Food and beverage director ม หน าท อะไรในโรงแรม

มีหน้าที่สรรหา คัดเลือกและฝึกอบรมพนักงาน วางแผนและควบคุมการจัดซื้อ ของ ดูแลให้การจัดเตรียมอาหารเป็นไปอย่างราบรื่นโดยมีมาตรฐานสูง ตลอดจนกำหนดและควบคุมงบประมาณ ที่เกี่ยวข้อง

2. กุ๊กใหญ่ หรือ หัวหน้าแผนกครัว (Head Chef or Executive Chef)

สำหรับคนที่อยู่ในตำแหน่งนี้จะไม่ค่อยได้ทำอาหารเอง เพราะจะเป็นคน คอยกำกับดูแล และควบคุมใบสั่งอาหารที่เข้ามา โดยจะบอกกุ๊กแต่ละคนที่มีหน้าที่ในการเตรียมสิ่งของพวกนี้ อีกทั้งกุ๊กใหญ่ต้องคอย ตรวจสอบไม่ให้พนักงานใช้ของแบบทิ้งๆ ขว้างๆ อีกด้วย และต้องดูแลให้ห้องครัวอยู่ในสภาพที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ และอาหาร ที่ทำออกมาต้องมีคุณภาพและมาตรฐานสูง ความรับผิดชอบที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ฝึกอบรมพนักงาน และต้องเป็นครูที่ดีด้วย ไม่อย่างนั้น ตัวเองจะต้องเหนื่อยมาก เพราะกุ๊กที่มีฝีมือดีมักจะถูกทาบทามไปทำงานในโรงแรมอื่นด้วยค่าจ้างที่สูงก ว่า ความเป็นครูกับลูกศิษย์จะช่วย รักษากุ๊กไว้ให้ทำงานอยู่กับตัวเองไปได้อย่างน้อยชั่วระยะเวลาหนึ่ง

3. รองกุ๊กใหญ่ หรือรองหัวหน้าแผนกครัว (Second Chef or Sous Chef)

จะทำหน้าที่ช่วยกุ๊กใหญ่ในงานต่างๆ หรือรักษาการแทน เมื่อกุ๊กใหญ่ไม่อยู่ ซึ่งงานหลักๆ ก็คือ การตรวจสอบว่าของต่างๆ ที่ต้องใช้ประกอบอาหารที่สั่งไว้นั้นมาครบหรือยัง และเช็คว่ากุ๊กหน่วยต่าง ๆ ในครัวรู้หรือไม่ว่าจะต้องทำอะไรบ้างในแต่ละมื้อแต่ละวัน

4. หัวหน้าครัวหรือหัวหน้าหน่วยในครัว (Section Chef หรือ Chef de Partie)

ในแผนกนี้จะแบ่งเป็นแผนกออก มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ขนาดของโรงแรมหรือห้องอาหารนั้นๆ จึงมีหัวหน้ากุ๊กที่ดูแลรับผิดชอบเป็นแผนกๆ ไปเรียกรวมๆ ว่า Chef de Partie โดยชื่อแผนก และตำแหน่งต่างๆ ในครัวนิยมเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสเหมือนสมัยก่อน ซึ่งจะใช้กับเฉพาะห้องอาหารที่มีผู้จัดการค่อนข้างอนุรักษ์นิยม โดยมีดังนี้

  1. 1. * หัวหน้าหน่วยผัก (The Vegetable Chef) หรือเรียกว่า Chef Entremettier (เชฟ ออง เตรอะเมดิเยอร์)
    • หัวหน้าครัวขนมอบ (The Pastry Chef) เรียกว่า Chef Patissier ( เชฟ ปาติซิเยร์)
    • หัวหน้าครัวอบ-ย่าง (The Rousseur Chef) เรียกว่า Chef Rotisseur (เชฟ โรติเซอร์)
    • หัวหน้าครัวเย็น หรือ หัวหน้าที่ดูแลห้องเก็บอาหาร (The Chef in charge of the larder or cold kitchen) เรียกว่า Chef Garde-manger (เชฟ การ์ด มองเซร์)
    • หัวหน้าหน่วยปลา (The Fish Chef) เรียกว่า Chef Poissonnier (เชฟ ปัวซอง นิเยร์)
    • หัวหน้าหน่วยซอส (The Sauce Chef) เรียกว่า Chef Saucier (เชฟ โซซิเยร์)

5. กุ๊กหมุนเวียน (Rellet Chef หรือ Chef Toumant) หรืออีกชื่อคือ เชฟ ตูร์น็อง

มีหน้าที่ทำงานแทนเวลาหัวหน้ากุ๊กหน่วยต่างๆ ไม่อยู่ ซึ่งจะเป็นผู้ที่มีความชำนาญในงานของหลายๆ ครัว แม้ว่าจะไม่เก่งทุกด้าน แต่ก็สามารถที่จะทำได้อย่างไม่ติดขัด

6. ผู้ช่วยกุ๊ก (Commia Chef)

มีหน้าที่คอยช่วยงานของหัวหน้ากุ๊กในหลายๆ ด้าน แต่เป็นงานที่ไม่ต้องการความชำนาญอะไรเป็นพิเศษ

7. กุ๊กฝึกหัด (Apprentice หรือ Trainee Chef)

เป็นกุ๊กที่อาวุโสน้อยที่สุด มักจะเป็นพนักงานที่เพิ่งเข้ามาไม่นาน แต่หากทำงานยิ่งมี ประสบการณ์มากขึ้น ก็จะได้รับเข้าเป็นตำแหน่งไปตามลำดับชั้นของตำแหน่งในครัว

8. พนักงานทำความสะอาดในครัว (Kitchen Porter/Kitchen Assistant)

มีหน้าที่ดูแลครัวให้สะอาดและถูกสุขลักษณะ โดยงานหลักคือ ล้างหม้อกระทะ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ภายในครัว จาน ชาม นำขยะไปทิ้ง ทำความสะอาดพื้น และตามกำแพงต่างๆ รวมถึงขนของ ที่มีคนนำมาส่งไปจัดเรียงไว้ที่ชั้นเก็บของหรือใส่ไว้ตามถังเก็บหรือนำเข้า ไปแช่ในตู้เย็น

ที่มา : www.rmu.ac.th

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

คว้างานที่ใช่ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

การจัดแบ่งแผนกงานต่างๆ ในโรงแรม ตอนแผนกแม่บ้าน

การจัดแบ่งแผนกงานต่างๆ ในโรงแรม ตอนแผนกต้อนรับ

การจัดแบ่งแผนกงานต่างๆ ในโรงแรม ตอนแผนกบริการทั่วไป

เทรนด์งานยอดฮิตและเงินเดือน

เรียกดูคำค้นหาที่ได้รับความนิยม

ทราบหรือไม่ว่ามีผู้สมัครจำนวนเท่าไหร่ที่เตรียมเรซูเม่ที่หาข้อมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมของตนโดยการสำรวจด้วยคำค้นหาที่ได้รับความนิยม

คือ จขกท ได้รับการโปรโมทให้เป็นผู้จัดการห้องอาหารของโรงแรมแห่งหนึ่ง ก็เลยรบกวนสอบถามผู้รู้ว่าผู้จัดการห้องอาหารที่ดีต้องทำอะไรบ้างครับ?

0

0

Food and beverage director ม หน าท อะไรในโรงแรม

สมาชิกหมายเลข 1592930

▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

Restaurant manager กับ F&B Supervisor ตำแหน่งใครสูงกว่ากันคะ

งานโรงแรม Restaurant manager กับ F&B Supervisor ตำแหน่งใครสูงกว่ากันคะ

สมาชิกหมายเลข 6280716

การบริหารจัดการ

ทรัพยากรบุคคล

สมาชิกหมายเลข 7842444

สมาชิกหมายเลข 5967063

สมาชิกหมายเลข 7904953

สมาชิกหมายเลข 7182372

สมาชิกหมายเลข 6041505

สมาชิกหมายเลข 6041505

สมาชิกหมายเลข 7689087

stardom

สมาชิกหมายเลข 7661781

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ การบริหารจัดการ การตลาด ธุรกิจโรงแรม

Food and Beverage Manager มีหน้าที่ทำอะไร

1.รับผิดชอบงานบริหารจัดการ และการปฏิบัติหน้าที่ในการบริการอาหารเครื่องดื่ม ของแผนกให้พร้อมเสมอ 2.รับผิดชอบ และควบคุมคุณภาพ รายการอาหาร และการให้บริการร่วมกับแผนกต่างๆ 3.ประมาณการและควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ในส่วนของห้องอาหาร ห้องครัว 4.นำเสนอรูปแบบการบริการด้านอาหารและเครื่องดื่ม รูปแบบใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา

ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม (Food & Beverage) ประกอบด้วยสายงานอะไรบ้าง

แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service).

พนักงานเสิร์ฟ (ชาย Waiter/หญิง/Waitress).

1.ผู้จัดการห้องอาหาร (Resturant Manager).

2.หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟ (ชาย Head Waiter/หญิง Head Waitress หรือ.

Maltre d'Hotel หรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre D.).

3. พนักงานเก็บเงิน หรือ แคชเชียร์ (Cashier).

ผู้อำนวยการฝ่ายอาหารและเครื่องดื่มมีหน้าที่อะไร

ผู้อ านวยการแผนกอาหารและเครื่องดื่ม มีหน้าที่บริหารงาน ก ากับดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของแผนกอาหารและเครื่องดื่ม ก าหนดมาตรฐานของอาหารและเครื่องดื่มเพื่อวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบ วิเคราะห์แนวโน้มของธุรกิจ ราคาของสินค้าแหล่งจัดซื้อ จัดท ารายงานเกี่ยวกับงบประมาณของแผนกอาหาร และเครื่องดื่มทั้งรายรับและรายจ่ายเพื่อน า ...

F&B Supervisor คืออะไร

-ควบคุมดูแลและรับผิดชอบงานในส่วนของการบริการลูกค้าในห้องอาหารโรงแรม รวมถึงควบคุมดูแลพนักงานในแผนก -บริการลูกค้าที่มาใช้บริการ -ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายของแผนกอาหารและเครื่องดื่ม คุณสมบัติผู้สมัคร