ว ธ การวาดcadดดยการพ มต วเลขแต ต องพ ม

1เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) หน่วยที่ 1 เร่ิมต้นการใช้งานโปรแกรม Auto CADหวั ข้อเรื่อง 1.1 โปรแกรม Auto CAD 1.2 การจดั การไฟล์ 1.3 การต้งั ค่าเบ้ืองตน้ ในการทาํ งาน 1.4 ระบบพกิ ดั สาํ หรับการเขียนแบบสาระสําคญั Auto CAD เป็นซอฟทแ์ วร์ของบริษทั Autodesk ซ่ึงไดร้ ับการพฒั นาต่อเนื่อง ผลิตออกมาคร้ังแรกในปี ค.ศ. 1980 เพื่อใชใ้ นงานช่วยออกแบบอุตสาหกรรม ภายหลงั มีการใชค้ อมพิวเตอร์ในงานออกแบบสถาปัตยกรรมมากข้ึน Auto CAD จึงถูกนาํ มาใชใ้ นงานช่วยเขียนแบบ (CAD) รวมท้งั งานทางดา้ นอ่ืน ๆ อีกหลากหลาย โปรแกรม Auto CAD มีเคร่ืองมือช่วยให้งานเขียนแบบง่ายและรวดเร็วมากมาย เช่นเครื่องมือ ในการลอกแบบ เครื่องมือในการคาํ นวณ และเขียนขนาดอตั โนมตั ิ เป็ นตน้ ขอ้ มูลงาน เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์จะถูกจดั เก็บในรูปของขอ้ มูลอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีไม่ตอ้ งการท่ีเก็บมากเหมือนกระดาษ และท่ีสําคญั ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดงั กล่าวสามารถเรียกกลับมาบนหน้าจอเพื่อแก้ไขปรับเปล่ียน ส่งผา่ นระบบสื่อสารเครือข่าย หรือพมิ พอ์ อกเครื่องพมิ พ์ ไดอ้ ยา่ งสะดวกง่ายดายจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกการใชง้ านของโปรแกรม Auto CAD เบ้ืองตน้ ได้ 2. บอกคาํ สง่ั หลกั ที่ใชใ้ นการจดั การไฟลไ์ ด้ 3. อธิบายข้นั ตอนการต้งั คา่ เบ้ืองตน้ ในงานเขียนแบบได้ 4. บอกระบบพกิ ดั สาํ หรับการเขียนแบบได้ 5. มีเจตคติท่ีดีตามแนวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้

2เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) หน่วยท่ี 1 เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม Auto CADบทนํา CAD ยอ่ มาจาก Computer Aided Design หรือ Computer Aided Drafting หมายถึง การนาํ เอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยงานออกแบบ และเขียนแบบ แทนการเขียนแบบด้วย โต๊ะเขียนแบบ(ประพฒั น์ อุทโยกาศ,พ.ต, 2541) ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีกล่าวมีองคป์ ระกอบ 3 ส่วนคือ 1. ตวั เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) 2. โปรแกรมสาํ เร็จรูป (Software) 3. บุคลากร (People ware) องคป์ ระกอบดงั กล่าวขา้ งตน้ มีความสาํ คญั ทุกองคป์ ระกอบ ถา้ องคป์ ระกอบใด องคป์ ระกอบหน่ึงด้อยลงก็จะมีผลให้การเขียนแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ขาดความสมบูรณ์ลงได้ เช่นมีตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ดี มีโปรแกรมสําเร็จรูปที่มีความสามารถสูงเยย่ี มแต่บุคลากรเขียนแบบไม่เป็ นงานเขียนแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์กจ็ ะไดผ้ ลดี สมบรู ณ์ไมไ่ ด้ การใช้ Software ประเภท CAD (Computer Aided Design) ผูเ้ ขียนแบบก็จะตอ้ งใชค้ วามพยายามในการทาํ ให้ เส้น สัญลกั ษณ์ และการต้งั ค่าต่าง ๆ ถูกตอ้ งตามมาตรฐานการเขียนแบบมิใช่ปล่อยละเลยไปตามค่าเริ่มตน้ (Default) ของโปรแกรม โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นเพียงเคร่ืองมือในการทาํ งานใหม้ ีความสะดวกรวดเร็วข้ึน แต่เน้ือหาสาระสําคญั ยงั ตอ้ งอาศยั ความรู้ ความเขา้ ใจในพ้ืนฐานการเขียนแบบ และความเขา้ ใจในเร่ืองโครงสร้าง การออกแบบ วสั ดุ อุปกรณ์การเรียนรู้ในการใชง้ านเทคโนโลยี ประเภท CAD ต่าง ๆ สิ่งสาํ คญั อีกประการหน่ึงนอกจากการสร้างภาพ 2 มิติ หรือ 3 มิติแลว้ น้นั ลกั ษณะของเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ โดยพ้ืนฐานจะเหมาะสมกบั การทาํ ซ้าํ บางส่วน การจดั ระบบ การจดั เก็บและจาํ แนกขอ้ มูล การคาํ นวณข้นั สูง การเก็บและนาํ ไปใชใ้ หม่ รวมท้งั ระบบวิธีในการทาํ งานร่วมกนั การเผยแพร่ และส่งต่อขอ้ มูล ผเู้ รียนจึงควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในการทาํ งานเพือ่ เพมิ่ ศกั ยภาพของตนเอง ต่อไป

3เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)1.1 โปรแกรม Auto CAD โปรแกรม Auto CAD เป็ นโปรแกรมสําหรับงานออกแบบเหมาะสําหรับการเขียนแบบผลิตภณั ฑแ์ ละโครงสร้างอาคาร โดยตวั โปรแกรมมีเครื่องมืออาํ นวยความสะดวกในการใชง้ าน เช่นเครื่องมือวดั ระยะ การคาํ นวณระยะห่างอตั โนมตั ิ รวมท้งั ยงั สามารถจาํ ลองงานท่ีออกแบบออกมาในรูปของวตั ถุ 3 มิติไดด้ ว้ ย งานท่ีสร้างจากโปรแกรมน้ีจึงมีความคลาดเคลื่อนนอ้ ยมากและสะดวกในการนาํ ไปใชใ้ นการสร้างงานจริง 1.1.1 การเปิ ดโปรแกรม Auto CAD Start>Programs>Autodesk>Auto CAD 2010 หรือ เราสามารถเปิ ดโปรแกรมโดยตรงที่ไอคอนบนหนา้ จอเดสกท์ อปไดเ้ ลย ซ่ึงจะช่วยให้สะดวกกวา่ รูปท่ี 1.1 การเปิ ดโปรแกรม Auto CAD 2010

4เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) ในส่วนของหนา้ จอโปรแกรม Auto CAD 2010 น้นั ไดม้ ีการจดั เตรียมหนา้ จอสาํ หรับการทาํ งาน (work space) ในดา้ นงานเขียนแบบแบ่งออกเป็น 4 แบบดว้ ยกนั และสามารถเรียกใชห้ นา้ จอแต่ละแบบไดโ้ ดย เลือกที่ Manu Bar>Tools >Workspaces รูปที่ 1.2 หนา้ จอการทาํ งาน (work space) 1.1.2 หนา้ จอหลกั ของ Auto CAD 1.1.2.1 หนา้ จอการทาํ งานแบบ 2D Drafting & Annotation เป็ นหนา้ จอโปรแกรมท่ีทาํ การจดั กลุ่ม คาํ ส่ัง ของรูปสัญลกั ษณ์ในหมวดต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การใชง้ าน การเขียนแบบ 2 มิติใหอ้ ยู่รวมกนั เพื่อความสะดวกในการเลือกใชค้ าํ สัง่ ในงานเขียนแบบ 2 มิติ รูปท่ี 1.3 หนา้ จอการทาํ งานแบบ 2D Drafting & Annotation

5เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)หมายเหตุ กรณีท่ี Manu Bar ไม่มีบนแทป็ (ถูกปิ ดไว)้ หนา้ จอสามารถเปิ ดการใชง้ านไดด้ งั น้ี รูปท่ี 1.4 การเปิ ดใชง้ าน Manu Bar 1.1.2.2 หนา้ จอการทาํ งานแบบ 3D Modeling เป็ นหนา้ จอโปรแกรมที่ทาํ การจดั กลุ่มคาํ ส่ังของรูปสัญลกั ษณ์ในหมวดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใชง้ าน การเขียนแบบงานวตั ถุ 2 มิติและ 3 มิติระดบั สูงใหอ้ ยู่รวมกนั เพื่อความสะดวกในการเลือกใชค้ าํ สั่งสําหรับการสร้างและการแกไ้ ขชิ้นงาน3 มิติรูปที่ 1.5 หนา้ จอการทาํ งานแบบ 3D Modeling

6เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.1.2.3 หนา้ จอการทาํ งานแบบ Auto CAD Classic เป็นหนา้ จอโปรแกรมที่มีลกั ษณะรูปแบบเหมือนกบั หนา้ จอโปรแกรม Auto CAD รุ่นก่อน ๆ ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ทู้ ี่เคยใชง้ านโปรแกรมมีความคุน้ เคย ในการเรียกใชค้ าํ สั่ง ในการเขียนแบบงานวตั ถุ 2 มิติและ 3 มิติ รูปท่ี 1.6 หนา้ จอการทาํ งานแบบ Auto CAD Classic 1.1.2.4 หนา้ จอการทาํ งานแบบ Initial Setup Workspace เป็ นหนา้ จอโปรแกรมท่ีทาํ การจดักลุ่มคาํ ส่ังของรูปสัญลกั ษณ์ในหมวดต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การใชง้ าน การเขียนแบบงานวตั ถุ 2 มิติระดบั พ้ืนฐานใหอ้ ยรู่ วมกนั เพอื่ ความสะดวกในการเลือกใชค้ าํ สัง่ รูปที่ 1.7 หนา้ จอการทาํ งานแบบ Initial Setup Workspace

7เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) ส่วนประกอบหนา้ จอหลกั ของ Auto CAD 2010 - Application menu เป็นเมนูท่ีรวบรวมกลุ่มคาํ ส่งั หลกั ทว่ั ๆ ไป ที่ทุกโปรแกรมจาํ เป็นตอ้ งมีเช่น คาํ ส่งั New, Open, Save หรือ Print เป็นตน้ - Standard Toolbars รายการคาํ ส่งั หลกั ของโปรแกรม เช่น เปิ ด/ปิ ด แกไ้ ข แทรก เครื่องมือ - Pulldown Menu เป็นกลุ่มของคาํ สง่ั ท่ีจดั เป็ นหมวดหมู่สาํ หรับการใชง้ าน - Info Center เป็นส่วนท่ีแสดงการคน้ หาขอ้ มลู ผา่ นอินเตอร์เน็ต - Ribbon แถบเคร่ืองมือที่รวบรวมเอาคาํ สัง่ ต่าง ๆ ที่เก่ียวกบั การเขียนชิ้นงานมาไวใ้ นลกั ษณะของรูปภาพ เพ่อื ใหส้ ามารถส่ือความหมายไดง้ ่ายและสะดวกแก่การใชง้ าน ซ่ึงคาํ สั่งเหล่าน้ีก็มีอยใู่ น Menu Bar อยแู่ ลว้ ในส่วนน้ีจึงเป็นเสมือน Short Cut - Drawing Area เป็นส่วนพ้ืนท่ีในการทาํ งานของเรา มีค่าเป็น Infinity สามารถสร้างแบบแปลนไดไ้ ม่จาํ กดัApplication menu Title bar Pulldown Menu Info Center Standard Toolbars Ribbon Drawing Area Model/paper Annotation BarUCS Crosshairs Model Space LayoutCommand Windows Status Bar Application Status Bar Menuรูปที่ 1.8 หนา้ ต่างส่วนประกอบเบ้ืองตน้ ของโปรแกรม

8เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) - Command line เป็นบรรทดั คอยรับคาํ ส่งั รวมถึงแสดงรายละเอียดของคาํ สัง่ เพ่ือใช้สาํ หรับการโตต้ อบระหวา่ งโปรแกรมและผใู้ ชง้ านท่ีเป็นขอ้ มูลสาํ หรับสร้างชิ้นงาน - Status Bar แถบแสดงสถานะปัจจุบนั ของโปรแกรม - UCS จุดกาํ เนิด (User Coordinate System) หรือจุด (0,0)เป็นส่วนที่ใชแ้ สดงระนาบการเขียนในลกั ษณะต่าง ๆ เช่นระนาบ 2 มิติ จะแสดงทิศทางของเส้นแกน X, Y และถา้ เป็นระนาบ 3 มิติจะแสดงทิศทางของเส้นแกน X, Y และ Z - Crosshair เป็นเคอร์เซอร์ท่ีใชแ้ สดงตาํ แหน่งระนาบแกน X และระนาบแกน Y บนพ้นื ที่ทาํ งาน เคลื่อนที่ตามการเคล่ือนที่ของเมาส์ เปรียบไดก้ บั ปลายปากกาเขียนแบบที่ใชใ้ นการเขียนตามคาํ ส่งั กาํ หนด - Model Space เป็นพ้ืนที่ท่ีสาํ หรับการออกแบบหรือเขียนแบบงาน ตามขนาดจริง หรือแบบ Full Scale - Layout 1 และ Layout 2 เป็นส่วนท่ีเป็น Paper Space หรือหนา้ กระดาษ ใชส้ าํ หรับการวางรูปในกระดาษและกาํ หนดรายละเอียด ก่อนทาํ การพมิ พ์ - Statusbar เป็นส่วนท่ีแสดงสถานะของคาํ ส่งั ช่วยในการทาํ งานของโปรแกรมและแสดงพิกดั ของ Cross Hair ในขณะทาํ งาน - Model/Paper เป็นแทป็ ท่ีใชส้ าํ หรับสลบั หนา้ จอการทาํ งานของส่วน Model และ Paperในพ้ืนท่ีการทาํ งานของส่วน Layout - Annotation Bar เป็นแทป็ ท่ีใชส้ าํ หรับเลือกมาตราส่วนในการแสดงแบบงานบนพ้ืนที่ของการทาํ งานของส่วน Layout ในขณะอยใู่ นโหมด Model - Application Status Bar Menu เป็นส่วนท่ีใชส้ าํ หรับเพิม่ หรือลดเคร่ืองมือที่ใชช้ ่วยในแสดงแบบงานบนพ้นื ท่ีของการทาํ งานของส่วน Layout

9เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)1.2 การจดั การไฟล์ การจดั การไฟลใ์ นการทาํ งานของโปรแกรมเขียนแบบ เป็นกลุ่มคาํ สง่ั มาตรฐานท่ีใชก้ นั ในทุก ๆ โปรแกรมไดแ้ ก่ การสร้างไฟล์งานใหม่, การเปิ ดไฟลง์ านท่ีมีอยแู่ ลว้ เพ่ือนาํ มาแกไ้ ข และการบนั ทึก ซ่ึงจะช่วยใหผ้ เู้ ขียนแบบงานน้นั สามารถเพ่ิม หรือทาํ การแกไ้ ขแบบงานในไฟล์งานต่าง ๆ ได้และจึงทาํ การบนั ทึกและจดั เก็บต่อไป 1.2.1 การสร้างไฟลง์ านใหม่ (New) เป็นการสร้างไฟลข์ อ้ มูลเพื่อเตรียมพ้นื ท่ีสําหรับการเขียนแบบงานเพิ่มเติม เมื่อทาํ การสร้างไฟล์งานใหม่ โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ เพื่อให้ผใู้ ชง้ านไดท้ าํ การเลือกรูปแบบของกระดาษ(Template) ท่ีโปรแกรมจดั เตรียมไว้ และในส่วนของ Titlebar จะแสดงช่ือไฟล์งานตาม ลาํ ดบั เช่นDrawing2, Drawing3 โดยมีรูปแบบคาํ สั่งดงั น้ี โดยเปิ ดหนา้ เอกสารใหม่โดยคาํ ส่ัง New หรือเปิ ดไฟลง์ านแบบซ่ึงมีการเขียนมาก่อนหนา้แลว้ โดยคาํ สง่ั Open การเปิ ดหนา้ เอกสารใหม่ ทาํ ไดโ้ ดยเลือกที่ Menu bar… เลือก File เลือก New… รูปท่ี 1.9 การเปิ ดหนา้ เอกสารใหม่ของโปรแกรม

10เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) เม่ือทาํ การเลือกคาํ สั่งแลว้ โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Select Template เพื่อใหผ้ ใู้ ชง้ านไดท้ าํ การเลือกรูปแบบของกระดาษท่ีตอ้ งการที่ใชก้ นั อยใู่ นมาตรฐานงานเขียนแบบระบบต่าง ๆ โดยท่ีในส่วนรายละเอียดของกรอบโตต้ อบน้นั จะแสดงรายละเอียดดงั น้ีคือ Look in: เป็นส่วนท่ีแสดงตาํ แหน่งที่จดั เก็บไฟล์ Template Name: เป็นส่วนท่ีใชส้ าํ หรับแสดงรูปแบบของกระดาษในมาตรฐานต่าง ๆ ท่ีโปรแกรมจดั เตรียมไวใ้ หผ้ ใู้ ชง้ าน Preview: เป็นส่วนที่แสดงภาพของรูปแบบกระดาษก่อนเรียกใชง้ าน File name: เป็นส่วนที่ใชแ้ สดงช่ือของรูปแบบของกระดาษท่ีถูกเลือก Files of type: เป็นส่วนที่แสดงนามสกุลของไฟล์ Template Open: เป็นป่ ุมสาํ หรับเปิ ดเพ่ือนาํ รูปแบบของกระดาษมาใชง้ าน Cancel: เป็นป่ ุมสาํ หรับยกเลิกการใชค้ าํ สั่ง สร้างไฟลง์ านใหม่ 1.2.2 การเปิ ดไฟลง์ านท่ีมีอยแู่ ลว้ (Open) เป็ นการเปิ ดไฟล์งานที่มีอยแู่ ลว้ เพ่ือนาํ มาแกไ้ ขหรือปรับปรุงแบบงานให้มีความสมบูรณ์มากยงิ่ ข้ึน ซ่ึงเมื่อเลือกคาํ ส่งั แลว้ โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ เพ่ือให้ผใู้ ชง้ านไดท้ าํ การคน้ หาไฟล์งานที่มีอยแู่ ลว้ ท่ีจดั เกบ็ ไว้ และเม่ือทาํ การเปิ ดไฟลง์ านข้ึนมาแลว้ ในส่วนของ Titlebar จะแสดงชื่อของไฟลง์ านท่ีเปิ ดข้ึนมาโดยมีรูปแบบคาํ สั่งดงั น้ี รูปท่ี 1.10 การเปิ ดไฟลง์ านของโปรแกรม

11เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) เม่ือทาํ การเลือกคาํ ส่งั แลว้ โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Select File เพ่อื ใหผ้ ใู้ ชง้ านไดท้ าํการคน้ หาไฟลง์ าน โดยท่ีในส่วนรายละเอียดของกรอบโตต้ อบน้นั จะแสดงรายละเอียดดงั น้ีคือ Look in: เป็นส่วนที่แสดงตาํ แหน่งที่อยขู่ องไฟลง์ าน Name: เป็นส่วนท่ีใชส้ าํ หรับแสดงชื่อของไฟลง์ าน Preview: เป็นส่วนท่ีแสดงภาพของไฟลง์ านก่อนเปิ ดใชง้ าน File name: เป็นส่วนท่ีใชแ้ สดงช่ือของไฟลง์ านท่ีถูกเลือก Files of type: เป็นส่วนท่ีแสดงนามสกลุ ของไฟลง์ าน Open: เป็นป่ ุมสาํ หรับเปิ ดไฟลง์ านมาใชง้ าน Cancel: เป็นป่ ุมสาํ หรับยกเลิกการใชค้ าํ สั่งเปิ ดไฟลง์ านมีอยแู่ ลว้ 1.2.3 การจดั เก็บไฟลง์ าน (Save, Save as) เป็นการจดั เก็บไฟลง์ านท่ีผใู้ ชง้ าน ทาํ การเขียนแบบงานเสร็จเรียบร้อย หรืออาจจะยงั ไม่เสร็จสมบรู ณ์ไวย้ งั ท่ีจดั เตรียมไว้ เพ่อื นาํ ไปใชง้ านหรือทาํ การแกไ้ ขภายหลงั ซ่ึงมีรูปคาํ สัง่ ดงั น้ีคือ รูปที่ 1.11 การบนั ทึกไฟลง์ านของโปรแกรม

12เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) เมื่อทาํ การเลือกคาํ ส่งั บนั ทึกไฟลข์ อ้ มูลแลว้ โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Save DrawingAs เพื่อใหผ้ ใู้ ชง้ านไดท้ าํ การต้งั ช่ือไฟลง์ านใชใ้ นการบนั ทึก โดยที่ในส่วนรายละเอียดของกรอบโตต้ อบน้นั จะแสดงรายละเอียดดงั น้ีคือ Save in: เป็นส่วนท่ีแสดงตาํ แหน่งท่ีใชใ้ นการบนั ทึกไฟลง์ าน Name: เป็นส่วนที่ใชส้ าํ หรับแสดงช่ือของไฟลง์ าน Preview: เป็นส่วนท่ีแสดงภาพของไฟลง์ านเม่ือทาํ การเลือก File name: เป็นส่วนท่ีใชบ้ นั ทึกช่ือของไฟลง์ านท่ีจดั เก็บ Files of type: เป็นส่วนที่แสดงนามสกลุ ของไฟลง์ าน Save: เป็นป่ ุมสาํ หรับบนั ทึกไฟลง์ าน Cancel: เป็นป่ ุมสาํ หรับยกเลิกการใชค้ าํ สั่งบนั ทึกไฟลง์ าน รูปแบบไฟลม์ าตรฐานของโปรแกรม Auto CAD คือ xxx.dwg (.dwg) ซ่ึงการบนั ทึกไฟลง์ านจะมีลกั ษณะการใชง้ านคลา้ ย ๆ กบั การใชง้ านโปรแกรมพ้ืนฐานทว่ั ไป คือ 1.2.3.1 Save จะเป็ นการบนั ทึกไฟล์ ตามรูปแบบมาตรฐานของไฟล์ที่ใชอ้ ยปู่ ัจจุบนั เช่นเมื่อทาํ งานและมีการบนั ทึกไฟลง์ านแลว้ โปรแกรมจะไม่รอใหย้ นื ยนั การบนั ทึกคร้ังต่อไป 1.2.3.2 Save As เป็นการบนั ทึกไฟล์ โดยผใู้ ชง้ านตอ้ งทาํ การเลือกรูปแบบของการบนั ทึกทุกคร้ัง เช่น ตอ้ งการบนั ทึกตามรูปแบบของ Auto CAD2000 หรือ Auto CAD2004 เป็ นตน้ ซ่ึงเหมาะสาํ หรับการบนั ทึกไฟล์ เพ่ือนาํ ไปเปิ ดกบั Auto CAD ในรุ่นที่เก่ากวา่ เมื่อเปิ ดไฟลใ์ หม่ จะไดห้ นา้ ต่างของโปรแกรมตามรูป ผใู้ ชส้ ามารถปรับเปล่ียนรูปแบบและสีหนา้ จอไดต้ ามความตอ้ งการหมายเหตุ 1) ในกรณีท่ีทาํ การเปิ ดไฟลง์ านใหม่ (Drawing...) โปรแกรมจะเขา้ สู่ คาํ ส่งั Save as เพ่อื ให้ผใู้ ชง้ านทาํ การต้งั ชื่อในการจดั เกบ็ ไฟลง์ านใหม่ 2) ในกรณีท่ีทาํ การเปิ ดไฟลง์ านท่ีมีอยแู่ ลว้ ข้ึนมาแกไ้ ขและทาํ การ จดั เกบ็ โปรแกรมจะทาํการบนั ทึกโดยใชช้ ื่อเดิม 3) ในกรณีท่ีทาํ การเปิ ดไฟลง์ านที่มีอยแู่ ลว้ ข้ึนมาแกไ้ ขและทาํ การจดั เกบ็ เป็ นชื่ออ่ืน จะตอ้ งเลือกคาํ ส่งั Save as ในการจดั เก็บเท่าน้นั

13เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) การเรียกใช้คาํ ส่ังในการทาํ งาน ในสภาวะปกติ ท่ีโปรแกรมพร้อมรับคาํ สัง่ ท่ี Command line ผใู้ ชส้ ามารถพิมพค์ าํ ส่งั ตา่ ง ๆ ที่Command line พมิ พค์ าํ สง่ั คาํ เตม็ หรือ ตวั ยอ่ (Short Key) จากแป้ นพิมพ์ ลงบนบรรทดั Command: รูปท่ี 1.12 การพิมพค์ าํ ส่งั ท่ีบรรทดั Command ถา้ ตอ้ งการเรียก Command Line ใหแ้ สดงผล เลือกที่ Menu bar… Tools…Command Lineหรือกดป่ ุมท่ี Keyboard “Ctrl + 9” รูปที่ 1.13 การเรียกใช้ Command line จาก Tool icon ใช้เมาส์คลิกเลือกคาํ สั่งจากกลุ่มของ Pulldown Menu ซ่ึงในส่วนของ Menu ไดถ้ ูกแบ่งออกเป็ นกลุ่ม ๆ ตามการใชง้ าน แต่ละประเภท และในส่วนของคาํ สั่ง แต่ละคาํ สั่ง ยงั มีคาํ สั่ง ยอ่ ย ซ่อนอยใู่ นคาํ สั่งน้นั โดยสังเกตไดจ้ าก เครื่องหมายสามเหลี่ยมสี ดาํ หลงั คาํ ส่งั น้นั ๆ รูปท่ี 1.14 การเลือกคาํ สัง่ จาก Pulldown Menu

14เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) ใชเ้ มาส์คลิกเลือกรูปสญั ลกั ษณ์ของคาํ สั่งในกลุ่มคาํ สง่ั Ribbon ท่ีแสดงอยบู่ นหนา้ จอ โดยเม่ือเล่ือนตาํ เหน่ง Mouse ไปยงั รูปสัญลกั ษณ์น้นั ๆ โปรแกรมจะแสดงช่ือของคาํ สั่ง และลกั ษณะการใช้งานโดยอตั โนมตั ิ รูปที่ 1.15 การเลือกคาํ สัง่ จาก Ribbon หากตอ้ งการออกจากคาํ สัง่ หรือยกเลิกคาํ สง่ั ขณะน้นั ใหก้ ดป่ ุม “Esc” สิ่งที่สาํ คญั ท่ีสุด ในการใชง้ านโปรแกรม Auto CAD คือ ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งติดต่อกบั โปรแกรมผา่ นทาง Command line ตลอดเวลา เพราะ Command line จะเป็นส่วนที่บอกข้นั ตอนของคาํ ส่งั ต่าง ๆวา่ ใน ขณะน้นั จะตอ้ งทาํ อะไร หรือโปรแกรมตอ้ งการรับขอ้ มลู บางอยา่ งจากผใู้ ช้ ในบางคาํ ส่งั หากผใู้ ชง้ านไม่ยนื ยนั คาํ ส่งั หรือจบคาํ ส่งั ในช่วงน้นั โปรแกรมจะไม่ดาํ เนินการใด ๆ ต่อ รูปท่ี 1.16 การติดต่อกบั โปรแกรม ผา่ นทาง Command line

15เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)1.3 การต้งั ค่าเบ้ืองตน้ ในการทาํ งาน 1.3.1 การปรับแตง่ หนา้ จอแสดงผล เพอื่ เตรียมความพร้อมในการเขียนแบบ คาํ ส่ัง Options เลือกคาํ สั่ง Tools ท่ี Menu bar > Tools > Options… ผูใ้ ช้งานสามารถปรับเปล่ียนรูปแบบการวางเครื่องมือต่าง ๆ และสภาพแวดล้อมของโปรแกรมไดต้ ามความพอใจ โดยทวั่ ไปจะข้ึนอยกู่ บั ขนาดของจอภาพท่ีใช้ และสีที่ชอบ เน่ืองจากในการออกแบบตอ้ งใชเ้ วลาในการทาํ งานเป็ นเวลานาน ๆ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอ้ มท่ีดีจะช่วยให้ผูใ้ ช้งานไม่รู้สึกอึดอดั และไม่เครียดเวลาทาํ งาน วิธีปรับแต่งโดยเลือกคาํ สั่ง Tools ที่ menubar…Options… รูปท่ี 1.17 การปรับแตง่ หนา้ จอแสดงผล คาํ ส่งั Options

16เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Display: ใชส้ าํ หรับปรับแต่งหนา้ จอคอมพิวเตอร์ เช่น ตอ้ งการใหแ้ สดง Scroll bars, ToolTips,… รวมถึงการปรับแต่งสีในส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม ตามความพอใจของผใู้ ชง้ าน เช่น สีพ้ืน ตวั อกั ษร และการปรับขนาดของ Crosshair/Pointer เป็ นตน้ โดยทวั่ ไปจะปรับแต่งดงั น้ี รูปที่ 1.2 แสดงหนา้ ต่าง Options ในส่วน Display รูปที่ 1.18 ส่วนประกอบ Windows Elements Windows Elementsให้ หนา้ คาํ ส่งั ท่ีตอ้ งการใหท้ าํ งาน Display Scroll Bars in Drawing Window แสดง Scroll bars ท่ีดา้ นล่างและดา้ นขวาของหนา้ จอ Display Screen Menu แสดง Screen menu ดา้ นขวาของหนา้ จอซ่ึงจะคลา้ ยกบั หนา้ จอของAuto CAD R12 Use Large Buttons for Toolbars แสดงรูปป่ ุมกด (Buttons) ขนาดใหญ่ ซ่ึงมีขนาด 32 x 30pixels. Show Tooltips แสดงชื่อคาํ ส่ัง เม่ือเลื่อน Mouse อยบู่ นป่ ุมคาํ สง่ั ใด ๆ Show Shortcut Keys in Tooltips แสดงคาํ สง่ั ยอ่ เม่ือเลื่อน Mouse อยบู่ นป่ ุมคาํ สง่ั ใด ๆ

17เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Colors… รูปท่ี 1.19 การปรับเปลี่ยนสีของหนา้ จอโปรแกรม Auto CAD ใชส้ าํ หรับปรับเปลี่ยนสีของหนา้ จอโปรแกรม Auto CAD เช่น สีพ้ืน สีตวั อกั ษร หรือสีCrosshair/Pointer เป็นตน้ การใชง้ าน ผใู้ ชส้ ามารถใช้ Mouse เลือกที่หนา้ ต่างหมายเลข 1 หรือ เลือกท่ี Tab Windowelement ช่องหมายเลข 2 แลว้ จึงเลือกสีท่ีตอ้ งการ จากน้นั เลือก Apply & Close 1.3.1.1 Display Resolution ใชส้ าํ หรับการปรับความละเอียดของการแสดงผล ปกติจะปรับท่ีค่า smoothness ซ่ึงเป็ นค่าท่ีทาํ ให้การแสดงผลของเส้นโคง้ ต่าง ๆ ใหม้ ีความราบเรียบเหมือนจริง สามารถปรับได้ ต้งั แต่ 1–20000 ย่ิงค่ามาก ความราบเรียบของส่วน โค้งก็จะมากตามไปด้วย แต่ก็จะทาํ ให้การ ประมวลผลของภาพช้าลง ท้งั น้ีข้ึนอยู่กับ ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพวิ เตอร์ที่ใช้ รูปท่ี 1.20 ส่วนประกอบ Display Resolution

เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 18 ใช้สาํ หรับปรับขนาดของ Pointer Crosshair size รูปที่ 1.21 การปรับขนาดของ Crosshair size 1.3.1.2 Open and Save: File Save สามารถ Save ไฟล์ เป็ น Auto CAD 2007 หรือต่าํ กวา่5 ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิไมต่ อ้ งกงั วลเร่ืองการ Save as ในการ Save ไฟลป์ กติ รูปท่ี 1.22 หนา้ ต่าง Options ในส่วน Open and Save 1.3.1.3 User Preferencces: ใชส้ ําหรับต้งั ค่าการใชง้ านระบบคาํ นวณของโปรแกรม เช่นเส้นบอกขนาด Scale และการปิ ด-เปิ ด การใช้ Right Click เพอ่ื ยอ้ นคาํ ส่งั ท่ีผา่ นมา

19เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปท่ี 1.23 Options ในส่วน User Preferencces 1.3.1.4 Drafting: ใชส้ าํ หรับต้งั ค่าการใชง้ านของ Snap สามารถปรับเปลี่ยนสี สัญลกั ษณ์และขนาดของขอบเขตการใชง้ าน snap รูปท่ี 1.24 Options ในส่วน Drafting

20เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)AutoSnap Settings Marker แสดงสญั ลกั ษณ์ของการ snap เช่น endpoint แสดงรูป , midpoint เป็นรูปเป็ นตน้ Magnet ปิ ด/เปิ ด การ autosnap เมื่อ Pointer อยใู่ กลก้ บั จุดที่ต้งั คา่ ไวโ้ ปรแกรมจะทาํ การ snapจุดใหอ้ ตั โนมตั ิ Display AutoSnap Tooltip แสดงชื่อของการ snap Display AutoSnap Aperture Box แสดงขอบเขตของการ Autonap AutoSnap maker color: สาํ หรับปรับเปล่ียนสีของสัญลกั ษณ์ snap AutoSnap maker size: สาํ หรับปรับเปล่ียนขนาดของสญั ลกั ษณ์ snap Aperture Size: สาํ หรับปรับเปลี่ยนขนาดของขอบเขตการ snap 1.3.1.5 Selection: ใชส้ ําหรับต้งั ค่า การใชง้ าน Mouse ไม่วา่ เป็ นสีหรือขนาดขนาดของส่ีเหล่ียมซ่ึงอยกู่ บั หรือ Pointer Crosshair ในส่วน Pickbox Size และ Grip Size รูปที่ 1.25 Options ในส่วน Selection

21เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Selection: Pickbox Size ขนาดของ ส่ีเหล่ียมซ่ึงอยกู่ บั Crosshair หรือ Pointer ดงั รูป Grip Size จุดส่ีเหล่ียมซ่ึงจะแสดงบนวตั ถุที่ถูกเลือก 1.3.2 การต้งั ค่า Grid and Snap ก่อนที่เราจะไปเรียนรู้วา่ แต่ละคาํ ส่ังใช้งานอยา่ งไร เราจาํ เป็ นตอ้ งทราบถึงการต้งั ค่าและการใช้งานเบ้ืองตน้ ต่าง ๆ ของโปรแกรมเสียก่อน ซ่ึงคาํ สั่งเหล่าน้ีจะช่วยเพิ่มความถูกตอ้ ง แม่นยาํใหก้ บั การใชง้ าน โดยมีกลุ่มคาํ สง่ั ที่จาํ เป็นตอ้ งต้งั คา่ ก่อน มีดงั น้ี SNAP คือ การกาํ หนดให้ Pointer (Crosshairs) เคล่ือนที่ตามระยะกาํ หนด โดยค่าระยะผใู้ ชส้ ามารถปรับแต่งเองได้ GRID คือ แนวจุดแสดงระยะในแนวแกน x, y ท่ีผใู้ ชก้ าํ หนดข้ึน ORTHO (Orthogonal) คือ การบงั คบั ให้ Pointer เคลื่อนท่ีตามแนวแกนโดยทวั่ ไปใช้ช่วยในการเขียนเส้น ใหอ้ ยใู่ นแนวแกนนอน หรือแกนต้งั OSNAP (Object Snap) คือ การกาํ หนดใหโ้ ปรแกรมเลือกตาํ แหน่งหรือจุด ตามท่ีได้กาํ หนดไวเ้ ช่น จุดปลายของเส้น (Endpoint) จุดตดั ของเส้น (Intersection) จุดก่ึงกลางของวงกลม(Center) เป็ นตน้ มีประโยชน์มากในการทาํ งาน เพราะทาํ ให้ผใู้ ชไ้ ม่ตอ้ งกะระยะดว้ ยสายตา หรือประมาณตาํ แหน่งจุดตา่ ง ๆ ทาํ ใหก้ ารทาํ งานรวดเร็วและแมน่ ยาํ DYN (Dynamics Input) คือการกาํ หนดใหโ้ ปรแกรมแสดงรายละเอียดของพิกดั หรือค่าต่าง ๆ ขณะทาํ การเขียนเส้น ซ่ึงสามารถกาํ หนดหรือแกไ้ ขค่าที่แสดงได้ คลา้ ยกบั การกาํ หนดค่าท่ีCommand line วธิ ีเขา้ สู่โหมด Setting โดย Right-Click ที่ Grid Display บน Status bar เลือก Setting…เปลี่ยนค่าระยะตวั เลขในช่องตามตอ้ งการ การเปิ ด-ปิ ด Grid On หรือกดป่ ุม Function 7 (F7) ที่keyboard เพ่ือแสดง Grid Snap On หรือกดป่ ุม Function 9 (F9) ที่ keyboard เพ่ือใหก้ ารเคลื่อนของPointer ตามระยะที่ต้งั ค่า Snap spacing

22เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.3 คาํ สัง่ ช่วยในการกระโดดลงตาํ แหน่ง (Object Snap) คาํ สั่งช่วยในการกระโดดลงตาํ แหน่ง เป็นกลุ่มคาํ สง่ั ท่ีใชส้ าํ หรับบงั คบั ให้ Cross Hairกระโดดไปยงั ตาํ แหน่งท่ีกาํ หนด เช่น ปลายเส้น กลางเส้น จุดตดั กนั ฯลฯ โดยการใชง้ านคาํ สง่ั น้นัจะตอ้ งใชง้ านร่วมกบั คาํ ส่งั ต่าง ๆ ในส่วนของโปรแกรม 1.3.3.1 การเรียกใชก้ ลุ่มคาํ สง่ั ช่วยกระโดดลงตาํ แหน่ง กดป่ ุม Shift ท่ีแป้ นพิมพค์ า้ ง และคลิก เมาส์ป่ ุมขวา โปรแกรมจะแสดงเมนูของคาํ ส่งั กระโดดลงตาํ แหน่ง (Object Snap) บนพ้นื ท่ีหนา้ จอโปรแกรม รูปท่ี 1.26 เมนูคาํ ส่งั ช่วย Object Snap เลือกจากกลุ่มคาํ ส่งั Tools > Toolbars > Auto CAD > Object snap หรือ เลื่อนเมาส์ไปยงั กลุ่มเครื่องมือ Floating Toolbar ใด ๆ ที่แสดงอยู่ แลว้ คลิกเมาส์ป่ ุมขวา โปรแกรมจะแสดงแทป็ รายช่ือของกลุ่มเครื่องมือ และทาํ การเลือกเครื่องมือ Object snap

23เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.3.2 การต้งั คา่ คาํ ส่งั OSNAP (Object Snap) แบบอตั โนมตั ิ ในการใชค้ าํ สั่งช่วยกระโดดลงจุดน้นั ผใู้ ชง้ านสามารถใชก้ ารปิ ด-เปิ ด โดยการกดป่ ุม F3 และสามารถต้งั ค่าการกระโดดลงจุดใหเ้ ป็ นแบบอตั โนมตั ิได้ โดยการเลือกคาํ สั่ง Tool >Drafting Settings > Object Snap โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Drafting Setting ผใู้ ชง้ านสามารถเลือกคาํ ส่งั ช่วยกระโดดลงจุดตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยการคลิก Check box ในกรอบส่ีเหล่ียม หนา้ คาํ สง่ั ใหแ้ สดงเครื่อง หมายจากน้นั ใหก้ ดป่ ุม OK รูปที่ 1.27 กรอบโตต้ อบ Drafting Setting

24เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Endpoint เป็นคาํ สั่งเมื่อตอ้ งการใหเ้ มาส์ใชจ้ บั ปลายของวตั ถุไมว่ า่ จะเป็ นเส้นตรง 1หรือเส้นโคง้ รูปท่ี 1.28 การแสดงเมนูคาํ ส่ังช่วย Object Snap Midpoint เป็นคาํ สั่ง เม่ือตอ้ งการใหเ้ มาส์ใชจ้ บั จุดก่ึงกลางของเส้นไมว่ า่ จะเป็นเส้นตรงหรือเส้นโคง้ โปรแกรมจะคาํ นวณหาจุดก่ึงกลางเส้นท่ีถูกเลือก และจะแสดงสัญลกั ษณ์รูปสามเหลี่ยมตาํ แหน่งก่ึงกลางเส้นท่ีเลือกน้นั รูปท่ี 1.29 การใชค้ าํ สง่ั Object snap แบบ Midpoint Center เป็นคาํ สัง่ เมื่อตอ้ งการใหเ้ มาส์ใชจ้ บั จุดศูนยก์ ลางของวตั ถุน้นั ไม่วา่ จะเป็ น จุดศูนยก์ ลางของวงกลม ส่วนโคง้ หรือวงรีโปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณ์วงกลมที่ตาํ แหน่งจุดศูนยก์ ลางของวงกลมหรือส่วนโคง้ เม่ือผใู้ ชง้ านทาํ การเลื่อนเมาส์ไปยงั เส้นของวงกลมหรือส่วนโคง้ รูปท่ี 1.30 การใชค้ าํ ส่งั Object snap แบบ Center

25เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Node เป็ นคาํ สั่ง เม่ือตอ้ งการให้เมาส์ใชจ้ บั จุด (Point) ที่เคยเขียนไวจ้ ากคาํ สั่ง Pointคาํ สง่ั Divide คาํ ส่งั Measure รูปท่ี 1.31 การใชค้ าํ ส่งั Object snap แบบ NodeQuadrant เป็ นคาํ สั่งเม่ือตอ้ งการให้เมาส์ใชจ้ บั ท่ี Quadrant ของวงกลมตาํ แหน่ง (0,90, 180, 270 องศา) ที่อยใู่ กลท้ ่ีสุด รูปท่ี 1.32 การใชค้ าํ ส่งั Object snap แบบ Quadrant Intersection เป็นคาํ ส่งั ที่ช่วยใหก้ ระโดดลงตาํ แหน่งของจุดตดั กนั ของเส้นหรือตาํ แหน่งท่ีปลายเส้นสองเส้นมาชนกนั โดยที่โปรแกรมจะคาํ นวณหาจุดตดั กนั หรือหาจุดท่ีเช่ือมชนกนั และจะแสดงสัญลกั ษณ์รูปกากบาท แสดงตาํ แหน่งจุดตดั กนั ของเส้นท่ีเลือกน้นั รูปที่ 1.33 การใชค้ าํ สง่ั Object snap แบบ Intersection

26เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Extension เป็ นคาํ สั่ง ที่ช่วยให้กระโดดลงตาํ แหน่งในทิศทางเดิมของเส้นตน้ แบบตามระยะที่ผใู้ ชง้ านกาํ หนด ซ่ึงในการเลือกคาํ สั่ง Extension น้นั ข้นั ตอนที่ 1 ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งเลื่อนเมาส์มายงั ตาํ แหน่งของปลายเส้นตน้ แบบเพ่ือให้โปรแกรมแสดงสัญลกั ษณ์รูปกากบาท ท่ีปลายเส้นข้นั ตอนที่ 2 ใหเ้ ลื่อนเมาส์ออกตามแนวที่โปรแกรมแสดงทิศทางท่ีเกิดข้ึน โดยที่ผใู้ ชง้ านสามารถคลิกเมาส์ซา้ ยเพื่อกาํ หนดจุดใหม่ หรือพิมพร์ ะยะห่างที่ตอ้ งการจากปลายเส้นไดโ้ ดยตรง รูปท่ี 1.34 การใชค้ าํ สง่ั Object snap แบบ ExtensionPerpendicular เป็ นคาํ สั่งท่ีช่วยกระโดดลงตาํ แหน่งของจุดต้งั ฉากของเส้นท่ีตอ้ งการเชื่อมต่อ โดยการใชง้ านของคาํ สั่งน้นั ผใู้ ช้งานจะตอ้ งเลือกเส้นที่ตอ้ งการทาํ มุมฉากกบั เส้นท่ีลากอยู่เม่ือเลื่อนตาํ แหน่งของเมาส์ไปแตะท่ีเส้นที่ตอ้ งการ โปรแกรมจะแสดงสญั ลกั ษณ์มุมฉากข้ึน รูปท่ี 1.35 การใชค้ าํ สั่ง Object snap แบบ Perpendicular Tangent เป็ นคาํ สั่งท่ีช่วยกระโดดลงตาํ แหน่งของจุดสัมผสั ของวงกลม หรือส่วนโคง้เพื่อใหเ้ ส้นท่ีนาํ มาสัมผสั กบั วงกลมหรือส่วนโคง้ มีความราบเรียบในการเชื่อมต่อกนั โดยท่ีโปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณ์วงกลมสัมผสั เส้นตรง ที่บริเวณขอบของวงกลมหรือส่วนโคง้ ท่ีผใู้ ชง้ านเลือก

27เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปท่ี 1.36 การใชค้ าํ สงั่ Object snap แบบ Tangent Nearest เป็ นคาํ สั่งที่ช่วยในการกระโดดลงตาํ แหน่งท่ีใกลท้ ่ีสุดของจุดท่ีตอ้ งการ โดยการเลื่อนตาํ แหน่ง Cross Hair ไปยงั ตาํ แหน่งของเส้นท่ีตอ้ งการ โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณ์ ณ ที่ตาํ แหน่งที่เมาส์วาง รูปที่ 1.37 การใชค้ าํ สัง่ Object snap แบบ NearestParallel เป็ นคาํ สั่งท่ีใชใ้ นการช่วยลากเส้นใหม่ใหข้ นานกบั เส้นที่ตอ้ งการ ในการใช้งานน้นั เม่ือกาํ หนดจุดเร่ิมตน้ ของเส้นใหม่แลว้ ข้นั ตอนที่ 1ให้นาํ เมาส์ไปแตะเส้นท่ีตอ้ งการคู่ขนานโปรแกรมจะ แสดงสัญลกั ษณ์ Parallel ข้นั ตอนที่ 2 ค่อย ๆ ขยบั เมาส์ออกเส้น เม่ือตาํ แหน่งของเส้นขนานกนั โปรแกรมจะแสดงแนวเส้นท่ีตอ้ งการ รูปท่ี 1.38 การใชค้ าํ สั่ง Object snap แบบ Parallel

28เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)Apparent Intersection เป็ นคาํ สั่งที่ช่วยให้กระโดดลงตาํ แหน่งของจุดที่คาดวา่ จะตดักันของเส้นหรือตาํ แหน่งที่ปลายเส้นสองเส้นท่ีคาดว่าจะมาชนกนั โดยที่โปรแกรมจะทาํ การคาํ นวณหาจุดจะตดั กนั หรือจุดท่ีจะเชื่อมชนกนั โดยที่ข้นั ตอนที่ 1 ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งคลิกเมาส์ป่ ุมซา้ ยเพ่ือกาํ หนดเส้นหลกั ก่อน และข้นั ตอนที่ 2 เลือกเส้นท่ีตอ้ งการให้ตดั กบั เส้นหลกั โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณ์รูปกากบาท ที่ตาํ แหน่งจุดตดั กนั ของเส้นท้งั สองเส้นน้นั รูปท่ี 1.39 การใชค้ าํ สั่ง Object snap แบบ Apparent Intersection การใช้งานจะไม่นิยมเลือกตวั ช่วยท้งั หมด เน่ืองจากจะทาํ ให้ยากต่อการทาํ งาน เพราะโปรแกรมอาจจะเลือกไม่ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ จะนิยมใชว้ ธิ ี เรียกเป็ นคร้ังคราว โดยการกดป่ ุม “Shift + Right-Click” หรือ “Ctrl + Right-Click” กไ็ ด้

29เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.4 การใช้ function keyboard ในโปรแกรม Auto CAD ในการใชโ้ ปรแกรมเขียนแบบงานภาพ 2 มิติ นอกจากจะใชค้ าํ สั่งต่าง ๆ ในการเขียนแบบงานแลว้ ป่ ุมฟังค์ชัน คียบ์ นแป้ นพิมพ์ก็มีส่วนสําคญั ท่ีจะช่วยให้ผูเ้ ริ่มตน้ ของการเขียนแบบงานควบคุมการใชง้ านของคาํ สั่งเพ่ือเพ่ิมความรวดเร็วในการเขียนแบบงานไดด้ ียิง่ ข้ึน ซ่ึงมีรายละเอียดแต่ละป่ ุม ตามรูปท่ี 1.40 และตารางที่ 1.1 ดงั น้ี รูปท่ี 1.40 function keyboardตารางที่ 1.1 สรุปการใช้งาน การใช้ function keyboard ในโปรแกรม Auto CAD ESC ใชย้ กเลิกคาํ สงั่ ใด ๆ ท่ีกาํ ลงั ทาํ งาน ENTER ใชย้ นื ยนั ขอ้ มูลที่ป้ อนผา่ น command line หรือใชเ้ รียกคาํ สงั่ ท่ีผา่ นมา Del ใชล้ บวตั ถุ แทนคาํ สงั่ Erase F1 เรียกหนา้ ตา่ ง ขอความช่วยเหลือ (Help) F2 เปิ ด/ปิ ด Auto CAD Text Window เพอ่ื ดูคาํ สงั่ ท้งั หมดจาก Command line F3 ปิ ด/เปิ ด OSNAP F4 ปิ ด/เปิ ด Tablet Digitizer F5 ควบคุมดา้ น front, right, top ของ Isometric View F6 ปิ ด/เปิ ด การแสดงผลของค่า coordinate F7 ปิ ด/เปิ ด GRID F8 ปิ ด/เปิ ด ORTHO F9 ปิ ด/เปิ ด SNAP F10 ปิ ด/เปิ ด POLAR F11 ปิ ด/เปิ ด OTRACK F12 ปิ ด/เปิ ด DYN

30เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.4.1 ป่ ุม F1 เป็ นฟังคช์ นั คียใ์ ช้สําหรับการเขา้ สู่ระบบความช่วยเหลือของโปรแกรม(Help) เม่ือผใู้ ชง้ านตอ้ งการรายละเอียด หรือคาํ อธิบายการใชง้ านของโปรแกรมรวมถึงคาํ สัง่ ต่าง ๆ รูปท่ี 1.41 หนา้ จอ Auto CAD 2010 Help 1.3.4.2 ป่ ุม F2 เป็นฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชส้ าํ หรับการเขา้ สู่หนา้ จอ Text Windows ของโปรแกรมเพ่ือดูขอ้ มูลในการใชค้ าํ สงั่ ท่ีผา่ นมา เป็นการแสดงรายละเอียดของคาํ สัง่ ยอ้ นหลงั ใน Command Line รูปท่ี 1.42 หนา้ จอ Auto CAD Text Window

31เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.4.3 ป่ ุม F3 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชส้ าํ หรับควบคุมการปิ ด-เปิ ด การทาํ งานของคาํ สง่ั ช่วยการกระโดดลงจุดแบบอตั โนมตั ิ (Object Snap) ในการเขียนแบบงาน 2 มิติ รูปท่ี 1.43 ลกั ษณะการกระโดดลงตาํ แหน่งแบบปลายเส้น 1.3.4.4 ป่ ุม F4 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ี่ใชส้ าํ หรับควบคุมการ ปิ ด-เปิ ด การทาํ งานของคาํ ส่งั ช่วยการกระโดดลงจุดแบบอตั โนมตั ิ (Object Snap) ในการเขียนแบบงาน 2 มิติ 1.3.4.5 ป่ ุม F5 เป็ นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชใ้ นการควบคุมการปรับเปลี่ยนระนาบแนวแกนของภาพ 3 มิติแบบไอโซเมตริก เมื่อทาํ การกดป่ ุม F5 โปรแกรมจะทาํ การเปลี่ยนระนาบไปตามลาํ ดบั คือIsoplane Top, Isoplane Right และ Isoplane Left เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชง้ านเกิดความสะดวกในการเขียนเส้นตามแนว 30 องศา รูปที่ 1.44 รูปแบบของระนาบแกนไอโซเมตริก 1.3.4.6 ป่ ุม F6 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชใ้ นการปิ ด-เปิ ด การปรับเปล่ียนระนาบของ UCSIcon แบบ Dynamic บนผวิ หนา้ ของชิ้นงาน 3 มิติ

32เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.4.7 ป่ ุม F7 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชใ้ นการปิ ด-เปิ ด การแสดงเส้นตาราง (Grid) บนหนา้จอทาํ งาน ซ่ึงค่ามาตรฐานของเส้นตารางน้นั จะมีระยะห่างของเส้นในแกน X=10 หน่วย และในแกนY=10หน่วย และจะแสดงค่าของเส้นหลกั ในทุก 5 ช่อง รูปที่ 1.45 ลกั ษณะการแสดงเส้น (Grid) การปรับแต่งการแสดงเส้น (Grid) ผใู้ ชง้ านสามารถปรับค่าระยะห่างของจุดกริดได้ โดยการเลือกคาํ สง่ั จากกลุ่มคาํ ส่ัง Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Drafting Settingจากน้นั ทาํ การเลือก Sanp and Grip และปรับระยะห่างของเส้นในแนวแกน X (Grid X spacing) ปรับระยะห่างของเส้นในแนวแกน Y (Grid Y spacing) และปรับค่าแสดงแกนหลกั (Major line every)

33เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปท่ี 1.46 การปรับค่า Grid Spacing 1.3.4.8 ป่ ุม F8 ใชช้ ่วยใหก้ ารเขียนเส้นอยใู่ นแนวแกนนอน (X) และแกนต้งั (Y) ไดส้ ะดวกและรวดเร็ว โดยผใู้ ชง้ านไมต่ อ้ งกงั วลวา่ เส้นดงั กล่าวจะอยใู่ นแนวแกนหรือไม่โดยใช้ Mouse คลิกท่ีORTHO Tab บน Status bar หรือกด Function 8 (F8) ที่ keyboard เพอื่ ปิ ด/เปิ ด โหมดบงั คบั เส้นที่เขียนใหอ้ ยเู่ ฉพาะในแนวแกน รูปที่ 1.47 การใชง้ าน Osnap 1.3.4.9 ป่ ุม F9 เป็ นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ี่ใชส้ าํ หรับการ ปิ ด- เปิ ด การควบคุมระยะการเคลื่อนท่ีของเส้น (Snap) ตามระยะท่ีกาํ หนด เช่น ระยะแกน X=10 และแกน Y=10 จะทาํ ใหต้ าํ แหน่งของเส้นCross Hair เคลื่อนท่ีไปตามระยะทุก ๆ 10 หน่วยในแนวแกน X และแนวแกน Y โดยปกติป่ ุมฟังคช์ นัคีย์ F9 (Snap) จะใชร้ ่วมกบั ป่ ุมฟังคช์ นั คีย์ F9 (Snap) การปรับแต่งระยะควบคุมการเคลื่อนที่ของเส้น (Snap) ผใู้ ชง้ านสามารถทาํ การปรับแต่งได้โดยการเลือกคาํ สั่งจากกลุ่มคาํ ส่ัง Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Drafting

34เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)Setting จากน้นั ทาํ การเลือก Snap and Grid และปรับระยะห่างของเส้นในแนวแกน X (Snap Xspacing) ปรับระยะห่างของเส้นในแนวแกน Y (Snap Y spacing) รูปท่ี 1.48 การปรับคา่ Snap spacing 1.3.4.10 ป่ ุม F10 เป็ นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใช้ในการควบคุมการปิ ด-เปิ ด แนวเส้นเชิงมุม(POLAR) ตามองศาท่ีกาํ หนด ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ใู้ ชง้ านสามารถทาํ การเขียนแบบงานไดส้ ะดวกยงิ่ ข้ึน รูปที่ 1.49 ลกั ษณะการแสดงแนวเส้นเชิงมุม การปรับแต่งองศาของแนวเส้นเชิงมุม ผใู้ ชง้ านสามารถทาํ การปรับแตง่ ไดโ้ ดยการเลือกคาํ สัง่จากกลุ่มคาํ ส่งั Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต้ อบ Drafting Setting จากน้นั ทาํการเลือก Polar Tracking และเลือกองศาที่ตอ้ งการกาํ หนดแนวเส้นเชิงมุมที่ Increment angle

35เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปท่ี 1.50 การปรับค่า Increment angle 1.3.4.11 ป่ ุม F11 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชค้ วบคุมการปิ ด-เปิ ด ใชง้ านของ Object SnapTracking ท่ีใชเ้ ป็นเครื่องมือในการหาตาํ แหน่งของจุดตดั ในแนวนอนและแนวต้งั ฉากจากจุดท่ีกาํ หนดโดยใชง้ านร่วมกบั Object Snap ที่ตอ้ งเปิ ดใชง้ านอยู่ รูปท่ี 1.51 ลกั ษณะของการใชง้ าน Object Snap Tracking 1.3.4.12 ป่ ุม F12 เป็นป่ ุมฟังคช์ นั คียท์ ่ีใชค้ วบคุมการปิ ด-เปิ ด การแสดงแนวเส้นและการป้ อนคา่ ตวั เลขในขณะทาํ งานบนหนา้ จอ (Dynamic Input) แทนการป้ อนค่าในบรรทดั Command

36เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปที่ 1.52 ลกั ษณะของการใช้ Dynamic Input 1.3.5 การใชง้ านคาํ ส่งั DYN (Dynamic Input) โปรแกรมจะแสดงค่าพิกดั ของ Pointer ขนาดและมุมขณะทาํ การเขียนแบบ ผใู้ ชส้ ามารถป้ อนค่าที่ตอ้ งการได้ โดยการใชป้ ่ ุม “Tab” ท่ี Keyboard ช่วยในการสลบั ระหวา่ งการป้ อนค่ามุมและขนาดการควบคุมการทาํ งาน โดยคลิกท่ี DYN Tab บน Status bar หรือกดป่ ุม Function 12 (F12) ท่ีKeyboard เพื่อปิ ด/เปิ ด คาํ สง่ั … วธิ ีเขา้ สู่โหมด Setting โดย Right-Click ท่ี DYN บน Status bar เลือก Setting…รูปที่ 1.53 การกาํ หนด Dynamic Input

37เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Model Preview: คือตวั อยา่ ง Dynamic Input ในหนา้ ต่างการเขียนแบบปกติ Layout Preview: คือตวั อยา่ ง Dynamic Input ในหนา้ ตา่ งการพลอ็ ตแบบ Color: การเลือกสี Dynamic Input Size: ปรับขนาด Transparency: กาํ หนดให้ Dynamic Input โปร่งแสง 1.3.6 การใชเ้ มาส์ในการวาด ในการใชง้ าน Auto CAD ความชาํ นาญของผูใ้ ชม้ ีส่วนช่วยอยา่ งมากในการทาํ งานให้มีความสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยจะใชม้ ือขวาในการพิมพค์ าํ สั่งบนคียบ์ อร์ด และมือซา้ ยควบคุมเมาส์ เช่นเดียวกับการใช้คียบ์ อร์ดที่จะเน้นการใช้ตวั ย่อ เทคนิคในการใช้งานเมาส์ในโปรแกรม Auto CAD มีมากมายก็เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการทาํ งาน ในเบ้ืองตน้ น้ีจะกล่าวถึงเทคนิคพ้นื ฐานก่อน และในบทตอ่ ไปจะเพิ่มเติมข้ึนในภายหลงั 1.3.6.1 คลิกซา้ ย (Left Click = Select) เช่นเดียวกบั โปรแกรมทวั่ ไป การคลิกซา้ ยจะใชใ้ นการคลิกป่ ุม และเมนูตา่ ง ๆ ในโปรแกรม ในการวาดจะใช้ในการคลิกเลือกทีละวตั ถุหรือตีกรอบเลือกเพ่ือทาํ การปรับปรุงแกไ้ ข ในระหวา่ ง ท่ีใชค้ าํ ส่ังหากตอ้ งการยกเลิกใหก้ ด Esc 1.3.6.2 คลิกขวา (Right Click = Option) ระหว่างที่ใช้คาํ ส่ังวาดอยู่ การคลิกขวาจะแสดงตวั เลือกในการ ใชค้ าํ สั่งเป็ นรายการข้ึนมาที่ตวั ช้ีพิกดั หรือเม่ือเราพิมพค์ าํ ส่ัง เช่น พิมพ์ l หรือ line เพื่อลากเส้น คลิกขวาจะเท่ากบั การกด Enter เม่ือเริ่มลากเส้นแล้ว ลองคลิกขวาจะแสดงทางเลือกต่าง ๆ เช่น Enter, Cancel หรือ Close ใหเ้ ลือกสั่งงานไดโ้ ดย ไม่ตอ้ งกม้ ลงมองบรรทดั คาํ สั่ง

38เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.6.3 คาํ สัง่ ในการเล่ือน (pan) Pan Realtime เมื่อเรียกคาํ สัง่ pan โปรแกรมจะเปล่ียนจากสญั ลกั ษณ์ crosshairเป็ นรูปมือ การใชง้ านโดยใชว้ ธิ ีการ Drag mouse ไปในทิศทางท่ีตอ้ งการ หนา้ จอก็จะเลื่อนไปในทิศทางน้นั 1.3.6.4 คาํ สัง่ ยอ่ -ขยาย (Zoom) คาํ ส่งั ยอ่ -ขยาย พ้ืนที่หนา้ จอ ที่ใชก้ นั บ่อย ไดแ้ ก่ 1) Zoom Realtime เม่ือเรียกคาํ สั่ง Zoom Realtime โปรแกรมจะเปล่ียนจากสัญลกั ษณ์ Crosshair เป็ นรูปแวน่ ขยาย การใชง้ านโดยใชว้ ิธีการ Drag Mouse ข้ึน-ลง หนา้ จอจะขยายหรือยอ่ ตามการเคลื่อนท่ีของเมาส์ 2) Zoom Window เม่ือเรียกคาํ สั่ง Zoom Window โปรแกรมจะแจง้ ให้ผใู้ ชง้ านกาํ หนดมุมของกรอบรูปส่ีเหล่ียม ซ่ึงแทนพ้ืนที่ที่ตอ้ งการขยาย 3) Zoom Extents เมื่อเรียกคาํ สั่ง Zoom Extents โปรแกรมยอ่ หรือขยายรูปท่ีเขียนท้งั หมดใหเ้ ตม็ หนา้ จอพอดี เป็ นการสั่งให้โปรแกรมเปล่ียนหน้าจอย่อหรือขยาย 4) Zoom Previousยอ้ นกลบั ข้นั ตอนท่ีมีการสัง่ งานก่อนหนา้ น้ี **** โดยทวั่ ไปจะใชว้ ิธีเรียกคาํ สั่ง pan โดยกดป่ ุมscroll ของ mouse คา้ งไว้ แลว้ เคลื่อน mouseไปในทิศทางท่ีตอ้ งการ **** โดยทวั่ ไปจะใชว้ ธิ ีเรียกคาํ สั่ง Zoom Realtimeโดยหมุนป่ ุม Scroll ของ Mouse ข้ึน-ลงหนา้ จอ จอขยายหรือยอ่ ตามการเคลื่อนท่ีของป่ ุม Scrollและถา้ ดบั เบิ้ลคลิกลูกกลิ้งจะ Zoom ขยายเตม็ รูป (Zoom Extent) 1.3.6.5 การรีเจน (Regen) ในการแสดงผลรูปภาพที่วาดใน Auto CAD มกั จะเป็ นการแสดงผลท่ีตอ้ งการความรวดเร็วดงั น้นั ภาพท่ีแสดงผลบางภาพอาจจะมีลกั ษณะท่ีไมค่ อ่ ยละเอียดมากนกั ตวั อยา่ งเช่น รูปวงกลมเม่ือเราใชค้ าํ ส่ัง Zoom เม่ือ Zoom ไปแลว้ จะเห็นเส้นโคง้ เป็ นเหลี่ยม ๆ ไม่ละเอียดเท่าที่ควร เราสามารถใชค้ าํ สั่ง REGEN เพื่อให้ Auto CAD ทาํ การคาํ นวณภาพและแสดงผลใหม่จะทาํ ให้ภาพน้นัละเอียดยงิ่ ข้ึน เราสามารถใช้ คาํ ส่งั REGEN ทาง Command Line หรือ

39เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)ก่อนเลอื กคําสั่ง Regen หลงั จากใช้คาํ สั่ง Regen รูปท่ี 1.54 การรีเจน (Regen) 1.3.7 การกาํ หนดพ้นื ที่และหน่วยการใช้ ในงานเขียนแบบ 1.3.7.1 การกาํ หนดพ้นื ที่และขนาดของกระดาษ (Drawing Limits) ก่อนเริ่มต้นเขียนแบบ จะต้องกาํ หนดขนาดของกระดาษ ให้เท่ากับกระดาษมาตรฐานที่จะพมิ พห์ รือพล็อตแบบ การต้ังค่าขนาดกระดาษ 1) คลิกที่แถบคาํ สัง่ Format > Drawing Limits 2) ในช่อง Command: Specify lower left conner or (ON/OFF) <0.0000,0.0000>: ใหก้ ดEnter ผา่ น 3) ในช่อง Command: Specify lupper right conner <420.0000,297.0000> : ใหใ้ ส่ค่าขนาดกระดาษ ดงั น้ี กรณีกระดาษขนาด A3 ใส่ค่า 42,29.7 ค่าแรกคือค่าในแนวแกน X ค่าตวั หลงั คือค่าในแนวแกน Y (กรณีกระดาษขนาด A4 ใส่ค่า 29.7, 21) แลว้ กด Enter

40เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.7.2 การต้งั ค่า Snap และ Grid เพื่อกาํ หนดการกระโดดของเคอร์เซอร์และระยะห่างของจุดอา้ งอิง บนพ้ืนท่ีเขียนแบบ เพื่อช่วยใหก้ ารเขียนแบบง่ายข้ึน คลิกขวา ที่ไอคอน Grid Display ดา้ นล่าง แลว้ คลิกขวา เลือกSettings หรือ ไปที่แถบคาํ ส่ัง Tools คลิกเลือก Drafting settings จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Draftingsettings - กาํ หนดระยะ SNAP ไดโ้ ดยใส่ค่าลงในช่อง Snap X spacing และ Snap Y spacing - กาํ หนดระยะ GRID ไดโ้ ดยใส่คา่ ลงในช่อง Grid X spacing และ Grid Y spacing รูปที่ 1.55 การต้งั คา่ Snap และ Grid 1) ในกรอบ Snap ช่อง Snap X spacing ใส่ค่า 1 ช่อง Snap Y spacing ใส่ค่า 1 เป็ นการใส่ค่าใหก้ ารกระโดดของเคอร์เซอร์ ไปในทิศทางแกน X และแกน Y คร้ังละ 1 หน่วย บนพ้ืนที่เขียนแบบ 2) ในกรอบ Grid ช่อง Grid X spacing ใส่ค่า 1 ช่อง Grid Y spacing ใส่ค่า 1 เป็ นการใส่ค่า ระยะห่างของจุดอา้ งอิง ในทิศทางแกน X และ Y เท่ากบั 1 หน่วย บนพ้ืนท่ีเขียนแบบแลว้คลิก OK 3) การแสดงผล ใชค้ าํ สัง่ Zoom All กด F7 (แสดง Grid)

41เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปที่ 1.56 พ้นื ท่ีเขียนแบบ 1.3.7.3 การต้งั คา่ เป็ นหน่วยใชง้ าน ในงานเขียนแบบก่อสร้างนิยมใชห้ น่วยเป็นเมตร 1) คลิกที่แถบคาํ สัง่ Format > Unit… 2) จะปรากฏไดอะล็อกบอ็ กซ์ Drawing Units รูปท่ี 1.57 หนา้ ต่าง Drawing Units 3) ในกรอบ Length ช่อง Type: ใหเ้ ลือก Decimal 4) ในกรอบ Length ช่อง Precision: ใหเ้ ลือก ทศนิยม 2 ตาํ แหน่ง 0.00 5) ในกรอบ Angle ช่อง Type: ใหเ้ ลือก Decimal Degrees 6) ในกรอบ Angle ช่อง Precision: ใหเ้ ลือกไม่มีทศนิยม 0 Clockwise ปล่อยใหว้ า่ งไว้ องศาจะทวนเขม็ นาฬิกา

42เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 7) ในกรอบ Insertion ช่อง Unit to scale inserted content: ใหเ้ ลือก Meters แลว้คลิก OK 1.3.8 การต้งั ค่าและการใชง้ านเลเยอร์ (Layer) Auto CAD สามารถท่ีจะแบ่งการเขียนแบบเป็ นช้นั ๆ ได้ เหมือนกบั การเขียนภาพลงบนแผน่ ใสและนาํ แผน่ ใสมาซอ้ นกนั สามารถมองทะลุถึงกนั ได้ เหมาะสําหรับนาํ ไปจดั การกบั งานต่าง ๆในไฟล์เดียวกนั เช่น ใชร้ ะหวา่ งการเขียนรายละเอียดแปลนช้นั ท่ี 1 กบั แปลนช้นั ที่ 2 หรือตวั อกั ษรเพอ่ื สะดวกในการทาํ งาน รูปที่ 1.58 ลกั ษณะการใชง้ านเลเยอร์ (Layer) การใชง้ าน Layer ควรวางแผนการต้งั ค่า ในการทาํ งานของแต่ละ Layer การกาํ หนดสีต่าง ๆเป็ นส่วนสาํ คญั เน่ืองจาก สีของแต่ละ Layer จะเป็ นตวั กาํ หนดใหโ้ ปรแกรม Plot งานออกมาเป็ นความหนาของเส้นจะเป็นไปตามสีท่ีต้งั ไว้ ขอ้ ดีของการใชเ้ ลเยอร์ก็คือ เมื่อเราไม่ตอ้ งการภาพไหนก็สามารถท่ีจะปลดเลเยอร์น้นั ออกได้โดยไม่มีผลกระทบกบั ภาพในเลเยอร์อ่ืน ๆ เหมือนกบั ดึงแผน่ ใสแผน่ ท่ีเราไมต่ อ้ งการออกนน่ั เองโดยปกติเม่ือเขา้ สู่ Auto CAD โปรแกรมจะทาํ การสร้างเลเยอร์ให้ 1 เลเยอร์ คือ “Layer 0” เลเยอร์น้ีจะไม่สามารถทาํ การเปลี่ยนชื่อ (Rename) หรือลบ (Delete) สามารถทาํ ไดแ้ ค่การปิ ด (Off) หรือการแช่แขง็ (Freeze) หรือการลอ็ ค (Lock) เท่าน้นั 1. การเรียกใชค้ าํ สั่งเลเยอร์ Home tab >Layers panel

43เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) รูปที่ 1.59 หนา้ ต่าง Layer Properties Managerตารางที่ 1.2 การใช้คําสั่งพนื้ ฐานการใช้งานคําส่ัง Layerสัญลกั ษณ์ คาํ ส่ังพนื้ ฐาน การใช้งาน New Layer เพ่ือสร้าง Layer ใหม่ ซ่ึงสามารถต้งั ช่ือไดท้ ้งั องั กฤษ และภาษาไทยContinu… Delete Layer สาํ หรับลบ Layer ท่ีไม่ตอ้ งการออกไป---Defa… Set Current Coler_.. สาํ หรับเลือก Layer ใหเ้ ป็น Layer ที่ใชง้ านปัจจุบนั On สาํ หรับซ่อน หรือแสดง Layer Freeze Lock/Unlock สาํ หรับซ่อน Layer โดยไม่สามารถแกไ้ ขได้ Color สาํ หรับอนุญาต หรือ ป้ องกนั การแกไ้ ขงานท่ีอยใู่ น Layer น้นั ๆ Linetype สาํ หรับเปลี่ยนสี Layer Lineweight สาํ หรับต้งั คา่ แบบเส้น Layer Plot Style สาํ หรับต้งั คา่ น้าํ หนกั เส้น Layer วา่ จะใชค้ วามหนาเท่าไร เลือกวา่ จะ Plot ส่วน Layer ดว้ ยสีอะไร ซ่ึงจะสมั พนั ธ์กบั การต้งั ค่า Plot น้าํ หนกั ปากกาตอน Plot สาํ หรับอนุญาต หรือ ป้ องกนั การพล๊อตงานท่ีอยใู่ น Layer น้นั ๆ

44เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011)ตัวอย่าง แสดงการต้งั ค่า Layer สาํ หรับนาํ ไปใชใ้ นงานเขียนแบบ ใหก้ าํ หนดชื่อของ Layer ดงั น้ี รูปที่ 1.60 การต้งั ค่า New Layer 1.3.8.1 การเปล่ียนสี Layer หากตอ้ งการใหเ้ ปล่ียนสี เป็นสีที่ตอ้ งการสามารถ เลือกเปล่ียนไดโ้ ดย ใชเ้ มาส์คลิกเลือกที่ตาํ แหน่งสีจะไดไ้ ดอะลอ็ กบอ็ กซ์ Select Color ตามรูปท่ี 1.61 รูปที่ 1.61 หนา้ ตา่ ง Select Color

45เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.3.8.2 การจดั การเก่ียวกบั รูปแบบเส้น Linetype ชนิดหรือรูปแบบของเส้นมีความสาํ คญัอยา่ งมากในการเขียนแบบ เน่ืองจากเป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีจะสามารถระบุ หรือส่ือความหมายใหก้ บั ผทู้ ่ีอ่านแบบเขา้ ใจถึงรูปทรง และรายละเอียดของงาน ไดถ้ ูกตอ้ ง ตวั อยา่ งเช่น ถา้ แนวเส้นเป็ นเส้นประ (Hidden Line) แสดงวา่ แนวเส้นน้นั มีส่วนอื่นของ ผวิงานบงั อยู่ ถา้ เป็นงานจริงกไ็ ม่สามารถมองเป็นได้ เป็นตน้ การเปลี่ยนรูปแบบเส้น LineType เลือกตรงตาํ แหน่งเดิมโปรแกรมต้งั ค่าไวเ้ ป็ น Continuousของ Layer ท่ีเลือกจะปรากฏไดอะล็อกบอ็ กซ์ Select Linetype ดงั รูปที่ 1.62 รูปที่ 1.62 หนา้ ต่าง Select Linetype ตอ้ งการเพิม่ รูปแบบของเส้น สามารถคลิก Load… ปรากฏไดอะล็อกบอ็ กซ์ Load or ReloadLinetypes ตามรูปท่ี 1.63 รูปที่ 1.63 หนา้ ตา่ ง Load or Reload Linetypes

46เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) เลือกรูปแบบเส้นท่ีตอ้ งการใช้งาน สามารถเลือกก่ีแบบก็ได้ ซ่ึงในแต่ละชนิดของเส้นโปรแกรมจะสร้างไวใ้ ห้ 3 ขนาด เช่น Center, Center2 (.5x), CenterX2 (2X) ซ่ึงหากเปรียบเทียบสัดส่วนของเส้น Center2 จะเป็ นคร่ึงหน่ึงของ Center และ CenterX2 จะเป็ นสองเท่าของ Centerเป็ นตน้ 1.3.8.3 การจดั การเกี่ยวกบั ความหนาเส้น Linewieght หากตอ้ งการเปลี่ยนรูปแบบของความหนาเส้น สามารถเลือกที่เส้นใน Layer น้นั จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Lineweight ตามรูปเลือกน้าํ หนกั เส้นท่ีตอ้ งการใชง้ าน กด OK กจ็ ะไดค้ วามหนาท่ีตอ้ งการ รูปท่ี 1.64 หนา้ ต่าง Lineweight1.4 ระบบพกิ ดั สาํ หรับการเขียนแบบ เมื่อตอ้ งการเขียนเส้นความยาวตามตอ้ งการ หรือระบุตาํ แหน่งวตั ถุใด เราจะตอ้ งระบุพิกดั จุดปลายแต่ละจุดของเส้นหรือของวตั ถุน้นั เป็ นตน้ ซ่ึงในส่วนของโปรแกรมไดม้ ีการแบ่งระบบพิกดัเพื่อใชก้ าํ หนดพิกดั ตาํ แหน่งดงั น้ีคือ 1.4.1 ระบบพิกดั สมบูรณ์ (Absolute Coordinate) เป็ นระบบพิกดั ท่ีวดั ระยะจากจุดเริ่มตน้(Origin) ที่จุดตดั ของแกน X=0 และ แกน Y=0 ไปยงั จุดตดั กนั ท่ีเกิดข้ึนในระนาบแกน X และแกน Yโดยมีรูปแบบดงั น้ีคือ X, Y ป้ อนคา่ ท่ี command line

47เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) Command: _line Specify first point: 2, 3 Specify next point or [Undo]: -1, 2 Specify next point or [Undo]: -2, -1 Specify next point or [Close/Undo]: 3, -4 Specify next point or [Close/Undo]: c ถา้ ป้ อนอกั ษร c [Close] โปรแกรมจะทาํ การเขียน เส้นจากจุดปัจจุบนั ไปยงั จุดเริ่มตน้ ของการใช้ คาํ สง่ั รูปที่ 1.65 การอ่านค่าระบบพิกดั สมบรู ณ์ (Absolute Coordinate) 1.4.2 ระบบพิกดั สัมพทั ธ์ (Relative Coordinate) เป็นการป้ อนค่าในแนวแกน X และ Y โดยทาํการอา้ งอิงจากจุดสุดทา้ ยของการป้ อนใหม้ ีคา่ เป็นจุด Origin โดยมีเครื่องหมาย @ นาํ หนา้ มีรูปแบบดงั น้ี @ X,Y ป้ อนค่าที่ command line Command: _line Specify first point: Specify next point or [Undo]: 2, 1 Specify next point or [Undo]: @1, 2 Specify next point or [Close/Undo]: @-5, -1 Specify next point or [Close/Undo]: @1, -4 Specify next point or [Close/Undo]: @2, -1 Specify next point or [Close/Undo]: c รูปที่ 1.66 การอ่านค่าระบบพิกดั สมั พทั ธ์ (Relative Coordinate)

48เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) 1.4.3 ระบบพิกดั สัมพนั ธ์เชิงมุม (Relative Polar) เป็นการป้ อนคา่ ระยะรัศมีและมุมที่เกิดจากเส้นรัศมีที่กระทาํ กบั แกน X (0 องศา) โดยอา้ งอิงจากจุดสุดทา้ ยของการป้ อนใหม้ ีคา่ เป็นจุด Origin มีเคร่ืองหมาย @ นาํ หนา้ มีรูปแบบดงั น้ีคือ @ ระยะทาง < มุม ป้ อนค่าที่ command line Command: _line Specify first point: Specify next point or [Undo]: 2, 1 Specify next point or [Undo]: @2<0 Specify next point or [Close/Undo]: @2<90 Specify next point or [Close/Undo]: @2<180 Specify next point or [Close/Undo]: @1<225 Specify next point or [Close/Undo]: @3.2<180 Specify next point or [Close/Undo]: @5.1<270 Specify next point or [Close/Undo]: @3<0 Specify next point or [Close/Undo]: @2<45 รูปท่ี 1.67 การอ่านคา่ ระบบพิกดั สมั พนั ธ์เชิงมุม (Relative Polar)หมายเหตุ 1. มุมทวนเขม็ นาฬิกามีเคร่ืองหมายเป็ นบวก มุมตามเขม็ นาฬิกามีเคร่ืองหมายเป็นลบ 2. ผใู้ ชง้ านจะตอ้ งทราบถึงขนาดความยาวเส้นและมุมของเส้นกบั แนวแกน X 1.4.4 การกาํ หนดค่าพิกดั ผา่ นทาง Dynamic Input การกาํ หนดค่าจะมีความหมายเหมือนกบัการกาํ หนดคา่ แบบ Relative coordinate และ Relative polar coordinate เพยี งแตผ่ ใู้ ชไ้ ม่จาํ เป็นตอ้ งพิมพส์ ัญลกั ษณ์ @ สามารถพมิ พต์ วั เลขไดเ้ ลย ตวั อยา่ งเช่น ตอ้ งการเขียนเส้น ในแนวแกนนอน ยาว100 หน่วย การป้ อนแบบ Relative coordinate คือพมิ พ์ 100,0 Enter การป้ อนแบบ Relative polar coordinate คือพิมพ์ 100<0 เป็นตน้

49เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) สรุปหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 Auto CAD เป็ นโปรแกรมที่ช่วยใหน้ กั เขียนแบบทาํ งานไดด้ ีข้ึน สะดวกข้ึน และรวดเร็วมากย่ิงข้ึน คุณสมบตั ิพิเศษเหล่าน้ี จะไม่มีในการเขียนแบบดว้ ยมืออยา่ งแน่นอน ซ่ึงในปัจจุบนั การเขียนแบบดว้ ยมือมีไดน้ อ้ ยมาก นอกจากการเรียนการสอนเขียนแบบสถาปัตยกรรมในสถาบนั การศึกษาเท่าน้นั ท่ีนกั เรียนจาํ เป็ นตอ้ งรู้ไวเ้ ป็ นพ้ืนฐาน สําหรับความพิเศษของโปรแกรม Auto CAD ที่ทาํ ให้เหนือกวา่ การเขียนแบบดว้ ยมือ พอจะสรุปขอ้ ๆ ไดด้ งั น้ี 1. ความละเอียด ของโปรแกรม Auto CAD ถือวา่ มีมากกว่าการเขียนแบบดว้ ยมือที่ใชไ้ ม้Scale เป็นตวั วดั จะไม่มีทางมีความละเอียดถึง ทศนิยม 8 ตาํ แหน่งอยา่ งโปรแกรม อยา่ งแน่นอน 2. ความละเอียดแม่นยํา หากใช้ปากกาเขียนแบบเขียนเส้นจากเส้นเดิมท่ีเขียนไว้ คุณจะตอ้ งเช็ดหัวปากกาให้แห้งสนิทอย่างดี แล้วจึงจะเขียนได้ หากหมึกไม่แห้งรับรองว่าเส้นไม่สม่าํ เสมอแน่นอน และอาจจะไม่ต่อจากเส้นเดิมก็ได้ แต่ Auto CAD มีความแม่นยาํ ต่อจากปลายเส้นเดิมดว้ ยคาํ ส่งั Object Snap ที่สามารถจบั ไดท้ ้งั ก่ึงกลางส้น ปลายเส้น หรือจุดศูนยก์ ลางของวงกลมก็ตาม หรือจะเป็ นคาํ ส่ัง Othor Mode (กดแป้ น F8) จะเป็ นการสลบั การทาํ งานแบบให้เมาส์เคล่ือนท่ีไดอ้ ยา่ งอิสระไปไดท้ วั่ หรือจะให้เมาส์ทาํ งานแบบวิ่งไปตามแนวแกนต้งั และแกนนอน ซ่ึงทาํ ให้ทาํ งานได้อยา่ งรวดเร็วมากยงิ่ ข้ึน 3. ลดการซํ้า ในแบบบา้ นเพียง 1 หลงั ถา้ เขียนแบบด้วยมือ อาจจะตอ้ งเขียนแบบประตูหนา้ ต่าง ลายกระเบ้ือง ฯลฯ ถึงหลายคร้ัง ปัญหาเช่นน้ีจะไม่มีเกิดกบั การเขียนแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ซ่ึงมีท้งั คาํ ส่งั Copy, Mirror, Offset หรือ Block ที่จะช่วยใหท้ าํ งานเพียงคร้ังเดียวแต่ใชไ้ ดไ้ ปตลอด 4. มุมมองหน้าจอโปรแกรม สามารถใชก้ ลุ่มคาํ สง่ั Zoom ยอ่ และขยายแบบงานไดอ้ ยา่ งอิสระซ่ึงทาํ ให้ ไม่จาํ เป็นตอ้ งเพง่ ชิ้นงานจนทาํ ใหป้ วดตา 5. การบอกระยะ การบอกระยะในโปรแกรมมีความละเอียดเที่ยงตรงสูงมากกวา่ การเขียนแบบดว้ ยมือ แถมยงั สามารถเขียนบอกระยะไปเร่ือย ๆ โดยไมต่ อ้ งหยดุ กไ็ ด้

50เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพิวเตอร์ (3106-2011) ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานรายวชิ า : เขียนแบบก่อสร้างดว้ ยคอมพวิ เตอร์เรื่อง : เริ่มตน้ การใชง้ านโปรแกรม Auto CAD วชิ า เขียนแบบก่อสร้างด้วยคอมพวิ เตอร์แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานสําหรับครูผ้สู อน รหสั 3106-2110หน่วยท่ี 1 เร่ิมตน้ การใชง้ านโปรแกรมAuto CAD ว/ด/ป............................................................ชื่อ-สกุล ...................................................... ระดบั ช้นั /กลุ่ม.........................เลขท่ี..............สรุปผลการปฏบิ ตั งิ านเวลาที่เริ่มปฏิบตั ิงาน...............................................น. เวลาท่ีงานเสร็จ.........................น.ใชเ้ วลาในการปฏิบตั ิงาน.................... ชม. ..........น. หัวข้อท่ที ําการประเมนิ รายละเอยี ด คะแนน คะแนน หมายเหตุ ท่ีพจิ ารณา เตม็ ทไ่ี ด้1. ข้ันฝึ กหัด (20)การเปิ ดไฟลง์ าน 1การต้งั ค่าการใชง้ าน ถกู ตอ้ ง 3การเขียนแบบไดต้ ามใบงาน 15การบนั ทึกไฟลง์ าน 12. ข้นั สรุปและตรวจสอบ ถกู ตอ้ ง (10)สรุปการข้นั ตอนในการเขียน3. ข้นั ฝึ กฝนเพอ่ื ให้เกดิ ความชํานาญ (10)เขียนตามรูปแบบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ถกู ตอ้ ง 5ถกู ตามข้นั ตอนของการเขียนแบบ 54. ข้นั ประเมนิ ผล ถกู ตอ้ ง (10) รวมคะแนน 50ข้อเสนอแนะ...............................................................................................................................…………………….……………………………………………………………………………….. (นายทนงศกั ด์ิ มสู าร) ผปู้ ระเมิน