สองผ่ายก็อยู่เย็นเบ็!นสุขต่อมา (ไม่พบในรามายณ) ท้อ ๖. ต่อมามี พวกคนธรรพ นา รบ กรนพระสุษีรํเไพร ทางทิศเมืองไกยเกษแท้วเลยทีเอาเมืองแนไต้ ท้าวโกยเกษ ‘ทรงพระชราแลำท้องหนีออกไปซ่อนอยู่ในบา พระรามให้ พระโอรสทงสองไปปราบ และให้พระพรตพระสตรดยกทพตาม ๗๔ ใปควบกุม พนอนปราบปรามพวกคนธรรพ์ได้สำเร็จ (เรือง ศึกคนธรรพ์นั้มีในอตครกาณ,ฑ) รามเกียรฅไทยจบลงควย กล่าวว่าบ้านเมืองก็อย่เย็นเบ้นสุขแด่นนมา และไม่มืเรองพระ รามสินพระชนม์หรือขนสวรรค์ด้งในรามายณ พระราชนิพนธ์รามเกียรด ซึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพ้า จุฬาโลกทรงขึนนมว้]เรียกกนในบ้จจบนนว่า “รามเกียรตื้รํชกาลที ๑” ในหอพระสมุดมีเขียนไว้ในสมุดคำอย่างโบราณ ซึงเขาใจว่าอาจเบ้น ฉบับเดิมททรงพระราชนิพนธ์อยุ่ ๑ 0 ๒ เล่มจบบ้าจะคำนวณดพอประ มาณ‘ๆ เรียกได้ว่าสมุดเล่ม ๑ มี ๒๔ หบ้า ๆ ๑ เขียนได้ ๔ บรรทด คะเนว่าบรรทว้า ๑ มีราว ๒๐ คำ (ได้ลองนบัดลางหบ้าได้จำนวน บ้วบรรทคละ ๒๐ คำจริงๆ) บ้าด้งนนหบ้า ๑ ก็จะมืราว ๘๐ คำ สมดเลม ๑ กจะมราว ๘๐x๒๔=๑๙๒0 และ ๑๐๒ เลม กจะมราว ๑๙๒๐x๑๐๒=๑๙๕,๘๔0 คำ นบัว่าเบ้นหบ้ง่สือทียาวมากเรีอง ๑ ในวรรณคดีของไทย ในบ้จจุบันน้กุรุสภาได้นิมพ็ขนขนาดยกแปดเบ้น หนงสือ ๔ เล่มใหญ่ ๆ ๒๙๗๖ หน้า ในพระราชปรารภบ้างด้นเรื่องกล่าวความ'ว่า พระบาทสมเด็จ พระเจ่าอยู่หวได้ทรงกอบก้บัานเมืองโดยสละพระราช ทรํพย์ได้ทรงเชิญ สงฆให้ชำระพระ , ไตรบ้ฎก ทรงแปลงสร่างวดพระเชตุพน แล้ววดพระ ศรีสรรเพชญ์ (เดี๋ยวนเรียกวดมหาธาตุ) แล้วจึ่งได้ ๗ ภุปีรตำรดำร้ล ร้ดาอทำVอฒก ไตรดาย[คไ}ทาV ตำ 1 ทหIVอา ไรึอาราม เลึย รดเปีย V Vรไ}, ฟ้ฒพ าต ล้าย} ฑ ะ ราช ]'?หารปาVสุมาลัย หึ ยอ ร้อยลร้อยไล?ต ห!,เลตลาโรขาลๆ’' แม้ว่าล้กษณะทีทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรตขึนน จะได้ อนุโลมฅามแบบอย่างแห่งบทละกรรำก็ดี วิธีที'ทรงดำเนินเน้อเรือง ทำให้เรานึก ว่า ม้ไค้มีพระราชประสงค์ จะให้ใช้เบนบท สำหรบเล่น ละ กร ตลอกไป เพราะเรื่องยืดยาวเหลือที่'จะเล่นต้ง้นนไอ้'จนฅลอด อก ประ การหนึ่งการนำเรื่องรามเกียรฅออกเล่นให้มหาชนคูนน โดยเฉพาะใน สมโ)ก่อน") มิได้ใช้วิธีร้องบทให้ละครรำ หากใช้วิธี “พากย์” ให้ กน เตน กนเต้นนนก็เป็นผ้ชายไม่ใช่ผ้หญิงอย่างละกร จึง น่านึกว่า พระ ราชประสงค์ทีทรงพระราชนิพนธ์เรื่องนั้ขนในรูปละครรำ จนตลอดนั้กง จะเป็นไปในทางให้มีเรื่องอนบริบูรณ์สำหรบเก็บไว้เป็นตำรบ หากจะ นำตอนใดออกเล่นห่างก็ได้ หากผ้ใดชอบใจทีจะอ่านก็มีเรื่องอน บริบรณ์แต่ต้นจนจบไว้อ่านได้ดงนั้ นอกจากนึย็งืมีบทละกอนทีว่ากนว่า เป็นพระ ราชนิพนธ์ อีกสาม เริอง คือ ดาหลง อัเหนา และอุณรุท ดา ห ล่งนินึไค้'ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้พิมพ์ขนพระราช ทานแจกใน งานพระ บรม ศพ สมเด็จ พระศรื่สวรินทิราบรมราชเทวี พระพน'ว'สํสาอชิกาเจา เมื่อเมษายน พทธศกราช ๒๔๙๙เกามูลและฌัาษณะของเรื่องเป็นอย่างไรแจง อยู่ในกำนำหนป็สือเรืองนนแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องยกมากล่าวไนทีน (๓ ต) พระราชนิพนธ์ “คาหลง ,, โรงพิมพ์พระจ ไ เท ร์ ๒๔๙๙ 0๗ ส่วนเรืองอ้เหนาทีดกลงสันนิษานกนว่า เบนพระราชนิพนธรชกาลที หนึงนน มือยู่เพียงส่วนหลงส่วนเดียว เพราะฅอนแรกทีสำคญกน มาแต่เดิมว่าเบนพระราชนิพนธ์รืชกาลที่หนึงนน พระบาทสมเด็จ พระพา'เธเ'จำหลวงทรงเห็นว่าจะเบนสำนวนครงอยุธยา เพราะเมือ กล่าวชมพระนฅรและพระ-ราชวงมีการยกพระที่นิง จกรวรรคิไพชยนต์ และพระที่นงทรงบึน (ซึ่งไม่มีในกรุงเทพฯ) ขนกล่าว แต่ส่วนหลง ที่ว่าเบ็นพระราชนิพนธ์นน ขอคดกวามมาต้งต่อไปน อัมอเหไงาใงหไงปี!'วแต่ก่อV ไ)หกสอใงเหราะห 5 งเซไงหมักหหา ใครสส้ไ]ก็อัใ)วญณา แต่ เส้า งอย่เหยงสกช่ คV'งมหระยาททรงทค 855 11 เสด' 9(0 ลง4กร} Vรร ติ หมาหอาคม ต่อเริองอเหมาแต่สกข ใครหงแส้วางหงราโชวาท ดง8ปี'าทหรคสาอางกรรถง อับปี 1 าะลูญเริองเไ1มแม่มมม ถวัลยราชิ]มหวาราด ทรงหระราชม่หมปีอัก#รครึ โดยคดไ)ริไ}รอังใ]หาไงกาล อย่า’]ระมาทหลงใหลใช่แก่ไงสาร ข’อก'วามตกเตือนผู้พงน็ ออกจะเบนการออกพระองค์ว่ามิได้ลุ่มหลงใน ครํจฉานกถาอย่างเดียวกนกบทีทรงไว้ข้างท่ายรามเกียรฅ ดี 1 งได้กคมา ไว้'ขำงตนต้อยคำเกือบจะเหมือนกนทำ , ให้ยึงน่าเชื่อมาก'ขน'ว่า เบน’ผึพระ โอษฐ์คจกน บทที่ได้มาเบ็นท่อน "I ไม่ติดต่อทนน สมเด็จกรม พระยา ดำรงราชานุภาพทรงไว้ (๓๒ ว่า หอพระสมุด ๆ ไค้ต้นฉบไ]มาจากนคร (๓๒) กำนานเรื่องละครอิเหนา สมเด็จกรมพระยาคำรงราชานุภาพทรงแก่ง โรง พิมพไทย ๒๔๖๔ หนา ๘๕— ๙๓ ๗๘' ศรีธรรมราช ส่วนเรื่องพระราชนิพนธ์อิเหนาทิร้ข์กและนิยมกนอยู่ แพร่หลายนนิไม่ใช่รชกาลที่หนืง หากเข็นพระราชนิพนธ์รชกาลที่ สองซึงดำเนินเรืองดจกน พระราชนิพนธ์ “อุ ณ,รท” นนว่าทรงไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๖ หรือข็ใดข็หนึงในฅนรชกาล ลกษณะเข็นบทสะกอนเช่นเคียวกน กบรามเกียรด ดาหล*งและอิเหนาที่กล่าวมาแลว มีช่อน่าสงเกดสำ หรบเรื่องนอยู่ขอหนิง คือ ที่เข็นเรื่องมาจากมหาภารฅ ซึงในอินเดีย มีานะคู่กนกบเรื่องรามายณ แต่ไม่ปรากฏว่าไทยเราในสมไ!อยุธยา ตอนหลงหรือในสมไ)กรุงธนบุรีและกรุงเทพ ๆ ไค้ร้ขิกหรือนิยม ความ จริงนอกจากที่กล่าวถึง กษฅริยสากญ ฯ ในเรื่องมหาภารตในลิลิตยวน พ่ายของอยุธยาแลว ก็ไม่ปรากฏว่าไทยเราไค้ช่างถึงหรือถอดเรื่อง ตอนใด "1 มาจากมหาภารตเลย จนกระที่งมาไค้ร้จกเรื่องน'จากหนงสือ แปลภาษาองกฤษในบจจุบน แต่ถึงกระนนก็คี เรื่องคูณรุทก็มิใช่ตอน สำค”ญของมหาภารตเลย ยงมีพระราชนิพนธ์ย่อย ๆ อีกเรื่องหนิง คือ เรื่องนึราส'ท่าดิน แดง มีบนทึกข็ทรงแต่งไว้เข็นข็ครงกบพุทธกึกราช ๒๓๒๙ อนิเบน เวลาที่เสด็จไปงานพระราชสงครามรบพม่า และท่าดินแดงนนเข็นชื่อ ของสมรภูมิในสงครามนนแห่งหนึง ลกษณะแห่งพระราชนิพนธ์ทง หลาย น็รวม ใจกวามได้ว่าเป็น'ผ

    ปากทหาร เพ่งเล็งในทางวีรกรรมไม่สู้เพราะในแห่งใด ภาษาก็เรียบๆ ไม่สูงหรือหยาบโลน ๘๙!' ยงมีอีกเร้องหนึ่ง ซึ่งว่าทรงมีส่วนเกี่ยวของด้วยเพราะใต้ทรง ชำระพระราชพงศาวดารน (๓๓) ถอยคำไนบานแผนกกล่าว'ว่า "ต/มัสดตักราช ๑๑๕๗ บเถาะสัปตตก (ห.ค. ๒๓๓๘) 311 เดจหระบร}11!รๆ}}ก มหาราชาธราช หระเก้าอย่หัวผ่าน ถวัลยราชย 01 กร/หหทวาราวดืศรอย/ยาเถลิงหระปีบงดุสิตมหาปราสาท ทรงชาระ หระราขหงตาวดาร " แลวมีความต่อ'ไปชำงหลง ( หน้า ๓๗๘ ) ว่า เหึยงบเรองหระเหหราชากับหระเก้าเสอหำไว้แต่ก่อบ หัดบ สมเด็อหระห/ธเก้าอย่หัวปีหับสงให้เก้าหระยาหิหปีหชัยกระหำเรองหระ บารายถแปีบเก้ากับหระเหหราชา หระเก้าเสึอหระบรมโกตหระเก้า หระปีบงส/ยามรินทร็ หำตักราชตัด ( คงจะ(11น กิ ดกน 1 ไป ) กับไป " ความชดว่า ตอนตนของพระราชพงศาวดารนั้เบ็นสำนวนเก่าตอนตง แต่สม่ยพระนารายณ์เบ็!นเจามาเบ็!นสำนวนร , ชกาลที่ ๑ ซึ่งโปรด ๆ ให้ เขียนใหม่ อนึงเจ้าพระยาพืพิธพิชยผู้นีเชำใจว่าเบนกน ‘ๆ เดียวกนกไ] ที่ทำระเบียบพระราช พิธีราชาภิเษก ครํ้ง์กรุงเก่า ถวายพนแบบ-ฉบไเด้ง ได้กล่าวถึงมาแลว (ดูโน้ต ๑) พงศาวดารสำนวนนั้กวมศิลปากร (แต่ยงเบนหอพระสมุด) มีอยู่เบนสมดเขียน ๒๒ เล่ม คำเน้นกวาม แต่สรำงกรุงมาจนถึงสนรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ณ บดนเรียก ชื่อว่า “พงศาวดารฉบบพนจนทนุมาศ (เจิม) ” ได้สืบมาหลายแห่ง (๓๓) ประชมพงศาวคาร ภาก ๖๔ และ ๖๔ ๘' ๐ แล้วว่าเหตุใดจึงเรียกคงนน ก็ไม่ไค้รบคำยืนย่นจากท่านผู้ใดอย่างไร ข้าพเล้าเองคิด'ว่า เมื่อปลายรีชกาลที่ ๕ ในเวรวิเศษซึงเบนกรมเลขา นุการของเสนาบคีมหาดไทยไค้มีพไเจนทนุมาศอยู่คนหนึง ชือเดิมชือ เจึม พ.ศ. ๒๔๕๑ ไค้เลื่อนบรรดาศกดขนโดยลำดบจนไค้เบี่นพระยา ตริงกภมาภิบาล ตำแหน่งผ้ว่าราชการจํงหวดตริงแล้วไค้เบื่นสมหเทศา ดิบาลสำเร็จราชการมณฑลอุดร เมื่อครํ้ง์ย่งเบื่นพนจน ๆ อยู่นน สม เด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ (เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย) ทรง ใช้ สอยอยู่มากในหน้าที่เลขานุการชนรอง ๆ พงศาวดารฉบบน้กเข้า ใจว่าไค้มาจากนครศรีธรรมราช ในราวนนบางทีจะไค้เกยเรียกล้นล้าง กระล้งว่า พงศาวดารพไเจน ๆ หมายความ'ว่าฉบบที่ล้นเจน ๆ ไค้รบ มอบให้เบนผ้เก็บเผื่อจะทรงเรียกทอดพระเนฅร (๓ '"' เจาพระยาพระดสา (หน) กวี ที จดให้ เบ็่น ยอดเยี่ยม ในบรรดานก เชียนทงปวงใน ริชก'าลน้ น่าจะเบ็นเล้าพระยาพระกล้ง (หน) ประว่ฅของท่านมีมาว่าเดิมเบึน หลวงสรวิ ชิฅในริช กาลสมเด็จพระเล้ากรุงธนบุรี ในสมโ)นนไค้แต่ง “ ลิลิต เพชร มงกุฎ” ฅามปรากฏความข้างล้ายเรื่องว่า (๓๔) ต่อมาพระปฏิเวท วิศิษฐ์ได้ช่วยคืน เอกสาร ไค้ความมาว่า เจิมน เบืนพํ นจํนท นุ มาศ ฅงแ ฅ่ พ.ศ. ๒๔๔๙ จนถึง ๒๔๕๑ ส่วนพงศาวคารจำนวน น'! ค้มฺา เมื่อ ๒๔๕0 จึงน่า จะเชื่อ ได้ แน่แส็วว่า พํนจํนทนมาศผ้น็เบน แน่ แลว ๘' ๑ หลา}ลรรหวีชิตเชอ ลัไ]ใ] รุ V แล่งหระเหขร}]}กุฏ แก่น ไห้ ถาายแก่ราชใ}ต ร อิฅเรฅริ โดยมิย}]ช์]ไล้ เรองรโบราณ ชื่อของทาน ผ้แฅ่งนํ้ ในพระ ราชพงศาว ดารของเจ่า พระยา ท้พากร-วงศ เชียนวท่ “สรวิชิต” แต่ในโคลงของทานเองฉบบพิมพ์ใช้ว่า “สรรพ วิชิต’' อนึง “ราชบุตร อีศเรศร์” น จะหมายความถึงเจ้านาย โอรสสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือโอรสจ้ชกาลที่หนีง พระองด็ใค ไม่ช’ดความ อย่างไรก็ดี ชื่อท่านจ้งปรากฏิในกวีนิพนธ์สม"ยเดียวกน แต่เขียนว่า “สรวิชิต” อีก คือใน “โคลงสรรเสริญพระเกียรติพระ พุทธยอคพาจุพาโลก” ของพระชำนิโวหาร จ้อทีควรนำมายกย่อง ท่านนอกจากว่าผปากไพเราะ เยยมแจ้ว ยงมีอีกว่าท่านแต่งไค้ดีทงจ้อย แจ้วจ้อยกรอง หม่อมเจ้าจนทรจีรายุ รชนี ทรงเขียนยกย่องจ้าษณะกวีเอก ของทานผฺนีไวี (๓๕) อย่างถูกใจจ้าพเจ้า จึง'จะขอคติมาลง'ไว้ , ใน'ที่'แต่ 1 ง ต่อไปน— ไ]ระการที่หโ!ง ท่าแแต่ง]ไล้ทุกอย่าง มิโคล} ฉัแห์ กลอแ และร่าย ล่อลากห่าแดูเหห้อและต้องถึงรัชกาลที่ ๕ ที่}]กวีแล่งไล้ทุกอย่า} คอ หระยาครลแหรใาหาร (ห้อย) และกร}]หระแราร่ย่ย่ระหัแร่หงฅ็ (๓๕) วรรณคคี สิบกวี ของหม่อมเจ้าจ่นทรจ้รายุ รํขฺนี (พ.ณ. ประม')ต มารค) หนา ๑๖®—๒๒๐

    ^๒ ประการที่ลอง ร่ายยาวเหคนมหาขาติกินข์กมารและมัหรืของท่'าหI■ร้ง ใขัเทศใร่อยวนหกร้นน ในมหาขาติทั้ง ๑๓ กิ'ณร้เ กมารและมัทรืพน กัณข์ที่กวีขอนหลด ฉะนนที่งมกำนานประขันกันมากกว่ากัณข์อน ที่ ของท่านได้ร้!]ยกย่องสูงกว่าเที่เอนย่อมแสดงว่าห่านพนกวีใหญ่อยแล้า ประการที่กาม กำนานร้อยแกัาของท่านเท่าที่ปรากฏในเร่องลามกัก และราขาริราขดเที่ยงไรไม่ว่าพนก้องนำมากล่าวในหน เร้นแต่ชว่าใน ในสองเร่องนนมกำนานกามากทั้ง ๆ ที่แต่งพนร้อยแก้ว ” เธอเฅมกล่าวขำงท่ายอีกว่า ....ผู้ หวะพนกวีใหญ่ได้ ว่าพนวะก้องพนตัวของติ'วเองวะเจริญ รอยตามเกาคานเดยาไม่ได้ ทั้งในก้านความคิดและผูกคำขนพนประโยคให้ เกิดภาพ...” แจงคงนั๊แลํว เมื่อหม่อมเจำจนทรจีรายุไค้อีราคาท่านกวีใหญ่ผ้น้ไว้ อย่าง แจ่ม ก็ยำเหลืออยู่แค่จะกล่าวถึงชนศิลปทางวรรณกรรมของ ท่านเบนเรื่อง ๆ ใปคามเคา , โกรงการของหน"งสือเล่มน คำกลอนของท่านเจ่าพระยาพระก.จง ทีมีชื่อเสียง มากทีสค นาจะ ไค้แก่ "กากีกลอนสุภาพ ,, เรื่องนั้มีชื่อเสียงเพราะโวหารอน ไพเราะ เน้อเรื่องกีไม่มีอะไรมากนอกจากนยายชองหญิงโลเลที่เบนคำเรื่อง แค่ พรรณนาโวหารนนยอคเยียม ยกคำอย่างเช่นกล่าวถึงภาพที่เหนไค้ จากอากาศในเวลาที่ครฑบิน ( ซึงไม่ใคร่ผิคจากเวลาทีเรามองลงมา จากเรือบินนก) ว่า ๘' ส ชบอกยอดเขาหระเงวรงวาศ แดงเขียวขาวเหลืองเรื 1 องหภางค์ ทวีปน้อยสองทันเบนบริวาร แล้วประหลาดงางวดเบนลือย่าง เกาะทวีใ]ใหก)กาหน้งลืทิศ ล้ณฐานดงงอกลอยกะทิหริด ../ กล่าวถึงอาการแห่งธรรมชาติคินพ้าเวลาร่งสางว่า - ครันศศธรคล้อยเคลือนเลือนสับ ดาราดับสนแสงสว่างหล้า ศระหายขายศตราเทยทา ดเหว่าทิหยทประว่าสิงเหลื ภาณงวาศเร่งราชรถทอง สกณาหรองเพรยกหงวานทอง ก็รัองยี่ล่งเสยงสำเปียงล้อง ผาดผยองเยี่ยงวยอดยคนธร ’ กลอนอกเรองหนง เรยกวาเพลงยาวมชอเสยงมาก กบกลอน สมบโติอมรินทร์ก็เบนเรืองไพเราะ และภาษาหมคา]ค ส่วนโคลงนนท์ 5 เบนโคลงลวนมี "พยุหยาตราเพชรพวง ,, ซึงท่านไค้ริบพระบรมราช โองการให้แต่งถวาย กล่าวถึงกระบวนเสด็จนมสการพระพุทธบาท ทางชลมารค ลำต่บกระบวนเรือต่าง ๆ ตามอ็ตราเสด็จประพาส แล่วกล่าวถึงกระบวนสถลมารคเบนคชพยหและอส่ครหยห ซึ่ง ลง ทายว่า— อบเสรึ'อเสด็่อทยห์รว เหขรหวง ตำหรับราชหอหลวง กล่าวไว้ สำหรับแห่งอติศรัสรวง สรราช เบนหระเกียรติยศไท้ ธิราชผมIวญ ” ๘'๔ ฅ่อนนย์งมีกระบวนอสครพยหอีกสำนวนหนึง เรีมคนวา - ขนแเองคอควรราชไข้ ต้งห ร เสดจคยหคสนิกร ยังบทวะต้ญขร หวังหว่านผสภาคหน้า มงน้า ชินราช อาจเอออวยทาน ” ลงทายว่า - ” ราโขไ]ระสาคนเออน สารวังคระคต้งการ ให้วังรอนสาร โดยหยหยาตราเต้า ภัทรบทปาติบาทเบอง อังคารนะเส งน้ก อันรอยน้าสบเกาอัก จอมมกุฎกพให้ โองการ กราบเกสา เสาวคากย์ แต่งไว้เบนโคสง คกบกบ บัตรไข้ ราชเร่ง รนา แต่งแต้มโคสงกระบวร” ไนเรื่องมหาซาอี ท่านก็ไค้แต่งก้ณฑ์กุมารและกณฑ์มํทรีจะขอ ยกฅวอย่างมาสกเลกนอยพอให้เห็นผปากต่งคอไปนื " คอแว่มแจ้งแสงคติรรนางกยกคอนขนใส่บ่า เอาคระภบาคาด คระเต้าเขาให้วันคง วงคสางนางทรงกรร แสง คสางยะเหยาะเหย่าหก ผย่างไม่หย่อนหยด อักหนี่งก็ถึงที่สดบริเวณคระอาวาส ที่คระสกเจ้า เคยประคาสแส่นเล่น ประหสาดแต้วแสไม่เห็นก็ใจหาย ปมประ ๘๕ หนงว่าข่ว่ตนางจะวางวายลงหันห จงตก้สเร่ยกว่า แก้วก้ณหาพ่อชาลี แม่มาองแก้ว เหตไฉนไยพระลูกแก้วจึ่งม่มาเล่าหลากแก่ใจ แต่ ก่อน แต่ไรสิพก้อมเพร่ยง เก้าเคยวงระร่เร่ยงเลียงแข่งก้นมาก้นพระมารดา หรงพระสรวลสารวลร่าระร่นเร่งร่นก้นเอาขอคานแก้วลีพาก้นกรานกราน พระขนน พ่อขาลีเก้าเลือกเอาผสไม่ แม่ก้ณหาชก้อนวอนไหวร่าจะ เสวยนม ตป็มเหนือพระเพลาพลาง ฉอเลาะแม่นต่าง ๆ ตามประสา หารกเ จร่ญใว . . . มือปไมยเหมือนหนืงลูกทรายทรามคนอง ปอง ที่ว่า วะขมแม่เมอสายัณห์ ...” นึเบนฅอนที่ม่ทรไปบาหาผล'ไม้มาเลยงกํน แฅ่ถูกกางกนเพราะ ส่ฅว์รายมานอนขวางทาง กรนหมดสฅว์แลวก็รีบว็งมายงพระอาศรม ควยความห่วงพระทารกท์งสอง แฅ่ก็มาไม่พบพระองค์ใค ความ ในก'ณ'ท์มท'รี เบื่น พงสาวด!รมอญ ก๊บเรดงสามก๊ก พงศาวดารปีน นอกจากนน ท่านยิงไค้แต่งเรื่องราชาธิราชเบนรอยแกวแท้ ‘ๆ กล่าวความสละสลวยสุภาพ นับ วา ท่านเบนนักเขียนอย่างสารพัด แต่ ที่ท่านได้ชื่อเสียงทีสุคจะตองว่า ๆ ไนทางกวีนิพนธ์ ในประวํฅท่านทีกล่าวมาแล้วได้'ว่าไว้แต่เพียง ท่านเบนหลวง สรวิชฅ เมื่อรชกาดที่ ๑ ขนเสวยราชย์ กรรมการปรึกษาความชอบ ได้ถวายความเห็นให้ยกหสวงสรวิชิฅขืนเบนทีพระคล้ง แห่พระเจ้า อย่ท่ก้มได้ทรงบญชาตาม กงจะทรงเห็นว่าจะเบนการยกย่องกนชอง ๘') ท่านเร็วเกินไป จึงโปรดเกลา ๆให้เบนเพียงพระยาพีพํฌนโกษาท้ปลด ทูลฉลองกรมท่า ต่อมาจึงได้เลื่อนขนเบ!นเพ้พระยาพระคสิง อยู่มา จนเกือบสวรรคตท่านจึงถึงอสิญกรรมไปเสียก่อน นกเขตนฮน ๆ ในรีชกาลนืปรากฏว่ากรมพระราชวังหวัง (สมเด็จพระเจ้า หลานเธอ เวัาพากรมหลวงอนุวักษ์เทเวศร์) ได้ทรงส่งเสริมให้แต่ง เรื่องจีนชนอีก แต่จะเบ็นผู้ใดแต่งเราไม่มีทางทราบ เรื่องนคือเรื่อง “ไซ่ฮน” ธนเบนเรื่องนิทานพงศาวดารจีนใหญ่เรื่องหนึง อีกเริองหนึงทีอยู่ใน ประเภท เจานายทรง ส่งเสริมโดย ตรงก็กอ เรื่อง “พงศาวดารเหนือ” ซึงสมเด็จเจ้าพ้ากรมหลวงอิกีรสุนทร เมื่อ ทรงดำรงตำแหน่งกรมพระราชว'งบวร มีรบสิงให้พร?วิเชียรปรีชา (นอย) เวัากรมราชบ'ณ'ทิตย์'ขวาเรียบเรียงขนเมื่อบี ๒๓๕๐ แต่เรียง ไว้ไม่ดีเลย ขอกวามฒัสนไม่เบืนทีจะอาศยได้แน่นอนโดยหสิกประสิต ศาสตร์ ผ้เรียบเรียงบนทึกไว้ในบานแผนกว่าเบน เรึองลยามราขพงบาวดารเปีองเหปีอ ตั้งแต่ยาธรรมรา'ชลราง เปีองลัขชโภไลยเปีองลวรรคโลก ไต้เลวยราขลมบตหรงพระใงาม พระเล้ารรรมราชาปีราชเปียลำดับลงมาาเงกง พระเล้าอ่หองลล้างกรง ตรอย!ยาใบ รากงราช!าปี." ในจำพวก ประสิตศาสตร์ยงมี หน์งลือใหญ่ทีสำคญ อีกเรื่องหนึง คือเรื่องมหาวงสพงศาวดารลงกาทวีป ซึง “ มีพระราชบริหารดำรวิส ๘''๗ ลังขุนสุนทรโวหาร ผ้ว่าทีพระอาลักษณ์ให้ชำระเรืองมหาวงษทิราช บณ'ท้ตย์แฅ่งทลเกลัา ๆ ถวาย” พระราชดำรสสงเมื่อบีมะโรง พ.ศ. ๒๓๓๙ กล่าวต่อไปว่าราชบณทีตย์ที่แต่งเรื่องไว้ชื่อพระยาธรรมปโร- หิฅ และว่าควยว่าเมื่ออาลักษณ์ชำระแลัว โปรคให้เชิญไปเผดียง สมเด็จพระลังฆราช พระราชาคณะเห็นพรือมกนควย จะเห็นไค้ ว่า ทรง ระลังที่จะให้หนงสือเรื่องนึ่ถูกตํองนก ความจริงเบึนทีทราบกนอยู่ว่า พุทธศาสนาของไทยเรามาจากลังกา คมภีร์ที่พระท่านนิยมใช้เบนหลก ก็เบน'วรรณกรรมลังกา หากแปลไว้เย้นไทยต่อภายหลังคือ คมภีร์ “วิ สุทธิมิค ค์” ฉะนนเรื่องมหาวงสร์งเย้นประว่ติของพุทธศาสนา ไนลังกาย่อมเบนเรืองสำลัญควย อย่างไรก็ดีความนิยมในเรื่องนย์ง คงเย้นร้อสำคํญอยู่เรื่อยมาจนถึงรชกาลที่ ๓ ด"งจะเห็นไค้จากขอที พระบาทสมเด็จพระนง้เกล่า ๆ ทรงสร้างวิหารพระนอนขนในส่วนใหม่ ของ'ลัดพระเชฅุพน ทำนองเบนอาการสำคญของส่วนใหม่น แลัว โปรดเกลัา ๆ ให้เขียนภาพคำเนินเรื่องมหาวงสไว้ในพระวิหารน น่า เสียดายที่ภาพเหล่านึ่ถกฝนทีรืวลงมาชะเสียจนลบเลือน เนือที่ก็กร้าง ขวางน่ากลัวจะเบนการยากที่จะเขียนใหม่ให้ที 1 วถึงไค้ตามเดิม อนึ่ง ในบี่แรกที่เสวยราชย์ไค้ฅรสให้อาลักษณ์เขียนเรื่อง “สิบ สองเหลี่ยม” ชนไว้ คงปรากฏในบานแผนกของหน์งสือเรื่องนึ่ ซึง เย้นนิยายสุภาษิตว่าควยราชธรรม คำเนินเรื่องว่าพระเร้ามามูน (มา หมุด) แห่งบาฆคด เสด็จไปคนหาหอสูงสิบสองเหลี่ยมถึงเมืองมะคา วิน (บดนึ่ร้างและเรียกดามชื่อในสมํยโบราณตอนหลังว่าเซ์ทสิฟอน) ซึ่งเคยฌ็๋นที่ประทบของพระเร้าเนาวสว่านวาดิน กษํตริยโบราณที่ ๘' ๘' เบ็นผ้สฑ้งหอสงนั้ไว้ ครนคนพบไค้ทอดพระเนฅรเห็นความจาฤกตาม เหลิยมทงสิบสอง จึงทรงจดจำ , มาปฏิบติเบนราชธรรมประเพณี สมเดจ กรมพระยาดำรงราชานภาพ เมื่อทรงดำรงตำแหน่งสภานายกหอพระ สมุดวชิรญาณ ไค้ ตริ สให้เจาหน่าที่คนดูก็ไค้ความว่าพระเจามามูนนกือ พระเข่ามาหมุดในราชวงศอบบะสีด เบนพระเจ้ากรุงอิรฆ ระหว่าง พ.ศ. ๑๓๕๖ ถึง ๑๓๗๖ พระเจาเนาวสว่านวาดิน คือ พระเจากรุง อิหร่านราชวงศฒัสะนํด ทรงพระนามว่า นูษิรวาน อลาอุดดิน ทรงราชย์เมื่อ พ.ศ. ๑๑๒๒ สมเด็จพระเจ้าบรม'วงศเธอพระองค์'นน ทรงพระดำริว่า ลาดเลาดจะเปีนปีหานของพวกแขกชาวฟอรเVยรวบรวมแต่งขน ข้อปีนำมากงประเทศไทยนปีเค้าเงอนที่พงศาวดารกล่าวว่า ในแผ่ไวดิน สมเด็จพระนารายฟ้มหาราช ได้ปีราชทูตอหร่านเข้านาโดยหวงว่า นอกจากเจ ร่ญ ทางพระราช ไนตร่ 1 แส้ว จะเกสยกล่อนให้หรงเข้ารีตเปีน อส สาน " เขียงทีพวกฝริงเศสหวิงจะให้ทรงเข่ารีตกรีสเตียน ทูฅเข่ามากรงนนกงจะมีกรูบาอาจารย์ที่ชำนาญทางศาสนาและราชธรรม ของอิหร่านเข่ามาบางทีจะไค้นำหน์งสือเรื่องนํ้เข่ามาควย พระดำริน น่าจะเบนจริง และฉบบแปลของหนงสือนที่ไค้ชื่อว่า “เรื่องลิบสอง เหลิยม” ก็กงจะมีติคพระองค์พระเข่าแผ่นดินในหอสมุดหลวง แต่ กรุงศรีอยุธยามา ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๔๗๐ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชา นุภาพทรงไค้เรื่องสิบสองเหลี่ยมมาอีกฉบบหนง ซึงกล่าวความข่างต้น ๘๙ ๙1 (51 ว่า ขุนก"ลยาบดีแต่งนิทานทำเนียบถวาย ณ วน ๑ ๆ ๔ ศ์า จุลศกราช ๑๑๑๔ บวอกน"กษติรจติวาศก แต่ชื่อในเล่มนี่เขียนผิดเพยนกนไป บางกบฉบบแรก แต่เบ็่นอ"นพงได้ว่าเรื่องเดียวกนแน่ และโดยเหตุที ลงศ"กราชไว้แต่สม"ย อยุธยาจึงพอ ทราบได้ว่า นี่เองเบนตน ฉน่บแต่สมย นน ขำพเจาใคร่จะเติมสกหน่อยว่า หนงสือนี่เห็นจะแต่งภายหล"งสมย พระเร้ามาหมุดแห่งราชวงศ์อบบะสีดนานพอใช้ เพราะผู้แต่งโยงเอา พระราชาหมายนแห่งราชวงศ์โมกุลซึ่งเสวยราชย์แต่ ๒๐๔๓ ถึง ๒๐๙๙ นั้นเขาไปด้วยในจำพวกนิทานที่พระเร้าเนาวสว่านจารึกไว้ ในหอสูงสิบ สองเหลี่ยม จะว่าหมายความถึงหุมายนพระองศ์ไหนอีกก็ไม่ปรากฏ ว่ามีพระราชวงศ์ใดทรงพระนามอย่างนน ทางพุทธศาสนายงมีหนงสือที่พระเถระแต่งขนอีก ที่เบนหนง ลือใหญ่และสำกญ คือเรื่อง สํคีติยวํส ๑ มหายุทฺธกาวํส ๑ จุลฺลยุทฺธ การวํส ๑ ท 1 งสามเรื่องเย้นของสมเด็จพระวนรติ พุ นี่ชื่อเติมไม่ทราบ เย้นพระพิมลธรรมในรชกาลสมเคจพระเจากรุงธนบุรี แต่ถกถอด เพราะไม่ยอมถวายบงกมสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ตอนที่ทรงอำงพระ องศ์เบนอริยบุคคล มาถึงรชกาลทีหนึงไค้กลบเย้นพระพิมล ธรรมแล่ว เย้นสมเด็จพระวนรติ หรือพนรติตำแหน่งเจาอาวาสวดพระเชตุพน นอกจากแต่งหนงสือสามเรื่องนี่แลว มีเรื่องเล่ามาว่าเย้นผ้อ่านประกาศ พระราชพิธีสงคายนา และเบนแม่กองชำระพระไตรย้ฎกในงานนั้น หมวดพระอภิธรรม เย้นทีนบถือของพระเร้าแผ่นดินถึงห่ามมิให้ทรง สร้างสะพานขำมกูเมีองในกราวสร่างกรุงรตนโกสินทร์ได้ และได้เย้น ๙ ๐ พระอาจารย์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปทีมานุชิต'ชิโนรส ซึงได้ทรงเบนเจาอาวาสวคนนสืบต่อจากท่านมา ส่วนหนงสือทีท่าน แต่งนนฅนฉบบหายสูญไปหมดพกหนีง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชา นุภาพทรงพากเพียรคนหาจนกระ ทีงได้ทรงขอกดสำเนา ทีทรงทราบมา ว่ามีอยู่ในกรุงก้มพูชาได้มาเฉพาะเรื่อง สํกีฅิยวํส แต่ต่อมาไม่ชาได้ เรืองเดียวก้นนมาจากวดอินทาราม ก้นฉบบนท่านแต่งไว้เบนบาลี พระยาปริยิฅธรรมธาดา (แพ ตาลลกษมณ) เปรียญ แปลเบนไทย หอพระสมุดพิมพ์ขนไว้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ แต่อีกสองเรื่องน์นอยู่ ต่างแห่งก้น คืออยู่'ที่วคพระเชตุพนนนเอง แก้ในชนก้นไม่มีใครร้ว่า อยู่ จนทางวิดทลสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖ ๐ ว่ามีหนง์สือเก่าพลคอยู่ , ในกุฎีต่าง "I ได้รวบ ร วมไว้ สมเด็จ กรมพระยา ๆ ฅรสให้พระยาปริยก้ธรรมธาดาไปตรวจด ก็ได้มาทง มหายุทธการว 0 สทงจุลฺลยุทธการวํสแต่ไม่จบทงสองเรื่อง เรื่องแรก นนเบน พงศาวดารมอญ เกี่ยวก'บ เรื่องราชาธิราช ว่า สมเด็จกรม พระปรมานุชิตแก้เมื่อยง เบ็่นสาม เณรศิษย์ ของสมเด็จ พระ'วนรตไค้'ขอ ให้ท่านแต่งชน สวนเรื่องหลงเบนพระราชพงศาวดารไทยกรุงศรี อยุธยาแต่สรางกรุงมา ขาดตอนอยู่เพียงจุลศํก้ราช ๘ต๘ ร , ชกาลสม เด็จพระอินทราชา เรื่องเดิมของท่านเบนความเรียงจ้อยแก้วภาษาบาลี จุลฺลยุทธการวํสแปลออกเบนไทยพิมพ์ขนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ พระญาณ วิจิตร (สิทธ โลจนานนท์) เปรียญ เบ็ 1 นผู้แปล หนงสือที่เกิดขนในร'ชกาลน ยิงมี “กฎหมายลิลิต” ชองหลวง ธรรมสาตร ย่อกวามกฎหมายลกษณะอุทธรณ์ (พ.ศ. ๒๓๔๔) ๙ , © เรือง ๑ “ไตรภูมิโลกวินิจฉํย” ของพระยาธรรมปรีชา (แกว) ซึง เมือบวชอยุ่ได้เบึนพระรํฅนมุนีในรํชกาลสมเด็จพระเต่ากรุงธนบุรี ต่อ มาถูกคณะสงฆรงเกยจวาเบนกนอาสตยสอพลอ ออกความเหนวาพระ สงฆควรถวายบิงกมแค่พระเต่ากรงธนบุรีได้จึงต่องสึกออก แต่สมเด็จ พระพุทธยอดพ้า ๆ ทรงเสียคายความรู้จึ่งทรงตงให้เบนอาต่กษณ์ และ ในทิสุคได้เลื่อนขํ้นเ'มนพระยาธรรมปรีชานิเรื่องหนีง กบอีกเรืองหนึง คือ “นิราสนครศรีธรรมราช” ของสมเด็จพระบวรราชเต่ามหา สรสีหนาท จึงพอจะสรุปความได้ว่า สมเด็จพระพุทธยอดพาๆ ทรง'ฟืนฟู อกษรศาสตร์เบื่นอเนกนโ) นอกจากที่ทรงพระราชนิพนธ์เองแต่วยํงมี ที่พระองค์ท่านและเต่านายอื่น พุ ทรงส่งเสริมให้ผ้มีกวามร้แปลและแต่ง ขนหลายเรื่อง เรื่องเหล่านืมลเดิมเบึนของนานาชาติหลายราย อาทิ เช่น จีน ลงกา บาลี ฯลฯ สิลปลน ๆ นอกจากวรรณกรรมแต่ว พระพุทธยอดพา ๆ ทรงส่งเสริมศิลป อื่นอีกเบ็่นอเนกประการ ในทางสถาบฅยกรรมอาการที่นิบิเบ็่นวิจิตร ศิลป ได้แก่วดพระศรีรตนศาสดารามเบนอาทิ จริงอยู่สถานที่นิไค้ มีการซ่อมแซมอย่างท่วมาแต่วหลายคราว แต่ก็ดำเนินแบบแผนตาม รอยที่วางไว้ในรชกาลที่ ต นินิท่งนินิ ในวดนิเองมีสี่งที่ไม่ได้ซ่อม แปลงพอจะเห็นได้ชดว่าผื่มีอกรงรชกาลทิ ๏ เบนอย่างไร ก็คือบาน 6^๒ ประตูพระอุโบสถทีผงด้วยมุกค์เบ็่นภาพรามเกียรต ทางวิจิตรกรรมเรา ทราบได้ว่าทรงส่งเสริมไว้มาก เพราะไทยเราถือว่าอาการทางศาสนา เช่นโบสถ์ย่อมตกแต่งด้วยวิจิตรกรรม ในรชกาลนํ้ทรงสร่างวิศวาอา รามไว้มากแต่ละวิคย่อมมีอาคารหลายหลง แต่ละหลงมีภาพประคบ ผนํง์ภายใน เช่นวิดพระเชฅุพน วิดสระเกศ และวิดพระศรืรตน- ศาสดารามทีกล่าวมาแลว แต่ภาพเหล่านํแห่งใดที่เบึนผื่มือสมยริชกาล ที่ ๑ เบ็นการยากที่-จะรได้ เพราะได้มีการลบเลือนควยฝนรวหรือเก่า โดยธรรมชาติแทบทุกราย เช่นที่วิดพระเชตพนเช่าใจว่าในการซ่อม ใหญ่ในริชกาลที ๓ ได้เขียนภาพใหม่แทบทว้ แต่ถึงกระนนก็คี เช่าใจ ว่าการเขียนกรงนนกงจะเดินตามรอยเดิมเบนส่วนมาก นบว่าผี่มือแบบ เคียวกนยํงเหลืออยู่ ในทางนาฏกรรม เราร้จากเอกสาร เช่นพระราชพงศาวดาร ฉบบเช่าพระยาทีพากรวงศ และหน์งลือพระราชวิจารณ์ และหมาย ริบส่งในริชกาลนน ที่'ได้นำมาพิมพ์กน , ในสม'เย'น'ว่า ทรงอุปถไ)ก์ บำรุงนาฏศิลปควยพระองค์เอง ทรงมีช่าราชการนว้ารำไว้ในพระราช ส่านว้าวิงหลวง และวิงหนำก็ทรงมีนว้ารำไว้อีกเหมือนต้น บาง กราวปรากฏว่าได้เล่นออกโรงประชนก่น เช่นโนการสมโภชพระบรม อ3สมเคีจพระปฐมๆ มีโขนชกรอกกลางแปลงตอนทศกณฐ์ยกทพ พริอมด้วยสิบชนสิบรถ โขนวงหลวงเบึนทพพระราม โขนวิงหนำ เบนทพยกษ์รบต้น ในทองสนามหลวง เมื่อถึงยว้าษ์จะต้องแพ้ โขน เครืองโขนหรือละกอนกรงน 8 น ๙๓ ก็ว่ายํงมีอยู่บางชั้นในสำนกต่าง ‘ตุ เรื่องนาฏกรรมจะหาอ่านได้เบีน อย่างละเอียดละออดี , ในบคนก็ยงมี ( ๓๖ ) ในทางปฏิมากรรมไม่ส้มีชั้นใหม่เท่าไร ทรงเพ่งเล็งแต่ทีจะรวบ รวมของเก่ามารกิษาไว้มิให้ชอกชาต่อไป เช่นทรงเชิญพระพุทธรูป ใหญ่จากพระวิหารหลวงวิดมหาธาตุ ในกรุงสุโขท'ยมาประติษ! านไว้ กลางพระนกร เตรียมจะทรงสฑ้งพระวิหารถวายในวิดสุทศนีและ ถวายพระนามว่า “พระศรีสากยมุนี” ทรงเชิญพระพุทธรูปเก่า‘ตุ จาก เมืองเหนือหลายแห่งมารวบรวมไว้ในวิดพระเชตุพนเบนอนมาก ที เบีนพระพุทธรปชนเอกทรงสฑ้งชั้นใหม่ก็มี “พระคนธารรา!” พระ องค์หนืง ฃุคคลิกลกษณะ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพาจุฬาโลก มีพระชนม์ยืนนาน ถึง ๗๒ บีครึ่ง มิได้มีเวลาที่ประชวรทุพพลภาพกี่มากน์อยจนในตอน อวสานแห่งพระชนมายุไม่นานเท่าไรนกิ ทงนกำเราพิเคราะห์ดพระ ราชประวติ เราจะเห็นได้ว่า ทรงเบีนบุคคลทีสม์าเสมอบำเพ็ญพระ ราชกิจเบีนระเบียบ ^ ๓๗ ' ส่วนพระนิสยอธยาศโ)ว่าทรงพระบีญญา เฉียบแหลมประกอบพระสติมนคงหนกิแน่น ทรงตงอย่ในสจริตธรรม ทรงรู้จกประมาณเหตุการณ์เบีนอย่างดี ทรงมีพระราชหฤท่ยแน่วแน่ (๓๖) เรื่อง “โขน” ของนายธนิฅ อยู่โพธ พิมพ์ในงานพระศพพระองค์เจาเฉลิม เขฅรมงคล พ.ศ. ๒๕๐๐ (๓๗) พระราชพงศาวคารของเจาพระยาท้พากรวงศ รชกาลที่ ๑ ฉบ'บโรงพิมพ์พระ จนทร พ.ศ. ๒๔๗๘ หนา ๓๐๘—๓©๐ ๙๔ แข็งขน ทรงมีพระอนามไเแข็งแกร่ง กุณเหล่านประกอบกนทำให้ พระองค์ทรงมีความสำเร็จในชีวิฅทุกดานฅลอคเวลาอนยาว นอกจาก ทวงมีโชคดีที่บุคคลซึงทรงเลือกใช้แต่ละหนำที มกเบนบุคคลทีสามารถ ซือฅรงต่อพระองค์ และมีชีวิตอย่ร่วมทำงานสนองพระเดชพระคุณจน เกือบจะฅลอดร'ชกาลแทบทุกพระองค์ทุกท่าน แม้สมเด็จพระอนุชา ธิราชสมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสีหนาท ซึงมีพระนิส'ย'ไม่เหมือน กนกบ พระองค์ เพราะ ดเดือด รุนแรงนน ก็ทรง ทำงาน ร่วมก”น ได้เบื่น อย่างดี พระองค์หนึงเบื่นผู้รุดหนำ อีกพระองค์หนึงเบนผู้เหนํยว รง เมื่อผสมกนแล่วย่อมได้ผลพอสมควร ดงจะเห็นได้จากงานพระ ราชสงคราม ซึ่งทรงทำในระหว่างที่เบ็'นแม่ท'พของสมเด็จพระเจำกรุง ธนบุรี - ทีงขณะปฏิบฅิการใต้บ'งกบบญชาท่าน ทง์ขณะทรงบญชาการ ท'พแทนพระองค์พระเจาแผ่นดิน ตลอดถึงงานพระราชสงครามและ งานก่อร่างสร่างฅวของเมืองไทยในร'ชกาลของท่านเองเรื่อยมา บาง คราวพระนิล่ยขดกนรุนแรงจนแทบจะทรงวิวาทกนเบี่ดเผย ก็กือที่มี แข่งเรือ แต่ก็ระงบโทสะแก่กนได้โดยสมเด็จพระพี่นางทงสองพระ องค์เข่าออนวอนไกล่เกลีย. เจาภาพขอขอบ ษระทยและ ขอบษร ะคณ แด่ทกท่านท01ณา เสดจและมาเบึนเกียรติในงานฌาปนกิจสทน หากการ ริบรองขาดตกบกพรองไม่ทาถึง หรือไม่เรียบรอยด็วย ประการใด ๆ ขอได้โปรดประทานอม่ยและให้อภํยดาย