Frankfurt 5 ท ม กลางค น เปล ยวหร อไม

พลวตั ของการปฏวิ ตั กิ ารทหาร พ.ศ.1843 - 2593 (The dynamic of military revolution, 1300-2050) พลวตั ของการปฏวิ ัติการทหาร พ.ศ.1843 – 2593 (The dynamic ofmilitary revolution, 1300-2050) มีวตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เชือ่ มชอ งวางระหวา งผลงานเขียนทมี่ ีเกย่ี วกบั การปฏิวัติในกจิ การทหาร โดยไดเสนอปรากฏการณท่ีแตกตางกันที่เกิดในหลาย ๆ ศตวรรษท่ีผานมา 2 ปรากฏการณ คือ\"การปฏวิ ตั กิ ารทหาร (Military revolution)\" ซงึ่ ถกู ขบั เคลือ่ นดวยการเปลย่ี นแปลงทางสังคมและการเมอื งอยา งมากมาย และ \"การปฏวิ ตั ิในกจิ การทหาร(Revolution in military affairs)\" ซงึ่ สถาบนั ทหารไดด าํ เนินการแมว า โดยปกติจะบรรลผุ ลยากย่ิงและไมชดั เจน งานเขยี นนจ้ี ะใหกรอบแนวคดิ และบริบทเชิงประวตั ศิ าสตร เพ่ือเขาใจรปู แบบการเปลย่ี นแปลง, นวัตกรรม และการปรับตวั ซงึ่ ไดก ลาวถงึ สงครามในโลกตะวันตกต้งั แตศ ตวรรษที่ 14 เร่ิมดว ยการปฏิวัติของกษัตริยเอด็ เวริ ด ที่ 3 ในสงครามยคุ กลาง ผา นการพฒั นาสถาบนัทหารสมัยใหมข องฝรงั่ เศสในศตวรรษที่ 17 ไปจนถงึ ผลกระทบของการเมืองภาคประชาชน (Mass politic) ในการปฏวิ ตั ิฝร่ังเศส หายนะในการแขง ขนัทางการทหาร-อุตสาหกรรม ป พ.ศ.2457-2461 (ค.ศ.1914-1918) และชัยชนะของสงครามสายฟา แลบของเยอรมนั ในป พ.ศ.2483 (ค.ศ.1940) ท้ังน้ี กรณีศึกษาตาง ๆ และกรอบแนวคดิ ท่ัวไปของงานเขยี นนี้ใหข อเสนอแนะทส่ี าํ คัญย่งิในการเปล่ียนแปลงดา นการทหารแบบปฏวิ ัตซิ ่ึงตองเกิดขนึ้ เนอื่ งจากยากทจี่ ะคาดการณในศตวรรษที่ 21

พลวตั ของการปฏิวัตกิ ารทหาร พ.ศ. 1843 - 2593 (The dynamic of military revolution, 1300-2050) พลวตั ของการปฏิวัติการทหาร พ.ศ. 1843 - 2593 (The dynamic ofmilitary revolution, 1300-2050) มีวตั ถุประสงคเ พอ่ื เชือ่ มชองวา งระหวา งผลงานเขียนที่มีเก่ียวกับการการปฏิวัติในกิจการทหาร โดยไดเสนอปรากฏการณท่ีแตกตางกันท่ีเกิดในหลาย ๆ ศตวรรษทผี่ านมา 2 ปรากฏการณ คือ \"การปฏวิ ัติการทหาร (Military revolution)\" ซึง่ ถกู ขบั เคลื่อนดว ยการเปล่ยี นแปลงทางสังคมและการเมืองอยางมากมาย และ \"การปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolution inmilitary affairs)\" ซ่ึงสถาบันทหารไดด าํ เนนิ การแมวา โดยปกตจิ ะบรรลผุ ลยากยงิ่และไมช ัดเจน งานเขียนนจ้ี ะใหกรอบแนวคดิ และบรบิ ทเชิงประวตั ิศาสตร เพ่ือเขาใจรปู แบบการเปล่ยี นแปลง, นวัตกรรม และการปรับตวั ซงึ่ ไดก ลาวถงึ สงครามในโลกตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 14 เริ่มดวยการปฏิวัติของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3ในสงครามยุคกลาง ผา นการพัฒนาสถาบันทหารสมัยใหมของฝรงั่ เศสในศตวรรษท่ี 17 ไปจนถึงผลกระทบของการเมอื งภาคประชาชน (Mass politic) ในการปฏิวัติฝร่ังเศส หายนะในการแขงขันทางการทหาร-อุตสาหกรรม ป พ.ศ.2457-2461 (ค.ศ.1914-1918) และชยั ชนะของสงครามสายฟาแลบของเยอรมันในปพ.ศ.2473 (ค.ศ.1940) ทัง้ นี้ กรณีศึกษาตางๆ และกรอบแนวคดิ ทวั่ ไปของงานเขียนนี้ใหขอเสนอแนะท่ีสําคัญย่ิงในการเปล่ียนแปลงดานการทหารแบบปฏิวัติซงึ่ ตองเกดิ ข้นึ เนือ่ งจากยากท่ีจะคาดการณใ นศตวรรษท่ี 21 MacGregor Knox เคยปฏิบัติหนาที่ในสงครามเวียดนามในตําแหนงผูบังคับหมวดปนเลก็ กองพลนอยสงทางทางอากาศที่ 173 (173rd Airborne BrIgade)ปจจุบนั เปนศาสตราจารยในมหาวิทยาลยั สตีเวนสนั สาขาประวัตศิ าสตรนานาชาติ(Stevenson Professor of International History) ที่สถาบนั เศรษฐศาสตรแ ละการเมืองลอนดอน (London School of Economics and Political Science)ผลงานอืน่ ๆ ของทา นผนู ไี้ ดแ ก Mussolini Unleashed, 1939-1941; CommonDestiny: Dictatorship, Foreign Policy, and War in Fascist Italy andNazi Germany; และ Hitler's Italian Allies

Williamson Murray เคยปฏิบตั หิ นา ท่ใี นกองทัพอากาศสหรัฐฯ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต เคยสอนทม่ี หาวิทยาลยั เยล, มหาวทิ ยาลัยรัฐโอไฮโอ, วิทยาลัยการทพั เรือ, วทิ ยาลัยการทัพบก และวทิ ยาลยั นาวิกโยธนิ มงี านเขียนมากมายเก่ียวกับประวตั ิศาสตรทหารศตวรรษท่ี 20 รวมทง้ั งานเขียนรว มเก่ยี วกับประวัติศาสตรที่เปนทช่ี ื่นชม A War to be Won: Fighting the Second World War (สงครามท่ีตอ งชนะ: การรบในสงครามโลกครั้งที่ 2)

สําหรับผูที่อยูในกองทัพของสหรัฐฯ และพันธมิตร ท่ีเช่ือม่ันวา\"0การใชกําลังมากทส่ี ดุ ไมม ีทางทจ่ี ะขัดแยงกับการใชป ญ ญาควบคูกันไป0(the maximum use of force is in no way incompatiblewith simultaneous use of the intellect)\" (On War, Book I.i.3)

งสารบัญผเู ขียน1 จกิตติกรรมประกาศ1 ฉรปู ภาพและตาราง1 ช1. แนวคดิ ของการเปลีย่ นแปลงแบบปฏิวตั ิในการสงคราม1 1 26 วลิ เลียมสัน เมอรเ รย และ แมคเกรเกอร นอ กซ2. อาทติ ยดวงใหม: การปฏิวตั ใิ นกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 164 100 ของอังกฤษ คลฟ๊ิ อร็ด เจ. โรเจอรส 1303. การเสรมิ สรา งกองทพั ตะวันตกในฝรงั่ เศสศตวรรษท่ี 17 164 จอหน เอ. ลนิ น4. การเมอื งมหาชนและลัทธชิ าตนิ ิยมในการปฏิวตั ิทางการทหาร: 2041 การปฏิวัติฝรัง่ เศสและหลงั จากน้นั แมคเกรเกอร นอกซ 2375. การคงอยขู องการปฏวิ ัติการทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมริกา1 มารค กรมิ สลย่ี 6. การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารของปรสั เซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414) เดนนสิ อ.ี โชวอลเทอร7. การปฏวิ ตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914) โฮลเกอ ร เอช. เฮอรวกิ8. สงครามโลกคร้ังท่ี 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมยั ใหม1 โจนาธาน บี. เอ. ไบลย่ี 

ง 275 3139. 1พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกจิ การทหาร ของเยอรมนั วิลเลียมสัน เมอรเ รย10. อนาคตตอไป1 วิลเลยี มสนั เมอรเ รย และ แมค เกรเกอ ร นอ กซ

จ ผูเขยี นพลจตั วา Jonathan B. A. Bailey John A. LynnMBE, ADC Professor of HistoryDirector Royal Artillery British Army The University of Illinois at Urbana- ChampaignMark Grimsley Williamson MurrayProfessor of History Senior FellowThe Ohio State University Institute for Defense AnalysesHolger H. Herwig Clifford J. RogersProfessor of Strategy Professor of HistoryThe University of Calgary The United States Military AcademyMacGregor Knox Dennis E. ShowalterStevenson Professor of Professor of HistoryInternational History Colorado CollegeThe London School of Economicsand Political Science

ฉ กิตตกิ รรมประกาศ หนังสือนี้ใชเวลานานในการจัดทํา แตเน้ือหาท่ีกลาวนาจะยังคงอยูตอไป คณะบรรณาธิการขอขอบคุณผูเขียนของเราทั้งหมดสําหรับทักษะและความอดทน ขอขอบคุณ The Marine Corps University andThe Marine Corps University Foundation, Quantico, Virginiaสําหรับการสนับสนุนอยางดียิ่งและดวยไมตรีจิตในการจัดการประชุมเมื่อพ.ค.2539 เรื่อง “Historical Parameters of Revolutions in Military Affairs”ต้ังแตที่ไดเร่ิมจัดทําหนังสือนี้ สุดทาย ขอขอบคุณ Andrew W. Marshallซ่งึ เปรยี บเสมอื นแสงสวางในยามมดื เสมอมา สําหรับการชวยเหลือมาเปนเวลาหลายปตอความรูความเขาใจอยางแทจริงในดานทหาร และการรักษาความมั่นคงของสหรัฐฯ และของพันธมิตร ท้ังหมดที่ไดบรรจุไวเพ่ือสรางความเขมขนของหนังสือนี้ไมทางใดก็ทางหนึ่ง หากมีขอบกพรองใดก็ขอนอมรับเปนความรับผิดชอบท้งั หมดของเราเหลาบรรณาธิการMacGregor Knox Williamson MurrayLondon Alexandria, Virginia

ช รปู ภาพและตาราง รูปภาพ3.1 รปู ขบวนกองพนั ของฝรง่ั เศส ป 1622-1750 (พ.ศ.2165-2293)3.2 กองพนั ทหารราบของฝรง่ั เศสแปรขวนเพ่ือทาํ การรบ ป 1670-90 (พ.ศ.2213-33)3.3 ปน ใหญฝ ร่งั เศสขนาด 25 ปอนด ของระบบ Vallière และ de nouvelle invention ตาราง1.1 การปฏิวัตใิ นกจิ การทหาร และการปฏิวัตกิ ารทหาร3.1 ปน ใหญฝ ร่ังเศส ป 1650-1800 (พ.ศ.2193-2343)

1 แนวคิดของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏวิ ตั ใิ นการสงคราม แม็กเกรเกอร นอ กซ (MacGregor Knox) และวิลเลียมสนั เมอรเ รย (Williamson Murray) คําวา \"การปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolution in military affair (RMA))\"ไดเ ปนที่นยิ มในหลกั สูตรของป 1990 (พ.ศ.2533) โดยเปนหัวใจของการถกแถลงในกลาโหมเก่ียวกับยุทธศาสตรในอนาคต และไดเพ่ิมข้ึนในการพยายามเพื่อใหไดมาและการงบประมาณแบบอาณาจักรไบแซนไทน (Byzantine budgetary)ของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่วอชิงตัน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเล็กนอยที่ทําใหเขาใจอดีตของกรอบแนวคิด, ชวยในการเขาใจบริบทหรือขอเท็จจริง (Phenomena)ทก่ี ลาวอางเพอ่ื อธบิ ายภายในกรอบประวตั ศิ าสตรที่ซบั ซอ น หรือใหแนวทางมากมายในการทําความเขาใจระดบั ท่ีนาจะเปนและทิศทางของการเปลี่ยนแปลงของสงครามในอนาคต ซึง่ หนงั สอื นเี้ ปนการดาํ เนนิ การเพือ่ ตอบคาํ ถามทตี่ องการตาง ๆ เหลานน้ั พนื้ ฐานกรอบแนวคดิ แนวคิดการปฏิวัติในกิจการทหารมาจากหลักการ 2 แหลง คือนักประวัติศาสตรสมัยใหมในชวงเริ่มตน และนักทฤษฎีทหารโซเวียต โดยกรอบแนวคิดแรกท่ีใกลเคียงของ \"การปฏิวัติการทหาร (Military revolution)\" เกิดขึ้นในป 1955 (พ.ศ.2498) ในการบรรยายในการเขารับตําแหนงอยางเปนทางการโดยไมเคิล โรเบิรต (Michael Roberts)1 นักประวัติศาสตรชาวอังกฤษ ซ่ึงโรเบิรต 1Michael Roberts, The Military Revolution, 1560-1660 (Belfast, 1956)พิมพใหมใน Michael Roberts, Essays in Swedish History (London, 1967)และใน Clifford J. Rogers, ed., The Military Revolution Debate, Readings onthe Military Transformation of Early Modern Europe (Boulder, CO, 1995)สาํ หรับมมุ มองทีแ่ ตกตาง ดู Geoffrey Parker, \"The 'Military Revolution', 1560-1660 -A Myth?\" และ \"In Defense of 'The Military Revolution' \", ใน Rogers, The MilitaryRevolution Debate รวมทั้งดู Geoffrey Parker, The Military Revolution:Military Innovation and the Rise of the West, 1500-1800 (Cambridge, 1988)ที่สําคัญ หนังสือของโรเจอรสซึ่งพิมพเมื่อป 1995 ใชเฉพาะคําวา \"Revolution (การปฏิวัติ)\"

2กลาววา ในตนศตวรรษท่ี 17 ภายใตการนําของกษัตริยนักรบอดอลฟ กุสตาฟ(Gustavas Adolphus) สวีเดนไดเริ่มการปฏิวัติการทหารที่เลิกวิธีการเดิม ๆ ของหนวยทหารและยุทธวิธีตาง ๆ ของชาติตะวันตกทั้งหมด2 ทําใหเกิดการถกเถียงในชื่อเรื่อง สําหรับผูสนใจที่จะคนควาเพิ่มเติม แนะนําใหอานหนังสือตอไปนี้ คือGunther E. Rothenberg, \"Maurice of Nassau, Gustavus Adolphus,Raimondo Monteuccoli และ 'Military Revolution' of the SeventeenthCentury\", ใน Peter Paret, Gordon A. Craig, and Felix Gilbert, eds',Makers of Modern Strategy (Oxford, 1986; K. J. V. Jespersen, \"SocialChange and Military Revolution in Early Modern Europe: SomeDanish Evidence\", The Historical Journal XXVI (1983); Bert S. Hall andKelly R. Devries, \"Review Essay - the 'Military Revolution' Revisited\",Technology and Culture (1990); George Raudzens, \"War-WinningWeapons: The Measurement of Technological Determinism inMilitary History\", Journal of military History (1990); David A. Parrot,\"Strategy and Tactics in the Thirty Years' War: the 'Military Revolution'\", Militärgeschichtliche Mitteilungen (1985) (พิมพใหมใน Rogers, TheMilitary Revolution Debate); Edward M. Furgol, \"Scotland TuenedSweden: The Scottish Covenanters and the Military Revolution,1638-1651\", ใน J. Morrill, ed., The Scottish National Covenant in ItsBritish Context (Edinburgh, 1990); และ Mahinder S. Kingra, \"The traceitalienne and the Military Revolution during the Eighty Years' War,1567-1648\", Journal of Military History (1993) ทั้งนี้ หน่ึงในการคนควาที่ดีท่ีสุด ของยุคคือ Hans Delbrück, History of the Art of War, vol.4,The Dawn of Modern Warfare (Lincoln, NB, 1990). 2สาํ หรับเน้อื หาคํากลา วของโรเบิรต สาํ หรบั การปฏิวตั ิการทหารของสวีเดน เมอรเ รยและนอ กซ

3ที่เขมขนเปนเวลาหลายทศวรรษ เกี่ยวกับขอบเขตและลักษณะของการเปล่ยี นแปลงของสงครามในศตวรรษท่ี 16 และ 173 ทายท่ีสุด ผูเชี่ยวชาญสวนใหญก็เห็นพองวาโรเบิรตถูกตองที่เสนอวา การสงครามของยุโรปในยุคนั้นไดเปล่ียนแปลงไปจากระบบพ้ืนฐาน แตป 1990 (พ.ศ.2533) นักประวัติศาสตรทหารสวนใหญท่ีสนใจในประวัติศาสตรตะวันตกยุคอ่ืน ๆ ก็ไดละทิ้งส่ิงที่ไดถกเถียงกันจากแนวคดิ ทีโ่ รเบริ ต ไดเ ริ่มขึ้น4 แหลงที่สองที่มีผลตอการพัฒนาความคิดเกี่ยวกับการปฏิวัติในกิจการทหารคือ งานเขียนของนักทฤษฎีทหารชาวโซเวียตต้ังแตป 1960 (พ.ศ.2503) เปนตนมาการปลูกฝงลัทธมิ ารก ซ- เลนิน (Marxist-Leninist) ทําใหกองทัพแดงซมึ ซับแนวคิดของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏิวัติ นกั ทฤษฎีของโซเวียตไดบุกเบิกในการวิเคราะหผลกระทบโดยรวมของสงครามโลกครั้งที่ 1 ตอกลยุทธทางทหารในป 1920 (พ.ศ.2463)ดูหนังสือ Gustavus Adolphus: A History of Sweden, 1611-1632, II(London, 1958). 3 ดู Cliffor J. Rogers, \"The Military Revolution in History andHistoriography\", ใน The Military Revolution Debate รวมทั้งดูของ Parker,\"In Defense of 'The Military Revolution' \", เรือ่ งเดียวกนั . 4หนังสือแนะนําที่ดีที่สุดคือ Rogers, The Military Revolution Debate,และดู William H. McNeill, The Pursuit of Power, Technology, ArmedForce, and Society Since A.D.1000 (Chicago, 1982), สําหรับบทวิพากษอยางกวางขวางในแนวโนมและประเด็นสําคัญ ควรศึกษา Jeremy Black,European Warfare, 1660-1815 (London, 1994). สวนกระบวนการเฉพาะในการสรางรัฐสมัยใหมดวยพลังอํานาจ ทางทหาร ดู John A. Lynn, Giant ofGrand Siècle: The French Army, 1610-1715 (Cambridge, 1997) และBruce D. Porter, War and the Rise of the Modern State (New York, 1993). แนวคดิ ของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏวิ ตั ิในการสงคราม

4และตนป 1930 (พ.ศ.2473)5 ความพยายามของสตาลินเพ่ือทําใหแนใจถึง\"ความปลอดภัยในพื้นท่ีเขตหลัง\" และการควบคุมอํานาจเบ็ดเสร็จของสตาลินเองดวยการกวาดลา งบุคคลช้นั นาํ ไดทาํ ลายการพฒั นาหลกั นยิ มการยุทธสมัยใหมข องกองทัพแดงตั้งแตป พ.ศ. 2480 (ค.ศ.1937) เปนตนมา ซึ่งหายนะของป 1941(พ.ศ.2484) ที่สงครามสายฟาแลบ (Blitzkrieg - บล๊ิทซครีก) ของเยอรมันไดเคล่ือนเขาประชิดเพื่อทําลายสหภาพโซเวียต ทําใหตองเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติในการสงคราม6 หลักนิยมการยุทธของโซเวียตไดถูกฟนฟูข้ึนอยางชา ๆ และในป1945 (พ.ศ.2488) ก็ไดกาวกระโดดไปเทากับความสําเร็จของเยอรมัน โดยตั้งแตปลายป 1940 (พ.ศ.2483) การพัฒนาระบบนิวเคลียรและจรวดของโซเวียตกก็ ลายมาเปนคแู ขงของตะวนั ตกดว ยเชนกัน นอกจากน้ี การปรากฏข้ึนของเทคโนโลยีใหมที่นาต่ืนตะลึงในกองทัพสหรัฐฯในป 1970 (พ.ศ.2513) เชน อาวธุ นาํ วิถที ีแ่ มนยาํ (Precision-guided munitions (PGM)),จรวดรอน (Cruise missile) และเครื่องบินลองหน (Stealth) ไดใหแนวคิดตอนักคิดของโซเวียตถึงการปฏิวัติทางเทคโนโลยีท่ีกาวหนายิ่งขึ้นที่กําลังเกิดอยู ซ่ึงมีนัยยะท่ีสําคัญย่ิงตอสหภาพโซเวียต ดวยการใหความสนใจอยางใกลชิด โดยการปลูกฝงแนวคิดตอปจจัยดานวัตถุ โซเวียตใหความสนใจตอแงมุมทางเทคโนโลยีวาอะไรที่ตนเขาใจวาเปน \"การปฏิวัติกลยุทธทางทหาร (Military-technical revolution)\" 5ดูงานป 1929 ของ V. K. Triandafillov, The Nature of Operationsof Modern Armies (London, 1994). 6ดู V. G. Reznichenko, Takika (Moscow, 1978), หนา 9ของการแปล Foreign Broadcast Information Service ใน Joint PublicationResearch Service Report, \"Soviet Union, Military Affairs\", JPRS-UMA-88-008-L-1, 29 June 1988; และ S. Davydov and V. Chervonobab,\"Conventional, but No Less Dangerous\", Energiya: Ekonomika,technika, ekologiya, no.7, 1987. เมอรเรยแ ละนอ กซ

5ท่ีเกิดข้ึน จอมพลนิโคไล วี. โอการคอฟ (Nikolai V. Ogarkov) เสนาธิการของโซเวียต (Chief of the Soviet general staff) ต้ังแตป 1977 (พ.ศ.2520) ถึงป 1984(พ.ศ.2527) ใหความเห็นวา ความกาวหนาเหลาน้ี \"ทําใหสามารถเพ่ิมอํานาจการทําลายของอาวุธตามแบบไดอยางรวดเร็ว (อยางนอยระดับหน่ึง) ทําใหอาจพูดไดวาเปนอาวุธทําลายลา งเปน กลมุ กอ นในแงของผลสมั ฤทธ์ิ\"7 จากมมุ มองของโซเวียต สิ่งนี้เปนโอกาสที่นาต่ืนตะลึงย่ิง อาวุธ \"อัจฉริยะ\"ใหมเทคโนโลยีสูงที่กองทัพสหรัฐฯ กําลังพัฒนาและใช มีผลคุกคามตอยุทธศาสตรและหลักนิยมการยุทธของโซเวียตท่ีลาหลังมากในขณะนั้นคือ ใชกําลังยานเกราะเปนกลุมกอนจํานวนมหาศาล, ปฏิบัติการในทางลึก และมีเปาหมายเพ่ือกวาดทําลายกําลังต้ังรับที่มีกําลังนอยกวาของนาโตอยางรวดเร็ว8 การวิเคราะหการใชกองทัพอากาศของสหรัฐฯ ที่ประสบผลสําเร็จอยางสูงทําใหการทิ้งระเบิดนําวิถีดว ยเลเซอรในยุทธการทางอากาศไลนแบคเกอร (Linebacker) เม่ือป 1972 (พ.ศ.2515)เพิ่มความยากลําบากแกโซเวียตอยางมาก9 ความพายแพนั้นไดเพ่ิมข้ึนอีกเม่ือ 7บทสัมภาษณนายพลสหภาพโซเวียต N. V. Ogarkov, \"The Defenseof Socialism: Experience of History and Present Day\", Krasnayazvezda, 1st ed., 9 May 1984. 8นักวางแผนของโซเวียตและเยอรมันตะวันออกมองการเขาถึงชายแดนฝรั่งเศส-สเปน ท่ีวัน ว.+30-35 ดูหนังสือแปลของ Mark Kramer, \"Warsaw PactMilitary Planning in Central Europe: Revelations from the East German Archives\",Cold War International History Project Bulletin, Issue 2 (1992), หนา 1, 13-19. 9ในสงครามอาวป 1991 เครื่องบินของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ใชอาวุธนําวิถีที่มีความแมนยํา (Precision-guided munitions (PGM)) ประมาณ 9,270 ลูกจากท่ีใช 227,100 ลูก ในยุทธการ Linebacker เครื่องบินของกองทัพอากาศไดใชอาวุธนําวิถีท่ีมีความแมนยํา (PGM)) กวา 29,000 ลูก สิ่งสําคัญทางยุทธวิธีของยุทธการ Linebacker นี้ทําใหนักวิเคราะหของอเมริกาไมไดมองวา แนวคดิ ของการเปลีย่ นแปลงแบบปฏวิ ัตใิ นการสงคราม

6นกั วางแผนของโซเวยี ตไดร บั ทราบนัยยะของการใชอาวุธขมการปองกันภัยทางอากาศและอาวุธนําวิถี (PGM) อยางกวางขวางโดยกองทัพอิสราเอลในสงครามยอม ค๊ิพพูร(Yom Kippor) และในสงครามทางอากาศตอมาตออาหรับซึ่งเปนเสมือนตัวแทนของสหภาพโซเวียต10 ในขณะเดียวกัน โซเวียตไดจับตาดูการพัฒนาของสหรัฐฯเชน โครงการ \"ยับย้ังการโจมตี (Assault Breaker)\" ที่มีเปาหมายในการพัฒนาขีปนาวุธระยะสั้นที่บรรจุหัวอาวุธยอยจํานวนหนึ่งสําหรับทําลายเปาหมายดวยความแมนยํา (Clouds of precision sub-munitions targeted) เต็มความลึกของยุทธบริเวณของสงครามตอกําลังระลอกหลังของกองทัพแดงใด ๆ ท่ีพุงเขาสูชอ งแคบ (Channel) และเทอื กเขาพีเรนีซ๊ (Pyrenees) จากความสามารถท่ีจะคุกคามและถามีโอกาส เพื่อยึดยุโรปตะวันตกทางบกหลังป 1944-45 (พ.ศ.2487-2488)เปนหลัก นอกจากนยี้ งั มอี าวธุ นวิ เคลยี รทไ่ี ดม าตัง้ แตป 1949 (พ.ศ.2492) เปนตนมาของตําแหนงระดับโลกของโซเวียตรัสเซีย ซ่ึงในป 1970 (พ.ศ.2513) ตําแหนงน้ีก็เรม่ิ วิกฤต แอนดรูว ดับเบิ้ลยู. มารแชล (Andrew W. Marshall) และสาํ นักประเมนิ ยทุ ธศาสตร (Office of Net Assessment) ของเขาในเพนตากอน เปนคนแรกทเ่ี ห็นความสาํ คัญของงานเขียนของโซเวียตเร่ือง \"การปฏิวัตหิ ลักนิยมทางทหารมกี ารเปล่ยี นแปลง แบบปฏวิ ตั ใิ ด ๆ ในความแมนยํากวาของลูกระเบิดนําวิถีดวยเลเซอรซึ่งโซเวียตท่ีสามารถเขาถึงบทเรียน จากการรบท่ีไดในสงครามเวียดนาม รวมท้ังผลโดยตรงของสงครามอาหรับ-อิสราเอล ไดสรุปไวอีกอยาง หนึ่ง ดู Barry D. Watts,\"American Air Power\", ใน Wiliamson Murray, ed., THe EmergingStrategic Environment: Challenges of the Twenty-first Century(Westport, CT, 1999). 10ดู Barry D. Watts and Thomas A. Keany, Effects andEffectiveness, Report II, vol.2, The Gulf War Air Power Survey(Washington, DC, 1993), หนา 67-71. เมอรเรยแ ละนอ กซ

7(Military-technical revolution)\" ตั้งแตก ลางป 1980 (พ.ศ.2523) ถงึ ตนป1990 (พ.ศ.2533) ขอ คิดเหน็ ตอ หลักนยิ มของโซเวยี ตและตอ แนวคดิ \"การปฏิวัติในกจิ การทหาร (Revolution in military affairs)\" จากสาํ นกั ประเมนิ ยทุ ธศาสตรไดม ีอิทธิพลมากขึ้นในประชาคมการปอ งกนั ประเทศของสหรัฐฯ11 มารแ ชล และสาํ นักประเมินยทุ ธศาสตรของเขาไดใ หค วามสําคัญตอกรอบแนวคดิ และหลกั นิยมทัง้ หมดมากกวา แงม มุ ทางเทคโนโลยกี ารปฏวิ ตั ิในกิจการทางทหารลวน ๆ12 ท้งั น้ีการใชค ําวา \"การปฏวิ ตั ิในกิจการทหาร (Revolution in military affairs)\"อยา งชดั เจนของสาํ นกั ประเมินยุทธศาสตรแ ทนคาํ วา \"การปฏิวัติหลกั นิยมทหาร(Military-technical revolution)\" ของโซเวียต มจี ดุ มงุ หมายท่จี ะเนน ถึงการใหค วามสาํ คญั ของกองทัพสหรฐั ฯ เกี่ยวกบั ประเด็นตา ง ๆ ทนี่ อกเหนอื จากการเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากน้ี มารแ ชลยังเนนย้าํ อยูตลอดวา กองทัพสหรฐั ฯยังไมไดตระหนกั ถงึ การปฏวิ ตั ิในกจิ การทหาร แตอ ยใู นความเปนจริงทไ่ี มม ากไปกวา 11 มารแชลแถลงตอสภาคองเกรสเมื่อป 1995 วา \"ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีทม่ี ีอยู และ ที่คาดไวใ นเร่ืองตา ง ๆ เชน อาวธุ นําวิถีท่ีมคี วามแมนยํา(PGM), อํานาจดานคอมพิวเตอร, และระบบเฝาตรวจ อาจเปล่ียนสงครามไปสูขอบเขตท่ีไดเกิดข้ึนระหวางชวงปลายสงครามโลกคร้ังท่ี 1 กับ ตนสงครามโลกคร้ังที่ 2ดวยสงครามยานเกราะ, การทิ้งระเบิด ทางยุทธศาสตร, และเคร่ืองบินลําเลียง\"(Andrew W. Marshall, \"Revolutions in Military Affairs\", Statement forSubcommittee on Acquisition and Technology, Senate ArmedServices Committee, 5 May 1995, หนา 1). 12อธบิ ายประเด็นนีไ้ ดจ ากขอ เท็จจริงทวี่ า สํานักงานประเมินยทุ ธศาสตร(Office of Net Assessment) เจตนาทจี่ ะสนับสนุนการศึกษาเชิงประวตั ศิ าสตรเกย่ี วกับนวตั กรรมทางทหารในระหวางชวงน.้ี แนวคดิ ของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏวิ ัติในการสงคราม

8ทอี่ งั กฤษเปนเม่อื กลางป 1920 (พ.ศ.2463) เมอื่ แรกเร่ิมการทดลองสงครามรถถงัและยานเกราะ13 ชัยชนะอยางเด็ดขาดของสหรัฐฯ ในสงครามอาวครั้งท่ี 2 ไดเพ่ิมความสนใจทั่วกองทัพสหรัฐฯ ในโอกาสท่ีจะปฏิวัติเทคโนโลยีปจจุบันและท่ีคาดการณลวงหนาตอชวงจังหวะที่แทบจะไมสามารถควบคุมได นอกจากน้ี ยังมีผลเสียท่ีตามมาอยางแนนอน 3 ประการ ประการแรก ชัยชนะที่ไดเห็นในสงครามอาวไดฟนคืนรูปแบบที่แยที่สุดของวัฒนธรรมของการปองกันประเทศของสหรัฐฯโดยทําใหเกิดภาพลวงตาวาสามารถท่ีจะเขาใจและควบคุมสงครามไดในลักษณะการสั่งการจากเบอื้ งบนในการทําสงครามยานเกราะของโรเบิรท สเตรงจ แมคนามารา 13Andrew W. Marshall, \"Some Thoughts on Military Revolutions,\"บันทึกของสํานักงาน ประเมินยุทธศาสตร (Office of Net Assessment Memorandum),27 July 1993 ในการแถลงตอ คณะกรรมาธกิ ารกองทพั วฒุ สิ ภา (Senate ArmedServices Committee) Marshall ไดเ ผยวาการเปล่ยี นแปลง แบบปฏิวัตใิ นกจิ การทหารเปนกระบวนการ ท่ียาวนานอยางหลีกเลี่ยงไมได: \"คําวา 'การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ(Revolution)'ไมไดหมายความวาเพื่อยืนยันวา การเปล่ียนแปลงจะตองเร็วจริง ๆแลวการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติในอดีตไมไดยอนกลับมาเกิดใหมในชวงทศวรรษแตเ พียงแคก ารเปลี่ยนแปลงนั้นจะมนั่ คง วิธใี หม ๆ ของการสงครามน้ีจะมีพลังอํานาจมากกวาแบบเดิม นวัตกรรมในเทคโนโลยีทําใหการปฏิวัติทางทหารมีโอกาสที่จะเปนไปไดแตการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติเอง จะเกิดขึ้นเฉพาะเม่ือไดพัฒนาหลักนิยมทางยุทธการใหมๆ ข้ึน และเกิดองคกรทหารใหม ๆ ขึ้นในหลาย ๆ กรณีการเปลี่ยนแปลงหลักนิยมและองคกรทหารน้ี เปนกระบวนการที่ยาวนาน\"(Marshall, Revolutions in Military Affairs,\" 5 May 1995) สําหรับมุมมองของบุคคลภายนอกของการพัฒนาความคิดในเพนตากอน ดู Thomas E. Ricks,\"Warning Shot: How Wars Are Fought Will Change Radically, PentagonPlanners Say\", The Wall Street Journal, 15 July 1994, หนา A1. เมอรเ รยและนอ กซ

9(Robert Strange McNamara) และคณะของเขาเม่ือป 1960 (พ.ศ.2503)14ประการที่ 2 ชัยชนะท่ีไดตอเหลาทัพยังเปนที่ถกเถียงเก่ียวกับความเหมาะสมในการจัดหายุทโธปกรณใหมและมีราคาสูงล่ิว เชน F-22 พรอมกับเสียงเรียกรองใหเปดเผยจากกลุมกดดันเฉพาะ เชน ประชาคม \"ขาวสงคราม (info-war)\"15ประการสุดทาย ชัยชนะจากเทคโนโลยีดูจะใหสัญญาณท่ีดีของเสรีภาพทางยุทธศาสตรในยุคที่การใชกําลังจํานวนมากดูเหมือนจะพายแพในทุงนาและปาของเวียดนามท้ังน้ี \"สงครามเสมือน (Virtual war)\" ท่ีมีการสูญเสียเลือดเน้ือนอยท่ีสุดอาจไมจําเปนตองใชความเปนผูนําของประธานาธิบดี, ผูนําทางทหาร, และพันธะสัญญาตอ ประชาชนตอการสูร บทด่ี เู หมอื นจะส้ัน ๆ การสนับสนุนของผูนําสหรัฐฯ เรื่องการปฏิวัติในกิจการทหารนอกสาํ นักประเมินยุทธศาสตรมีการดําเนินการนอยที่จะวางอนาคตท่ีอนุมานน้ีในบางแบบของมุมมองทางประวัติศาสตร การพยายามทดสอบลักษณะและขอจํากัดของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติน้ีในอดีตอาจเปนเร่ืองสามัญสํานึกท่ีจะเสนอวิธีท่ีจะวดั ท้งั โอกาสและอันตรายแฝงท่มี ีอยใู นการเปลี่ยนแปลงท่รี ุนแรงในสงคราม ทั้งนี้ผลงานเขียนตาง ๆ ของผูสนใจยังคงแสดงถึงการขาดความรูในเชิงประวัติศาสตรอยา งนาตกใจ16 14ดู Williamson Murray, \"Clausewitz Out, Computers In,Military Culture and Technological Hubris\", The National Interest,Summer 1997 สําหรับภาพท่ีสดใสของแนวทางของแมคนามาราโดย สองนักวิเคราะหระบบของแมคนามารา ดู Alain C. Enthoven and K. Wayne Smith, How Much isEnough? Shaping the Defense Program, 1961-1969 (New York, 1971). 15สําหรับ \"platform fever\", ดู William Murray. \"Hard Voics:Fighter Procurement in the Next Century\", CATO Institute, PolicyAnalysis, paper no.334 (Washington, DC, 1999). 16หนึ่งในผูสนับสนุนที่สําคัญที่สุดท่ียืนกรานวาประวัติศาสตรไมเก่ียวของ แนวคิดของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏวิ ัตใิ นการสงคราม

10 รูปแบบและแนวคิดการปฏวิ ตั ิทางทหาร แมเพนตากอนจะไดมีการถกเถียงเก่ียวกับประเด็นของประโยชนของการนําอาวุธตาง ๆ เขาประจําการโดยทันที เชน อาวุธยุทโธปกรณที่มีมูลคาหลายพันลานดอลลารใดที่จะสามารถสนับสนุน \"การปฏิวัติในกิจการทหาร(Revolution in military affairs)\" ท่ีจะมีมานี้ไดดีท่ีสุด นอกจากนี้ นักประวัติศาสตรยังไดเร่ิมมองไปไกลกวาศตวรรษที่ 17 สําหรับตัวอยางการเปล่ียนแปลงทางทหารอยางส้ินเชิง เอกสารที่แจกจายในการประชุมสมาคมประวัติศาสตรทหาร(Society of Military History) เม่ือฤดูใบไมผลิป 1991 (พ.ศ.2534) เสนอวาประวัติศาสตรสถาบันทหารตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 14 มีชวงเวลาการเปล่ียนแปลงอยางรุนแรง ตามดวยชวงเวลาที่สงบน่ิงซึ่งกองทัพตาง ๆ ไดปรับไปสูการเปล่ียนแปลงทส่ี าํ คญั ในสภาพแวดลอมของตน ซึง่ เปนรปู แบบหนง่ึ ทน่ี กั วิชาการดานวิวัฒนาการ(Evolutionary biologist) เรียกวา การหยุดชะงักของดุลยภาพ (Punctuatedequilibrium)17 ซ่ึงแนวทางดังกลาวไดเสนอวิธีการใชคําอุปมาที่เปนที่ยอมรับเพือ่ การเขาใจในการเปลี่ยนแปลงแบบปฏวิ ตั ขิ องสงคราม ความยากในการทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงในอดีตเกิดจากความซับซอนที่มากมาย, ความคลุมเครือ, และความไมแนนอนในการบันทึกประวัติศาสตรมีแนวคิดหลัก ๆ สองแนวคิด ที่ไดแสดงโครงรางการอธิบายนวัตกรรมทางทหารคือ James Blacker ดูงานของเขา \"Understanding the Revolution inMilitary Affairs: A Guide to America's 21st Century Defense\", DefenseWorking Paper No'3, Progressive Policy Institute (Washington, DC, 1997),และ \"Crashing Through the Barricades\", Joint Forces Quarterly, Sumer 1997. 17ทา ยทสี่ ุด ผลงานน้ไี ดร บั รางวัล Moncado Prize จาก Society ofMilitary History สาํ หรบั บทความท่ดี ที ่สี ดุ ใน Journal of Military History in 1994สว นทีน่ าํ มากลา วซํ้าเมอ่ื เรว็ ๆ น้ี ดู Rogers \"The Military Revolutions ofthe Hundred Years' War\", ใน Rogers, The Military Revolution Debate. เมอรเรยและนอ กซ

11แบบถอนรากถอนโคนไดดีท่ีสุด18 แนวคิดแรกและมีผลมากที่สุด คือ การปฏิวัติการทหารท่ีมีลักษณะเปนการเปลี่ยนแปลงพ้ืนฐานของโครงสรางของสงครามโดยเปน การปฏิวัติทางทหาร 5 ประการ ทมี่ ผี ลในประวัติศาสตรของตะวันตก คอื - การเกดิ ขน้ึ ของรฐั ชาตใิ หมในศตวรรษที่ 17ซงึ่ มีพ้นื ฐานจากองคกรขนาดใหญข องพลังอาํ นาจ ทางทหารท่ีมีวินัย - การปฏวิ ัติฝรั่งเศสตอนปลายศตวรรษท่ี 18ซ่งึ ไดร วมเอาการเมืองภาคประชาชนและการสงคราม เขาดวยกัน - การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมตอนปลายศตวรรษที่ 18 และหลงั จากนน้ัซ่ึงทาํ ใหสามารถจดั หาอาวุธ, จดั ใหมีเคร่ืองแบบ, เล้ยี งดู, จา ยเงนิ , และเคลือ่ นยา ยไดโ ดยรวดเร็วเขาสสู นามรบเพื่อรวมกําลัง - สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 ซ่งึ ไดร วมผลพวงจากการปฏวิ ตั ิฝรงั่ เศสและการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม เกดิ เปน รปู แบบสําหรบั สงครามในศตวรรษท่ี 20 - การประดิษฐอาวุธนิวเคลียร ซง่ึ มผี ลตรงกนั ขา มโดยดํารงใหท กุ สิ่งทคี่ าดไวของสงครามเย็น ใหเ ย็นลงในสมรภมู ิท่ีช้ขี าดในยุโรปและเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ท้ังน้ี สามารถเขาใจการเปลี่ยนแปลงท่ีรุนแรงท้ังหาน้ีไดดีที่สุดดวยการเปรียบเทียบกับดานธรณีวิทยา ซ่ึงก็คือ แผนดินไหว โดยนํามาซึ่งการเปล่ียนแปลงระบบในทางการเมืองและสังคม ซ่ึงไมสามารถควบคุม, ไมสามารถทํานาย และไมสามารถคาดการณการเปล่ียนแปลงเหลานี้ได ทั้งนี้ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงเหลาน้ีจะยังคงดํารงอยูตอไป ผูนําของเวียดนามเหนือในสงครามตอตานฝรั่งเศสและสหรัฐฯ ไดรับแรงดลใจจากการปฏิวัติฝร่ังเศส (และผูสืบทอดของพรรคบอลเชวิกและลัทธิเหมา) รวมท้ังจากกลุมชาตินิยมเวียดนาม19 สําหรับผูที่คาดหวังใน 18ขอสังเกตทต่ี ามมาดงึ มาเฉพาะการถกแถลงในการประชมุ ที่ Quanticoเม่อื ป 1996 ท่ีกลาวไว ในคาํ นยิ มและในงานของ Cliff Rogers. 19 นายพลวิลเลียม เวสตมอรแลนด (William Westmoreland)มีความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรของ การปฏิวัติฝรั่งเศสนอย เชนเดียวกับของ แนวคดิ ของการเปลีย่ นแปลงแบบปฏิวตั ใิ นการสงคราม

12\"การปฏิวัติขอ มูลขาวสาร (Information revolution)\" ซึ่งถาเปนการปฏิวัติจริง ๆเพื่อนําการเปล่ียนแปลงทางทหารอยางพลิกโฉมซ่ึงจะไดพบทิศทาง, ผลตอไป,และสิ่งทีเ่ กยี่ วของ ของการเปลย่ี นแปลงใด ๆ ท่อี าจสงผลท่ีคาดการณไ มไดอ ยา งใหญหลวง การปฏิวัติการทหารไดปรับโฉมของสังคมและรัฐ รวมท้ังองคกรทหารโดยเปลี่ยนความสามารถของรัฐท่ีจะสรางและวางแผนกําหนดกําลังอํานาจทางทหารและจากผลลัพธเพ่ิมเติม รัฐตาง ๆ ท่ีพลาดการปฏิวัติทางทหารต้ังแตตนจะไมสามารถกาวกระโดดใหประสบความสําเร็จในการสงครามไดโดยงายซงึ่ จะรบั เอากับดักเทคโนโลยีของตะวันตก ตัวอยางเชน นํ้ามันทําใหซัดดัม ฮุสเซ็นไดรับยุทโธปกรณของ โซเวียต, ฝรั่งเศส, และสหรัฐฯ จํานวนมากเหลือคณานับแตยุทโธปกรณเพียงอยางเดียวไมสามารถสรางความสําเร็จผลในสนามรบตอกองทัพท่ีเกณฑสรรพกําลังจากสังคมท่ีไมใชทั้งรัฐใหมหรือมีความเปนปกแผนและออนตัวที่เกิดจากการเมอื งภาคประชาชนหรือไมมีทักษะสามัญทางเทคโนโลยีท่ีกวางและลึกท่ัวทั้งสังคมท่ีผานการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในกรณีของขบวนการคอมมิวนิสตเวียดนามซึ่งไดผ สมผสานความรอ นแรงในการปฏวิ ัติของการปฏิวัตฝิ ร่ังเศส (ไดรับโดยตรงจากฝร่งั เศสเจาอาณานิคมและผสู นบั สนุนจากมอสโควและจีนของตน) ดวยวัฒนธรรมจารีตประเพณีที่หวาดกลัวตางชาติอยางฝงแนนและการจัดขบวนการแบบระบบราชการสามารถเอาชนะ หนงึ่ ในมหาอาํ นาจและหนงึ่ ในอภิมหาอาํ นาจตะวนั ตกได การปฏิวัติการทหารประการแรกในหาประการหลักทําใหเกิดลําดับเหตุการณและสามารถคาดการณได ซึ่งไดกาวไปสูเหตุการณหนึ่ง คือ สงครามโดยตั้งแตการลมสลายของโรม ซ่ึงเปนจุดเริ่มท่ีสําคัญของภาวะอนาธิปไตยคณะผูปกครองซง่ึ ก็คือขาราชบริพารของกษัตริยและเจาตาง ๆ เวนเพียงไมก่ีรายไมสามารถควบคุมกองทัพบกและกองเรือตาง ๆ โดยผูบัญชาการกองทัพไมสามารถจายเงินแกกองกําลังของตน จึงไดดํารงชีพดวยการปลนสะดมอันนับเปนผลปกติ ในป 1576เอเชียตะวนั ออก จงึ ไมน า แปลกใจทเ่ี วสตม อรแลนดไดทําอยางไร ความละเอียดออนในการทาํ สงครามในเวียดนามใต. เมอรเรยแ ละนอ กซ

13(พ.ศ.2119) ทหารของราชวงศสเปนท่ีไมไดรับจายเงิน ไดกอกบฏและปลนนครแอนทเวิรพ(Antwerp) ซึง่ เปนเร่อื งหนงึ่ ท่ีสรางความหายนะตอนโยบายของสเปนในเนเธอรแลนดและกอ ใหเ กดิ กลมุ ตอตา นชาวดชั ท การกอกบฏนีส้ ะทอนถึง ท้ังความไรวินัยของทหารและการไรค วามสามารถดานการเงนิ ของรัฐสเปนท่ีเสื่อมลงที่จะตอบแทนแกทหารในสิ่งท่ีทหารไดเสียสละ ซึ่งเหตุการณเดียวกันไดเกิดข้ึนซ้ํา ๆ ตลอดชวงสงครามสามสิบปท ่ที าํ ลายเยอรมนั และยโุ รปกลางต้ังแตป 1618 (พ.ศ.2161) เปน ตนมา แตอํานาจอ่ืน ๆ ไดลดความรุนแรงของความไรระเบียบนี้ บทบัญญัติวาดวยระเบียบวินัยกองทัพของสวีเดน (Swedish Article of War) ในตนศตวรรษที่ 17ไดประกาศชัดเจนวาทหารจะตองขุดเมื่อถูกส่ังใหขุด ซ่ึงเปนเรื่องท่ีไมธรรมดาในชวงนั้นวินัยทหารท่ีไมใชเร่ืองสวนตัวที่รัฐเนนยํ้า ทําใหองคกรทหารในยุโรปในชวงกลางถึงปลายศตวรรษที่ 17 สามารถไดชัยชนะในสนามรบไดมากข้ึนอยางเหลือคณานับมากกวาทัพทหารที่เกณฑแบบศักดินา (Feudal levies), หนวยทหารรับจาง(Mercenary companies) และ กองทหารที่จัดตั้งขึ้นตามสภาพเฉพาะเม่ือมีศัตรู(Haphazardly organized hostilities-only forces) ซึ่งกองทหารที่มีการบังคับเร่ืองระเบียบวินัยเขามาแทนที่ ทั้งน้ี วิธีการสรางวินัยทหารแบบใหมนี้ มีการสนับสนุนในตัวเอง โดยสนับสนุนดวยการบังคับเก็บภาษีของรัฐที่ตองใช เพื่อจายเงินประจําแกก องทหาร ซึ่งในการตอบแทนการจา ยเงนิ นี้ รัฐสามารถและกําหนดใหทหารของตนตองรักษาวินัยในกองทหารรวมท้ังในสนามรบ ซ่ึงนับแตน้ันมากลุมตะวันตกสามารถควบคุมและโตตอบตอสถานการณทางทหารของตนได ซึ่งส่ิงนี้นับเปนการปฏิวัติอยางแทจริง และตอมาก็ไดไปปรากฏขึ้นในลาตินอเมริกา และโลกที่สามสวนใหญในระหวางศตวรรษท่ี 19 และ 20 จากเดมิ ที่ไมเคยมกี ารดาํ เนินการเชน นี้ การปฏิวัติฝร่ังเศสยังขยายและลึกลงไปในการยึดทรัพยสินและกําลังคนของประชาชนของรัฐ แนวคิดเกี่ยวกับปุถุชน (Secular ideology) ของความเสมอภาคและความเปนชาตินิยมที่สัมพันธกันของแนวคิดดังกลาว ท่ีถูกปอนเขา สสู งครามคือความโหดรายท่นี อกเหนือจากความคลงั่ ศาสนาของศตวรรษกอน ๆ แนวคิดของการเปลีย่ นแปลงแบบปฏวิ ตั ิในการสงคราม

14ทําใหเกิดการขัดแยงอยางยิ่งของโลกสองเหตุการณ คือ สงครามฝร่ังเศสป 1792-1815(พ.ศ.2335-2358) และสงครามเยอรมันป 1914-1945 (พ.ศ.2457-2488) การเผชิญกับการรุกรานของตางชาติซึ่งทําใหชาติเหลาน้ีถูกปลุกเราดวยความคล่ังชาตินิยมผูนําของฝร่ังเศสในป 1793 (พ.ศ.2337) ไดประกาศ การเกณฑสรรพกําลัง (Levéeen masse - เลว่ีอองมาสส) ซึ่งกําหนดใหประชาชนฝรั่งเศสและทรัพยสมบัติอยภู ายใตการดาํ เนินการของรัฐในระหวางสงคราม: ในชวงเวลาน้ีจนกวาขาศึกจะถูกขับไลออกจากดินแดนของสาธารณรัฐชาวฝร่ังเศสทั้งหมดจะถูกแบงเปนกลุม ๆ (Colors) ชายหนุมตองไปทําสงครามชายท่ีแตงงานแลวตีดาบและขนสงสิ่งอุปกรณตาง ๆ สตรีเย็บกระโจมและเคร่ืองแบบและทํางานในโรงพยาบาล เด็กตัดผาเกาเปนผาพันแผล ชายสูงอายุไปท่ียานสาธารณะเพื่อพูดถึงความกลาหาญของนักรบ และปลุกระดมโจมตีกษัตริยและความเปนปกแผนของสาธารณรัฐ20 ดวยวิธีนี้ฝรั่งเศสสามารถเพ่ิมกําลังกองทัพของตนไดเปนสามเทาในเวลาไมถงึ หน่งึ ป และแมว า กําลังกองทพั ใหมจะมีประสิทธิภาพนอยกวาฝายตรงกันขามอยางมาก แบบหนวยตอหนวย แตฝรั่งเศสก็ยอมรับความสูญเสีย และตอสูในระดับที่ไมมีกองทัพใดในศตวรรษที่ 18 จะเทียบได ซึ่งนักการสงครามชาวปรัสเซียคารล วอน เคลาสว ทิ ซ มองเห็นกองทัพฝรัง่ เศสใหมน เี้ ปน คนแรก โดยตอมาไดเขยี นไววา ทันทีที่สงครามกลับมาเปนภาระของประชาชน ประชาชน 30 ลานคนซึ่งท้ังหมดนี้คิดวาตนเองเปนประชาชนของชาติ...ประชาชนเหลานี้ไดเขารวมในสงครามแทนรัฐบาลและกองทัพ เมื่อกอนหนาน้ีพลังอํานาจท้ังหมดของชาติก็กลับเขาสูสมดุล ทําใหมีทรัพยากรและความพยายามตาง ๆ สําหรับเอาชนะขอจํากัดตามปกติท้ังหมด ณ ตอนน้ีก็ไมมีสิ่งใดที่จะมาสกัดกั้นพลังอํานาจที่จะ 20Archives parlementaires de 1789 à 1860, première série(Paris, 1867-1980), vo.72, หนา 674. เมอรเรยแ ละนอ กซ

15ทําสงคราม ทาํ ใหข าศกึ ของฝรัง่ เศสตองเผชิญกับหายนะทีใ่ หญหลวงท่ีสุด21 ชยั ชนะของฝร่ังเศสและการปกครองแบบกดขี่ในที่สุดก็บังคับใหประชาชนอื่น ๆของยโุ รป ตองแบกรับภาระ, จายทรพั ยสิน (ตามคําเปรียบเปรยของประธานาธิบดีสหรัฐฯศตวรรษท่ี 20) ศัตรูของฝรั่งเศสทําใหฝรั่งเศสตองเอนเอียงดวยวิธีการเดียวกันคือการระดมทรัพยากรของชาติและกําลังคน ซ่ึงทําใหฝร่ังเศสมีความไดเปรียบในสนามรบและตัวอยางของการปฏิวัติมีผลตอชาติอื่น ๆ ท้ังเวลาและพ้ืนท่ีทหารในสงครามกลางเมืองของอเมริกาและของสงครามโลกทั้งสองไดทําส่ิงท่ีคลายกันดวยการระดมดานการเมืองและสังคมที่ไรความปรานีและความสัมฤทธ์ิผลที่ย่ิงกวาที่การปฏิวัติฝรั่งเศสไดบ กุ เบิกไว22 พรอมกับการปฏิวัติฝร่ังเศสข้ันแรกของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ก็พรอมท่ีจะดําเนินไปในอังกฤษ การเปล่ียนแปลงอยางรุนแรงนั้น ไดเปลี่ยนแปลงการสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจของสังคมอังกฤษอยางรุนแรง และใสทรัพยากรตาง ๆในมือของผูน ําตาง ๆ ของชาติจนกระทง่ั บดั น้ี นอกจากนเ้ี ทคโนโลยีดา นอตุ สาหกรรมยังไมไ ดใ หนวตั กรรมในการรบที่สําคัญแกกองทัพจนกลางศตวรรษที่ 19 กองทัพอังกฤษภายใตการบังคับบัญชาของเวลลิงตัน (Wellington) ไดทําการรบในสงครามแบบเดิม ๆ มาโดยตลอด แตเบื้องหลังฉากดังกลาวการปฏิวัติอุตสาหกรรมยังไดสรา งความมง่ั ค่ังมหาศาลแกรฐั บาลองั กฤษทตี่ องใชเพื่อรวมกันและดํารงไวซึ่งพันธมิตรที่ย่ิงใหญซ่ึงจะเอาชนะนโปเลียนไดในท่ีสุด ซึ่งพันธมิตรเม่ือป 1813 (พ.ศ.2356) 21Carl von Clausewitz, On War, eds. และ trans Michael Howardand Peter Paret (Princeton, NJ, 1976), หนา 592. 22เชนเดียวกัน กลุมของโฮจิมินหไดผสมผสานหลักคิดของการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากับความโหดรายทารุณของตางชาติท่ีนาเกลียดชังของตนเองท้ังหมด ภาพยนตรและวีดีโอเทปท่ีถายทําไวของ โว เหงียน เก๊ียบ จํานวนมากท่ีพบกับผูสัมภาษณชาวฝร่ังเศสไดส่ือโดยไมต้ังใจถึงหนี้บุญคุณมากมายของพรรคคอมมิวนิสตตอรอแบสปแยร (Robespierre) และซองตจ ั๊สต (Saint-Just). แนวคดิ ของการเปลีย่ นแปลงแบบปฏวิ ัติในการสงคราม

16ไดรวมอังกฤษ, ออสเตรีย, รัสเซีย และปรัสเซีย ในการระดมทรัพยากรของทวีปครั้งลาสุด ท่ีเพียงพอท่ีจะเอาชนะยุทธวิธีของนโปเลียนท่ีเปนกลยุทธท่ีชาญฉลาดซึ่งพลังอํานาจทางการเงินของอังกฤษเปนกําลังตัดสินผลแพชนะที่อยูเบื้องหลังการระดมทรัพยากรดังกลา ว การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีผลครั้งแรกตอการรบในสงครามไครเมีย(Crimean war) ไดแก ปนคาบศิลา (Rifled muskets), โทรเลข, และเรือไอน้ําซ่ึงผสมผสมผสานกันทําใหอังกฤษและฝร่ังเศสสงกําลังกองทัพไปไดถึงตอนใตของรัสเซีย ซึ่งในที่สุดก็สามารถเอาชนะรัสเซียซ่ึงมีจํานวนกําลังทหารเหนือกวาไดอยางไรก็ตาม ไมมีกลุมใดในการขัดแยงน้ันที่เจตนาจะระดมความรักชาติ, กําลังคน,และทรัพยากร ที่ตองใชเพื่อทําสงครามจนยุติ แตก็ไดตกมาถึงกําลังฝายตรงกันขามกันสองฝายในสงครามกลางเมืองอเมริกา คือ ฝายใตและฝายเหนือ ท่ีไดเริ่มผสมผสานขอดีที่ชัดเจนของเทคโนโลยี (ทางรถไฟ, เรือไอน้ํา, โทรเลข, ปนคาบศิลา,ปนลํากลองเกลียวที่บรรจุจากดานทาย (Breech-loading rifle), และปนใหญที่พัฒนาขึ้น (Improved artillery)) เขากับการระดมซ่ึงความเช่ือของการปฏิวัติฝรั่งเศส ระหวางป 1861-1918 (พ.ศ.2404-2461) อเมริกาและยุโรปไดรวมเอาการปฏิวัตทิ ย่ี ิง่ ใหญทง้ั สองเขา ดวยกนั เม่อื สิน้ ศตวรรษที่ 18 คือ การปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอุตสาหกรรม เขา เปน การปฏวิ ัตกิ ารทหารใหมที่นา สะพรงึ กลวั ย่ิงกวา สําหรับผูที่ไดทําการรบในสงครามกลางเมืองอเมริกา ผลของสงครามเปนการสูรบรายแรงถึงแกชีวิตที่นาตกใจที่ยาวนานถึงส่ีป และทายท่ีสุดไดทําลายสังคมกอนสงครามของฝายใต \"ทหารท่ีไรระเบียบวินัย\" ท่ีนากลัวของกองทัพของเชอรแมน (Sherman) ท่ีทําใหเมืองตาง ๆ ของรัฐจอรเจียและเซาทคาโรไรนากลายเปน \"ชิมเนวิลส (Chimneyvilles)\" เปนผูริเริ่มในการใช \"การโจมตีเผาทําลายบานเรือน (Dehousing)\" ของหนวยทิ้งระเบิดโจมตี (Bomber Command) ของผูสนับสนุนของฮิตเลอร23 เกือบพรอม ๆ กับสงครามกลางเมืองอเมริกา ยุโรปไดสูรบ 23 เพ่ือความเปนธรรมตอเชอรแมน ทหารของสหภาพ (Union forces) เมอรเรยและนอ กซ

17ในสงครามใหญ ๆ 3 สงครามในป 1859 (พ.ศ.2402), 1866 (พ.ศ.2409), และ1870-71 (พ.ศ.2413-14) ซ่งึ ก็ไดเ ปน แนวทางในอนาคต แมวาผลสรุป ก็ไมไดดอยไปกวาความขัดแยงในแอตแลนติก ซ่ึงในสงครามสุดทายของสามสงครามน้ี คือสงครามฝร่ังเศส-ปรัสเซีย (Franco-Prussian War) อาจเปล่ียนไปเปนสงครามที่ทําลายลางทั้งหมดเทาสงครามกลางเมืองอเมริกา แตนโปเลียนที่ 3 และผูบังคับบัญชาระดับสูงของเขาไดแสดงใหเห็นอยางไมเหมาะสมย่ิงในระหวางขั้นการเปดสงครามที่นโปเลียนที่ 3 และผูบังคับบัญชาระดับสูงของเขาไดทําลายกองทัพอาชีพของฝรงั่ เศสทั้งหมดที่เมทส (Metz) และซีดาน (Sedan)24 ซึ่งหายนะเหลาน้ันทําใหฝรั่งเศสไมสามารถระดมสรรพกําลัง (Levée en masse) ไดสําเร็จอีก โดยสาธารณรัฐท่ี 3 ใหม ที่สืบตอจากนโปเลียนที่ 3 ขาดนายทหารฝายเสนาธิการท่ีมีประสบการณทีจ่ ําเปนตอการสรางกองทัพทพ่ี รอมรบจากทหารท่ไี ดเกณฑเขา กองทพั ดังน้ัน ป 1914 (พ.ศ.2457) ยุโรปจึงไดพบกับความโหดรายอยางเต็มที่ของสงครามที่ไดผสมผสานอํานาจการยิงที่เปนผลผลิตจากอุตสาหกรรมและการสงกําลังบํารุงเขากับอํานาจการรบและความทรหด (Staying power) ที่ความรักชาติสามารถสรางขึ้น สงครามโลกครั้งท่ี 1 มีผลอยางยิ่งตอการปฏิวัติทางทหารของตะวันตกท้ังหมดมาจนถึงปจจุบัน โดยทางนโยบายแลวผลท่ีเกิดขึ้นตามมาของป 1914-18 (พ.ศ.2457-2461) สรางความสั่นสะเทือนแกยุโรปจนกระทั่งการลมจะปลอยใหพลเมืองชาวใต หลบหนีไปกอนที่จะ \"เผาทําลายบานเรือน (Dehousing)\"สวนหนวยท้ิงระเบิด (Bombing Command), ที่เผชิญกับศัตรูที่ปาเถื่อนและจากเทคโนโลยีท่ีไมออนตัว ไดถลมและเผาทําลายท้ังเมืองของฮิตเลอรและประชาชน สําหรับการปฏิบัติตอประชาชนในสงครามในป 1861-65, ดูMark Grimsley, The Hard Hand of War: Union Military Policy TowardSouthern Civilians, 1861-1865 (Cambridge, 1961). 24Michael Howard, The Franco-Prussian War, 1870-1871(London, 1961) เปนหนงั สือท่ดี ที ี่สดุ เก่ียวกับองั กฤษในสงคราม. แนวคิดของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏิวัตใิ นการสงคราม

18สลายลาสุดในป 1991 (พ.ศ.2534) ของจักรวรรดิคอมมิวนิสตท่ีไดเกิดขึ้น ในป1917-23 (พ.ศ.2460-66) สว นในทางการทหารสงครามโลกครั้งที่ 1 (Great War)ถือวาเทียบเทากับการปฏิวัติ โดยประการที่ 1 กองทัพบกประเทศตาง ๆ ที่สูรบในสงครามน้ี ไดพัฒนารูปแบบสามมิติใหมท้ังหมดของยุทธวิธีและยุทธการของกําลังรบผสมเหลาท่ีไดกลาวไวในบทท่ี 8 \"รูปแบบใหมของสงคราม (Modern styleof warfare)\" ประการท่ี 2 กองทัพเรือตาง ๆ ไดบุกเบิกสงครามในสามมิติ และสามสวน คือ การบุกเบิกสงครามเรือดําน้ํา (Pioneering submarine warfare),การปฏิบัติการของเรือบรรทุกเครื่องบิน (Carrier operation), และสงครามยกพลขนึ้ บก (Amphibious warfare) ทีแ่ มจะลม เหลวอยางเราใจทกี่ ลั ลโิ ปลี (Ga lli po li)และประการท่ี ๓ การโจมตีท้ิงระเบิดเชิงยุทธศาสตรที่ทําใหเหตุการณดังกลาวปรากฏข้ึนอยางจรงิ จงั เปน ครง้ั แรก ซ่ึงในชวงเวลานั้นการพัฒนาเร่ิมแรกของเคร่ืองยนตสันดาปภายใน คือ การแกไขสิ่งที่บกพรองในความรายแรงของสงครามโลกครั้งที่ 1ใหมากยิ่งขึ้น ที่ดําเนินการตอเนื่องในป 1939-45 (พ.ศ.2482-88) ยังคงจํากัดการพัฒนาเทคนิคเหลานี้และเทคนิคทางทหารอ่ืน ๆ แตขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวตั กิ ็ชัดเจนเพียงพอ ไมวาผูบังคับกองพันของอังกฤษหรือเยอรมันจากฤดูรอนป 1918 (พ.ศ.2461) สามารถเขาใจหลักคิดที่สําคัญเก่ียวกับสงครามในป 1940(พ.ศ.2483), 1944 (พ.ศ.2487) หรือแมแตป 1991 (พ.ศ.2534) แตผูบังคับกองพันหน่ึง ๆ ในป 1914 (พ.ศ.2457) ที่ไดเคลื่อนยายอยางนาอัศจรรยเขาสูสนามรบในแนวหนาดานตะวันตกของฤดูรอนป 1918 (พ.ศ.2461) อาจยากท่ีจะเขาใจในส่งิ ท่ตี นไดพบ25 การพัฒนาและการใชอาวุธนิวเคลียรในป 1941-45 (พ.ศ.2484-88)กอใหเกิดการปฏิวัติการทหาร ในปจจุบันสวนใหญหลังสงครามเย็น สหรัฐฯและสหภาพโซเวียตไดใชปนใหญอยางมากมายรวมกับเทคโนโลยีนําสมัย (Leading-e dge technology) สองเทคโนโลยี คือ ระเบิดนิวเคลียรของอเมริกาและจรวด 25 ดบู ทท่ี 7 ของหนังสือน้ี. เมอรเรยแ ละนอ กซ

19นาํ วิถขี องเยอรมนั ซงึ่ เปนการทําลายลา งที่คุกคามขาศึกของตนและมนุษยชาติอ่ืน ๆหลายคร้ังตอมา อยางไรก็ตาม อํานาจทําลายลางท่ีรุนแรงดังกลาวไดปองกันฝายตรงขามทั้งสองฝายจากการพยายามใชกําลังเพ่ือ \"บังคับใหขาศึกทําตามเจตนารมณข องตน\" อาํ นาจกําลังรบทีร่ ุนแรงท้ังสองน้ี ซึ่งฝายขาศึกไดถูกประมาณคาเปนสามเทาดวยเชิงหลักการ, ภูมิรัฐศาสตร, และเหนือส่ิงใดท้ังหมด ในแงมุมดานโซเวียตจากความตองการดานความมั่นคงภายในประเทศแบบเบ็ดเสร็จ (เผด็จการ)(Totalitarian domestic stability) ที่ไมเกิดการรบของสงครามโลกคร้ังท่ี 3ทีค่ าดการณมาอยางยาวนาน อันเปนภาพรวมของประวัติศาสตรท่ีไมเคยมีมากอนเฉพาะการเกิดขึ้นของอาวุธนิวเคลียร และอุบัติเหตุทางประวัติศาสตรท่ีวาอํานาจมักมีระยะเวลาส้ันแตสิ่งพิเศษเฉพาะเหนืออาวุธดังกลาว ก็คือ ประชาธิปไตยแทนที่จะเปนเผดจ็ การ ซ่ึงไดอธบิ ายถึง \"สันติภาพทยี่ าวนาน\" หลงั ป 1945 (พ.ศ.2488)ของยุโรป26 สงครามเย็นส้ินสุดไป แตอาวุธนิวเคลียรยังคงอยู ซ่ึงประเด็นถาวรประเด็นหนึ่งในการพิจารณาส่ิงที่หวงใย คือ อิทธิพลตอสันติภาพในอนาคตในมือของผูปกครองตาง ๆ ที่มคี วามรับผดิ ชอบนอ ยกวา ของในยุคสงครามเย็น การปฏิวัตใิ นกจิ การทหาร (Revolution in military affair) การปฏิวัติการทหารที่สําคัญที่ไดสั่นสะเทือนตะวันตกและโลกท่ีเหลือจํานวนมากตง้ั แตศตวรรษที่ 17 ใหการชวยเหลือเลก็ นอ ยแกท หารอาชพี ผูท ีไ่ ดผานการไฟของสงครามโลกคร้ังที่ 1 ท่ีสรางความแตกแยกแกยุโรป ต้ังแต ศตวรรษท่ี 17ถึงกลางศตวรรษท่ี 20 หรือที่ไดเผชิญกับความรุนแรงและความโหดรายของยุค 26สําหรับการปฏิบัติที่กลาหาญแตไมสามารถชี้แนะได (unpersuasive) ท่ี โตแยงเปนอยางอื่น ดู John J. Mueller, \"The Essential Irrelevance of Nuclear Weapons: Stability in the Postwar World\", International Security 13:2 (1988), หนา 55-79 และ Retreat from Doomsday: The Obsolescence of Major (New York, 1989). แนวคดิ ของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏิวัติในการสงคราม

20นวิ เคลยี รตระหนักถงึ โฉมหนา ท่นี ากลวั ของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ คนเหลาน้ีไมสามารถทําอะไรไดมากไปกวาการรอคอยและการปรับตัว ถาการปฏิวัติความรู(Information revolution) ท่ีอาจเทียบไดกับการเกิดของรัฐใหม, การระดมคนท้ังหมดดวยอุดมการณของคน (Secular ideology), เครื่องจักรกลสังหารท่ีเกิดจากวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, และความนากลัวยิ่งของการทําลายลางดวยอานภุ าพของอาวุธนิวเคลียร ซึ่งจริง ๆ แลวอยูในกระบวนการที่กําลังแวดลอมโลกซ่ึงจะมีผลตอการถาโถมที่ไมสามารถควบคุมไดของเหตุการณตาง ๆ ท่ีจะทําลายลา งชาติ และองคกรทหารตาง ๆ กอนหนา นี้ บันทึกในอดีตไดเผยใหเห็นเหตุการณที่เกิดขึ้นที่ควบคูกันไปและภายในการปฏิวัติการทหารท่ีสําคัญของกลุมการเปล่ียนแปลงที่นอยกวาท่ีรวมเขาไวดวยโดยสามารถกาํ หนดกรอบแนวคิดของการเปลยี่ นแปลงท่ีนอ ยกวานี้ไดดีที่สุดวาเปน\"การปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolution in military affair)\" ที่ไดกลาวไปแลวการเปล่ียนแปลงเหลาน้ีดูออนไหวตอทิศทางของมนุษยและในการดําเนินการตอการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ สถาบันทหารที่ต่ืนตัวอยางชาญฉลาดจะสามารถไดรับประโยชนอยา งยิง่ องคกรทหารเริ่มทําการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) โดยการวางแผนวิธีใหม ๆ ในการทําลายฝายตรงกันขาม เพื่อดําเนินการดังกลาวองคกรทหารตองเปล่ียนแปลงพื้นฐานท่ีสําคัญดานสังคม, การเมือง, และการทหาร ในบางกรณีองคกรทหารตองคาดการณถึงการเปลี่ยนแปลงเหลาน้ัน การปฏิวัติในกิจการทหารตองผนวกรวมความซับซอนของนวัตกรรมทางยุทธวิธี, การจัดหนวย, หลักนิยม,และเทคโนโลยี เพ่ือใชวิธีการตามแนวคิดใหม ๆ ในการสงคราม หรือในเรื่องปลีกยอยเฉพาะของการสงคราม ท้ังน้ี การผสมผสานท่ีไดผลที่สุดจะไมคอยปรากฏลวงหนา นวัตกรรมและการปรับตัวจะยุงยาก และแมแตนักประวัติศาสตรที่ใชเอกสารการบันทึก และเขาใจปญหาหลังเกิดเหตุการณ ก็ยังยากท่ีจะนําเหตุการณตาง ๆในอดีตมาสรางขึ้นใหมไดอยางแมนยํา และทายท่ีสุดโดยปกติผลลัพธของสนามรบมกั จะมีความโหดรายอยา งชัดเจนท่อี งคก รทหารไดส รา งนวัตกรรมอยา งไดผ ลท่สี ุด เมอรเรยแ ละนอ กซ

21 ตาราง 1.1 การปฏวิ ัติในกจิ การทหาร และการปฏวิ ัติการทหารการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ท่คี าดของชวงยุคกลางและตน ยุคสมัยใหม - คนั ธนูคันยาว, ยทุ ธศาสตรรุก-รับ, ดินปน , การสรางปอ มคายสมยั ใหมการปฏวิ ัตกิ ารทหารครงั้ ท่ี 1: การเกิดรฐั สมยั ใหมศ ตวรรษที่ 17 และสถาบนัทหารสมัยใหม การปฏิวตั ใิ นกิจการทหารท่เี ปนผลและทเ่ี กีย่ วของ: - การปฏริ ูปยุทธวธิ ีของดทั ชและสวีเดน, การปฏริ ปู ยุทธวิธแี ละการจดั หนวยทหารของฝรงั่ เศส, การปฏิวัติการทหารเรอื , การปฏวิ ตั ิการเงนิ ของอังกฤษ - การปฏริ ูปการทหารของฝร่งั เศสหลังสงครามเจด็ ปการปฏิวตั ิการทหารครั้งท่ี 2 และ 3: การปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารทเ่ี ปนผลและทเ่ี ก่ยี วของ: - การระดมสรรพกําลงั ทางการเมืองและเศรษฐกิจของชาติ, สงครามแบบนโปเลียน (Napoleonic warfare) (การทําลายลา งในสนามรบขอ.งกําลงั ทัพขา ศกึ ) - พลงั อํานาจทางการเงินและเศรษฐกิจจากการกาวสคู วามเปนอตุ สาหกรรม (องั กฤษ) - การปฏวิ ตั เิ ทคโนโลยีในสงครามทางบกและการคมนาคม (โทรเลข,ทางรถไฟ, เรือไอนาํ้ ปนใหญแ ละปน เลก็ ทใี่ ชดนิ ปน ท่มี ีควนั นอ ยยิงไดร วดเร็ว,อาวุธอัตโนมัติ) - การปฏิวัติสงครามทางเรือของฟชเชอร (Fisher): เรือรบทมี่ ีปนใหญท ้ังหมดและกองเรือ (1905-14) (พ.ศ.2448-57)การปฏิวตั กิ ารทหารคร้งั ที่ 4: สงครามโลกคร้ังที่ 1 ผสมผสานส่ิงท่ีมี 3 ประการอยางถาวร การปฏิวัตใิ นกจิ การทหารที่เปนผลและที่เก่ยี วของ: - ยุทธการและยทุ ธวิธีผสมเหลา , การยทุ ธสายฟา แลบ (Blitzkrieg operations),การโจมตีท้ิงระเบิด ทางยทุ ธศาสตร, สงครามเรอื บรรทกุ เครือ่ งบิน (Carrier warfare),สงครามเรือดํานํ้า, สงครามยกพลขน้ึ บก, เรดาร, ขาวกรองการส่ือสาร แนวคดิ ของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวตั ิในการสงคราม

22การปฏวิ ัติการทหารคร้งั ที่ 5: ระบบยงิ จรวดนําวถิ แี ละอาวธุ นวิ เคลยี ร การปฏิวัติในกจิ การทหารท่เี ปนผลและท่ีเกย่ี วของ: - การลาดตระเวนและการโจมตีที่แมนยํา, อากาศยานลองหน (Stealth),การใชประโยชนจาก คอมพิวเตอร (Computerization) และเครือขายคอมพิวเตอรในการควบคุมบังคับบัญชา, อํานาจทําลายลาง เปนกลุมกอนที่เพิ่มข้ึนของอาวุธ\"ตามแบบ\" สามารถกําหนดความสัมพันธระหวางการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA)กับการปฏิวัติการทหารที่ยิ่งใหญไดเปนกรอบกวาง ๆ (ตาราง 1.1) การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) มีลักษณะเฉพาะจํานวนหนึ่ง ประการแรก ในยามสงครามสามารถคาดคะเนกําลังทัพท่ีเพ่ิมพลังอํานาจไดมากที่สุดได ซ่ึงสวนใหญจะใชเวลาอยางมากในการพัฒนา การปฏวิ ตั ใิ นกิจการทหาร (RMA) ในยามสงบของศตวรรษท่ี 20บางคร้ังอาจตองใชเวลาหลายทศวรรษ และความลาชาในระดับดังกลาวจะทําใหเกิดขอถกเถียงถึงความเหมาะสมของคําวา \"การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติ (Revolutionary)\"ซงึ่ เรอื่ งของมมุ มองก็เปน สิ่งสาํ คัญ สาํ หรบั นายทหารของฝรัง่ เศสและองั กฤษ ในตอนเหนือของฝรั่งเศสเมื่อ May 1940 (พ.ค.2483) การที่เยอรมันไดเจาะทะลุจากมิวส (Meuse)ถึงชองแคบ (Channel) ก็ดูเปนการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ (Revolutionary)แตสําหรับเยอรมันหลักการรบและกองกําลังท่ีทําลายกองทัพพันธมิตรในสงครามของฝรั่งเศส เปนการพัฒนาแบบคอยเปนคอยไปตามประวัติศาสตรท่ียอนหลังไปอยางนอยถึงป 1917 (พ.ศ.2460) และในบางประเด็น ถึงป 1807 (พ.ศ.2350)27 27สําหรับการพัฒนาหลักการรบผสมเหลาของเยอรมัน ดู Williamson Murray,\"Armored Warfare\", ใน Allan R. Millett, eds., Military Innovation in the InterwarPeriod (Cambridge, 1996) สําหรับการรบ ตามแบบกอนป 1917 ดู MacGregor Knox,\"The 'Prussian Idea of Freedom' และ Career Open to Talent: BattlefieldInitiative and Social Ascent from Prusian Reform to Nazi Revolution, 1807-1944\",หนา 186-226 ใน Knox, Common Destiny: Dictatorship, Forign Policy, เมอรเ รยแ ละนอ กซ

23นอกจากนี้ นายทหารเยอรมันบางนายท่ีรวมในสงครามเช่ือวาความสําเร็จของกองทัพเยอรมัน (Wehrmacht) เกิดจากการปลูกฝงทางการเมืองและลัทธิคล่ังเชื้อชาติ (Racist fanaticism) มากเทากับความชํานาญการทางยุทธวิธี28 โดยจากท่ีทราบวา บางกองรอยทหารราบเยอรมันท่ีโจมตีทั่วมิวส (Meuse) ไดพบกับการสญู เสียสงู ถึงรอ ยละ 70 และยังคงทาํ การรบตอไป จงึ ไมควรมองขามมมุ มองน้ี การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติในกิจการทหารในยามสงครามเปนเรื่องที่ยากแมเมื่อสงครามไดส รางบทเรียนท่ีชัดเจนทจ่ี า ยดว ยเลอื ด การปฏิวัตใิ นกจิ การทหาร(RMA) ในการรบผสมเหลาที่เกิดขึ้นในวิถีทางของสงครามโลกคร้ังที่ 1 โดยแกนแทแลว ประกอบดว ยการพัฒนาการยิงจําลองท่ีแมนยําของปนใหญ ผสมผสานกับยุทธวิธีทหารราบแบบแยกการ (Decentralized infantry tactic) ท่ีมุงที่การยิง,การดําเนินกลยุทธ, และการขยายผล แตการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติน้ีเกิดขึ้นเฉพาะปลายป 1917 (พ.ศ.2450) หลังจากสามปของการพายแพอยางยับเยินและบทเรียนและจุดสําคัญของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ยังไมชัดเจน แมจนป1918 จากการปฏิเสธอยางดื้อรั้นของกองทัพอังกฤษและฝร่ังเศส ท่ีจะยอมรับในสองทศวรรษตอมาที่ไดแสดงใหเห็น29 ความลมเหลวของอังกฤษและฝร่ังเศสและขอเท็จจริงท่ีไดวิเคราะหโดยเหมาะสมตอสงครามในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)ดวยขอ เสนอตาง ๆ เชน เรอ่ื ง If Germany Attacks (ถาเยอรมัน โจมตี) ท่ีหลักแหลมของจี. ซี. วินน (G. C. Wynne) ยังไมปรากฏข้ึนจนป 1980 ซึ่งแสดงถึงความหวาดกลัว, ความไมแนนอน, และความสับสนของสงครามท่ีไดสรางหรือทําใหเกิดความรุนแรงข้ึนของปญหาเชิงระบบท่ีควบคุมไดยากท่ีกองทัพตาง ๆ ของยุโรปเผชญิ ในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)30and War in Fascist Italy and Nazi Germany (Cambridge, 2000). 28 ดบู ทท่ี 9 ของหนงั สอื น.ี้ 29 ดู Murray, \"Armored Warfare\". 30 G. C. Wynne, If Germany Attacks The Battle in Depth in the แนวคิดของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวตั ใิ นการสงคราม

24 ถาการปรับตัวเขากับสภาพตาง ๆ ในยามสงครามเปนการยากยิ่งผูเก่ียวของในนวัตกรรมในยามปกติ ก็จะเผชิญปญหาที่เกือบจะแกไขไมได ซึ่งเปนส่ิงท่ีผูนําสถาบันทหารตาง ๆ จะไดรับจากการใชจายของตน โดยประวัติศาสตรศตวรรษท่ี 20แสดงวายังมีอยูมากท่ียังไมมี ตามขอสังเกตของนายทหารระดับสูงของกองทัพบกสหรัฐฯ ท่ีเกษียณไปแลว ในการสรุปบทเรียนจากการศึกษาเฉพาะกรณีเกี่ยวกับผลสาํ เร็จของสถาบันทหารในครึ่งแรกของศตวรรษน้ี คือ ในแงม ุมของยุทธการและยุทธวิธี ซ่งึ สมรรถนะ(Competence) ของทหารจะดูเหมือนเปนความชอบธรรมท่ีหลกี เล่ียงไมไดข องชาติ จากการศึกษากรณีตา ง ๆ21 กรณี พบวา สว นใหญจ ะมีระดับตํ่ากวาสมรรถนะความเปนทหารอาชพี ท่วั ไปและดอยสมรรถนะอยา งมากเปนบางครง้ั ซง่ึ บางคนอาจสงสยั วามีทหารอาชีพอื่น ๆหรือไมใ นเจ็ดชาติเหลา น้ีท่อี ยใู นระหวางยคุ เดยี วกัน ท่อี าจไดร ับการประเมินคา ตํา่ดวยสมรรถนะท่ีคลา ยกนั นอกเหนอื จากของผูสังเกต31West (London, 1940); Timothy T. Lupfer, \"The Dynamics of Doctrine:The Changes in German Tactical Doctrine During the First World War\",Leavenworth Paper 4 (1981); Timothy Travers, The Killing Ground:The British Army and the Emergence of Modern Warfare, 1900-1918(London, 1987) และ How the War Was Won: Command andTechnology in yhe British Army on the Western Front 1917-1918(London, 1992); Martin Samuels, Command or Control? Command,Training and Tactics in the British and German Armies, 1888-1918(London, 1995). 31 พล.ท. John H. Cushman, \"Challenge and Response at theOperational and Tactical Levels, 1914-1945\", ใน Allen R. Millett andWilliamson Murray, eds., Military Effectiveness, vol.3, World War II(London, 1988), หนา 322. เมอรเ รยแ ละนอ กซ

25 แมวาองคกรทหารจะเผชิญกับอุปสรรคมากมายตอนวัตกรรมในยามสงบไมเคิล โฮวารด (Michael Howard) ไดเปรียบเทียบปญหาขององคกรทหารตาง ๆกับที่ศัลยแพทยจะตองเผชิญ ซ่ึงตองเตรียมที่จะทําการผาตัดโดยไมมีประสบการณตอผูปวยท่ียังมีชีวิต32 กองทัพบก, กองทัพเรือ, และกองทัพอากาศ ตองเตรียมพรอมท่ีจะปฏิบัติการเมื่อไดรับการแจงเตือนเปนเวลาส้ัน ๆ ในสถานการณที่ยากลําบากอยางย่ิงที่โดยคําจํากัดความแลวไมสามารถที่จะเกิดซ้ําไดเวนแตการทําลายลางชีวิตคนจาํ นวนมาก นอกจากน้ีกองทัพตาง ๆ มักจะขาดการสนับสนุนทางการเงินท่ีมากเกินและขาดการหนุนหลังทางการเมืองท่จี าํ เปน สําหรับการทดสอบและการฝกที่สมจริงในยามสงบ แตจากประวัติศาสตรที่บันทึกการยุทธของเยอรมันตอยุโรปตะวันตกในป 1940 แสดงใหเห็นอีกครั้งถึงความเปนไปได โดยแสดงใหเห็นวาบางประเทศก็ทําไดดีกวาประเทศอ่ืน ทั้งนี้ การเขาใจวิธีการและเหตุผลที่บางองคกรประสบความสําเร็จและแสดงถึงลักษณะ และนัยยะสําหรับอนาคตของการปฏิวัติการทหารและการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของอดีต นับเปนวัตถุประสงคหลักของการศกึ ษากรณตี า ง ๆ ตอ ไป 32 Michael Howard, \"The Uses and Abuses of Military History\",Journal of the Royal United Services Institution, vol.107, No.165(February 1962), หนา 4-10. แนวคิดของการเปล่ียนแปลงแบบปฏวิ ัติในการสงคราม

2 อาทิตยด วงใหม: การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ขององั กฤษ คล๊ิฟฟอรด เจ. โรเจอร (Clifford J. Rogers) ระหวางการครองราชยของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3 (ป 1327-77 (พ.ศ.1870-20))อังกฤษไดปฏิวตั ใิ นกจิ การทหารอยางจรงิ จังและนา ทึ่ง โดยสามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงอยา งฉบั พลนั ของประเทศจากพลังอํานาจทางทหารระดับท่ี 3 ไปเปนชาติท่ีเขมแข็งและรุกรบที่สุดในยุโรปไดอยางชัดเจน แมจะเปนเพียงช่ัวคราว ซึ่งฟรานเชสโกเปตรารกา (Francesco Petrarca) นักมนุษยศึกษาที่มีชื่อเสียง ไดใหความเห็นเมอ่ื ป 1360 (พ.ศ.1903) วา เมอื่ ขา พเจายังเด็ก อังกฤษนับวาเปนชาติท่ีรักสันติท่ีสุดในบรรดาชาติตาง ๆ(ยกเวนอิตาลี) แตตอนน้ีกลับเปนชาติที่ชอบรบอยางบาคลั่ง อังกฤษท่ีเคยดอยกวาสกอต ไดลมฝร่ังเศสที่รุงเรืองทางทหารในอดีตดวยชัยชนะมากมายซึ่งบน่ั ทอนอาณาจกั รฝร่ังเศสดวยไฟและดาบ01 ประมาณเวลาเดียวกัน ชอ็ น เลอ เบล (Jean le Bel) ผบู นั ทึกประวตั ิศาสตรทไี่ ดถ วายงานกษัตริยเอด็ เวริ ด ท่ี 3 ในการยทุ ธค รงั้ แรกกบั สกอ ตเมอื่ ป 1327 (พ.ศ.1870)และไดติดตามเสนทางการทหารของกษัตรยิ อ ังกฤษในเวลาตอมา ไดใหความเห็นไวว า คร้ังแรกที่กษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 ขึ้นครองอังกฤษในชวงท่ียังทรงหนุมอยู(ป 1326 (พ.ศ.1869)) อังกฤษยังไมเปนที่นาสนใจมากนัก และไมมีใครพูดถึงความหา วหาญหรือรุกรบของชาวอังกฤษ... (แต) ชาวอังกฤษก็ไดฝกฝนความชํานาญในการใชอาวุธเปนอยางดีในชวงที่กษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3 นี้ครองราชย... จนกระทั่งชาวอังกฤษ (ตอนน้)ี ... เปน นกั รบท่ดี ีที่สดุ ท่ีรจู กั กนั 12 1 อา งใน R. Boutruche, \"The Devastation of Rural Areas During theHundred Years's War and the Argricultural Recovery of France\", ใน P. S. Lewis,ed., The Recovery of France in the Fifteenth Century (New York, 1972), หนา 26. 2 Jean le Bel, Chronique de Jean le Bel, eds. Jules Viard andEugène Déprez (Paris, 1904), vol.1, หนา 165-6: \"quant ce noble RoyEdowart premierement reconquist Angleterre en sa joeunesse,on ne tenoit reins des Anlgès communement, et ne parloit on point

27 เฮนรี่ ไนทตัน (Henry Knighton) ผูบันทึกประวัติศาสตรใหความเห็นวาในชวงการครองราชยของพระบิดาของกษัตริยเอ็ดเวิรด \"ทหารอังกฤษสองคนก็ยากท่ีจะตอสูไดกับทหารสกอตท่ีออนแอหนึ่งคน\" แตตรงกันขาม ในรุนตอมา\"ทหารฝร่ังเศสรอยคนก็ยากที่จะคิดหรือกลาที่จะเผชิญกับทหารอังกฤษย่ีสิบคนในสนามรบหรือทําการรบ\"23de leur proese ne de leur hardiesse.... Or ont ilz sy apris les armesau temps de ce noble roy Edowart, qui souvent les a mis en oeuvre,que ce sont plus nobles et les plus frisques combastans qu'on sache.\"\"Frisques\" ยากท่จี ะแปลไดครอบคลมุ ดวยคํา ๆ เดียว: คําน้ีหมายรวมถึงความกลาหาญ,ความเขม แข็ง, และความหาวหาญ. 3 Henrici Knighton, Chronicon, ed. J. R. Lumby (London, 1895),vol.1, หนา 451: \"duo Angli vix valebant debilem Scotum\"; AnonimalleChronicle 1333-1381, ed. V. H. Gallbraith (Manchester, 1927), หนา 43:\"a payn c Fraunceis ne voidreount ne oseount vint Engleis enchaumpe encountrere ne a eux bataille doner.\" ดู Andrew ofWyntoun, Orygynale Cronykil of Scotland, ed. David Lang (Edinburgh,1872), vol.2, หนา 489: \"Yit think me and T ware to ta / Ane Inglissman worthe Franche twa,\" และความเห็นของ Blaise de Monluc ท่ีวา\"เราไดยินคํากลาวของบรรพบุรุษเราวา อังกฤษหนึ่งคนเอาชนะ ฝรั่งเศสสองคนไดเสมอ\"อางใน Michael Harbinson, \"The Longbow as a Close Quarter Weaponin the Fifteenth Century\", Hobilar: The Journal of the Lance andLongbow Society, No.15 (January 1995), หนา 2 องั กฤษในยุคของกษตั รยิ เ อ็ดเวริ ดที่ 3ยังคิดวาตนเองไมมีทางท่ีจะพายแพ: ดู M. McKisack, The FourteenthCentury (Oxford, 1959), หนา 150-1, 151 note. อาทิตยดวงใหม: การปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

28 สําหรบั คาํ ตัดสินในสนามรบในยุคของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่สนับสนุนมุมมองเหลาน้ี ที่ดั้บพลิ่นมัวร (Dupplin Moor), ฮาลิดั้นฮิลล (Halidon Hill), สลุยส (Sluys),เครซ่ี (Crécy), เนว่ิลสครอสส (Neville's Cross), ปวติเยร (Poitiers), และนัจเจรา (Nájera) ที่ไดสรางพระเกียรติยศของพระองคอยางท่ีไมมีกษัตริยองคใดขององั กฤษจะเทียบไดใ นประวัตศิ าสตร และจริง ๆ แลว ไมมีชาตใิ ดในยุโรปที่จะสําเร็จผลในการรบไดเทา นับแตการลมสลายของโรมและการปฏิวัติฝร่ังเศส และจักรวรรดิ ชัยชนะท่ีกลาวมาของกษัตริยเอ็ดเวิรด เทียบไดกับชัยชนะของนโปเลียนสําหรบั กองทพั ขององั กฤษ34 ที่เอาชนะกําลังที่มากกวาอยางมากในการรบท้ังหมดของตนโดยประมาณอยางรอบคอบเปน 10:1 (สิบถวนตอหนึ่ง) ท่ีด้ับพล่ินมัวร, 2:1 ที่ฮาลิดั้นฮิลล,2:1 ที่เครซ่ี, 1.9:1 ที่เนวิ่ลสครอสส, 2.3:1 ท่ีปวติเยร, และ 1.5:1 ท่ีนัจเจรา45ซึ่งสัดสวนตาง ๆ นี้เปนท่ีนาสังเกตย่ิงข้ึนเม่ือไดคิดถึงตามที่เคลาสวิทซเขียนไวเมือ่ กลางศตวรรษที่ 19 วา สามารถที่จะหาตัวอยางเฉพาะสองตัวอยางในประวัติศาสตรสมยั ใหมท ้ังหมดของการเอาชนะกองทพั ยุโรปที่มากกวา ถึงคร่ึงหนึง่ ของกําลังของตน56 4 ในสว นน้ีและทอ่ี น่ื ผเู ขยี นใชค าํ วา \"อังกฤษ\" อยา งกวางๆ โดยรวมถึง ชนชาติอื่น ๆหรอื พันธมิตร ของกษตั รยิ เอด็ เวริ ดท่ี 3 คอื ชาว Gascons, สกอต, เวลส, สเปน, ฯลฯ. 5 อัตราสวนนี้คิดตามตัวเลขท่ีไดจากการประมาณ \"การคาดการณท่ีดีท่ีสุด(Best guess)\" ใน Clifford J. Rogers, War Cruel and Sharp: English Strategyunder Edward III, 1327-1360 (Woodbridge, 2000) ยกเวน 2 สถานการณอัตราสวนของท่ี Nájera มาจาก C. W. C. Oman, A History of the Art ofWar in the Middle Ages (London, 1924), vol.2, หนา 187 สําหรับ Neville's Crossดู Clifford J. Rogers, \"The Scottish Invasion of 1346\", Northern HistoryXXXIV (1998), หนา 57-60. 6 Rossbach and Leuthen: Vom Kriege, ed. Werner Hahlweg(Bonn, 1952), หนา 273 (Book 3, Chapter 8); On War, es. and transMichael Howard and Peter Paret (Princeton, NJ, 1976), หนา 195. โรเจอร

29 ยิง่ ไปกวา นก้ี ารรบเหลาน้ีไมเพียงแคเอาชนะศัตรูของกษัตริยเอ็ดเวิรดเทานั้นแตเปนชัยชนะโดยส้ินเชิงท้ังหมดที่ด้ับพลิ่นมัวร ทหารอังกฤษ 1,500 คน เอาชนะทหารสกอ ต 15,000 คน, สังหารผสู ําเร็จราชการ (Regent) ของสกอตแลนด และ4 ใน 5 ของเอิรลชาวสกอตที่มี, จับกุมได 1 ใน 5, และสังหารทหารสกอต ประมาณ3,000 คน โดยความเปน จริงแลว นับเปนเรื่องยากยิ่งท่ีในการรบตาง ๆ ท่ีกองทัพหนึ่งไดสังหารขา ศกึ ถึงสองเทาของทหารท่ีตนมีตอขาศึกท่ีมีความสามารถทางเทคโนโลยีทเี่ ทยี บเทากนั ในสนามรบท่ีโลงแจง ตอมาที่ฮาลิดั้นฮิลล อังกฤษไดสังหารผูสําเร็จราชการใหมของสกอตแลนด, เอิรลอีกสี่คน, และทหารสกอตมากกวาพันคนท่ีสลุยส, เครซ่ี ทหารฝร่ังเศสถูกสังหารมากกวาท่ีอาแซ็งกูร (Agincourt) (หรือวอเตอรลู (Waterloo) หรือเดียนเบียนฟู (Dienbienphu)); กองเรือของกษัตริยเอ็ดเวริ ดทีม่ ีจาํ นวนนอ ยกวาชนะสงครามทางเรอื ทใี่ หญท่ีสุดของศตวรรษของพระองคโดยเปนชัยชนะที่เด็ดขาดกวาที่กองเรือของนโปเลียนพายแพที่ทราแฟลการ(Trafalgar) ซง่ึ ตามขอมูลของพระองคเองแลว อังกฤษยึดเรือฝรั่งเศสได 166 ลําจาก 190 ลํา ในขณะท่ีกองเรือของเนลสัน (Nelson) ท่ีทราแฟลการ (Trafalgar)ยึดเรือของฝรั่งเศสและสเปนไดเพียง 18 ลํา จาก 33 ลํา ขณะที่อีกสิบเอ็ดลําหนีไปยังกาดิซ (Cádiz) ที่เครซ่ี อังกฤษทําลายกองทัพฝร่ังเศสอยางราบคาบกษัตริยโบฮีเมีย (Bohemia), ขุนนางอ่ืน ๆ อีก 1,500 คน และทหารราบอีกนับไมถวนเสียชีวิตในสนามรบ สวนผูที่หนีรอดไปได ไดแก กษัตริยของฝรั่งเศส(บาดเจ็บจากลูกธนูหลายดอก), กษัตริยของมาจอรกา (Majorca), และจักรพรรดิของโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิในอนาคตองคหน่ึง ท่ีเนวิ่ลลครอสส อังกฤษจับกุมกษัตริยของสกอตได; ท่ีปวติเยร กษัตริยจอหนท่ี 2 ของฝรั่งเศส พบกับชะตากรรมเดียวกันดวยมือของเจาชายแบลค (Black) ราชบุตรองคโตของกษัตริยเอ็ดเวิรด67 และ 7 สําหรบั สงครามเหลานีท้ ั้งหมดในศตวรรษท่ี 14 ดู Rogers, War Crueland Sharp. อาทิตยด วงใหม: การปฏิวตั ใิ นกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

30กษัตริยเอ็ดเวิรดไมเคย \"พายแพอยางราบคาบเหมือนที่วอเตอรลู (met his Waterloo)\"หรือไลพซิก (Leipzig) หรือโบโรดิโน (Borodino) ทั้งนี้ อังกฤษชนะสงครามทางบกใหญ ๆ ของตนทั้งหมดในระหวา งปครองราชยท ่ี 50 ของพระองค ชัยชนะในการรบเหลาน้ีนําไปสูการใชหนี้ทางการเมืองที่สูง ถาไมยุติสกอตตกอยูใตการปกครองของอังกฤษสองครั้งในป 1333 (พ.ศ.1876) และ 1335(พ.ศ.1878) และอาจยังคงอยูตอไปตราบเทาที่สกอตยอมรับ และถาอังกฤษไมตองสูรบกับฝร่ังเศสซ่ึงเปนศัตรูที่ใหญกวาท่ีดึงความสนใจของกษัตริยเอ็ดเวิรด78 ในการสูรบที่ยิ่งใหญน้ัน กองทัพอังกฤษประสบชัยชนะอยางนาทึ่งโดยสนธิสัญญาเบรตีญี(Treaty of Brétigny) ป 1360 (พ.ศ.1903) ซงึ่ ราชวงศฝรงั่ เศส (Valois - วาลัวส) 8 ดู John of Fordun, Chronica Gentis Scotorum [Historians ofScotland, vol.I] ed. W. F. Skene (Edinburgh, 1871), หนา 363, note 5,และตาํ ราทเ่ี กีย่ วของใน Liber Pluscardensis, ed. F. J. H. Skene [Historiansof Scotland, vol.VII] (Edinburgh, 1877), หนา 286: \"The mortal warbetween Edward III and the king of France revived, fortunately forthe realm of Scotland; for if the King of England had continued thewar he had begun [against the Scots], without doubt he would havesubjugated all the realm of Scotland to his commands.\" It is alsoworth noting that in the 1350s, Edward persuaded the childlessDavid Bruce (who had been captured at the battle of Neville's Cross)to settle the inheritance of the Scottish crown on Edward or one ofhis sons, and in the meantime to became the Plantagenet's vassal,though David was unable to secure enough political support inScotland for this settlement to enact it (ดู E. W. M. Balfour-Melville,Edward III and David II [London, 1954], หนา 15-16). โรเจอร

31ไดตกลงสงมอบหน่ึงในสามของฝร่ังเศสใหอังกฤษปกครอง89 ทางใตลงไปการเขาแทรกแซงของเจาชายแบลค (Black) ในไอบีเรยี (Iberia) ไดนําเอาเปโดร (Pedro)\"ผูโหดเหี้ยม (The Cruel)\" ที่อังกฤษสนับสนุนกลับมาชั่วคราวในการสืบราชบัลลังกของอาณาจักรแคสทิล (Castile) และความเปนนักรบของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3ประสบผลสําเร็จจนมีความเห็นของชาวยุโรป ท่ีประทับใจวากษัตริยอังกฤษไดรับการเสนอใหครองจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ (Holy Roman Empire) ที่ \"เปนอัศวินท่ีควรคาท่ีสุด, เขมแข็งท่ีสุด, ทรงอํานาจท่ีสุดของอาณาจักรคริสเตียน\"910ส่ิงตาง ๆ ไดเปลี่ยนไปต้ังแต ยุคของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 2 ซึ่ง \"ขลาดกลัวและไรโชคในสงครามเสมอ (always lily-livered and luckless in war)\"1011 จริง ๆ แลวเปน ไปตามบนั ทึกของผูบนั ทกึ ประวัติศาสตร โทมัส วอลซิงแฮม (Thomas Walsingham)ที่เขียนไววา \"สําหรับชาวอังกฤษแลวเกือบดูเหมือนวาไดมีดวงอาทิตยดวงใหมเกดิ ขน้ึ เน่ืองจาก...ความรงุ โรจนของชัยชนะตาง ๆ ขององั กฤษ\"1112 9 แมการโอนอํานาจการปกครองโดยเด็ดขาดจะไมเคยเกิดข้ึน แตฝรั่งเศสไดตอบตกลงจรงิ . 10 Knighton, Chronicon, vol.2, หนา 55; Thomas Gray,Scalarcronica, ed. Joseph Stevenson (Edinburgh, 1836), หนา 301;H. S. Offler, \"England and Germany at the beginning of the HundredYears' War\", English Historical Review LIV (1939). 11 Chronicon de Lanercost, ed. Joseph Stevenson (Edinburgh, 1839),หนา 247-8: \"qui semper fuerat cordis pavidi et infirtunatus in bellis\". 12 Thomas Walsingham, Historia Anglicana, ed. H. T. Riley(London, 1863), vol. I, หนา 272, on the aftermath of Crécy andCalais: \"videbatur Anglicis quasi novus sol oriri, propter pacisabundantiam, rerum copiam, et victoriarum gloriam\". อาทติ ยดวงใหม: การปฏิวตั ใิ นกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

32 เมื่อเร็ว ๆ น้ี นักประวัติศาสตรยุคกลางไดเริ่มตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงที่นาทึ่งน้ีในความสามารถในการทําสงครามจากมุมมองของบทความ \"การปฏิวัติการทหาร (Military revolution)\" สมัยใหมชวงตนทั้งในบริบทของอังกฤษเทาน้ันทเ่ี ปนสวนหน่ึงของ \"การปฏวิ ัติการทหารของกษตั ริยเ อด็ เวิรด (Edwardian militaryrevolution)\" หรือรวมกับความสําเร็จของชาวเฟลมมิ่งส (Flemings), สวิส, สกอต,และอื่น ๆ ท่ีเปนสวนหน่ึงของ \"การปฏิวัติทหารราบ\" ของตนศตวรรษท่ี 1413ขอ เขยี นนี้จะถอื ตามที่ไดร บั วาอังกฤษไดผา นการปฏิวัติในกิจการทหารศตวรรษท่ี 14 13 Edwardian: Michael Prestwich, The Three Edwards: War andthe State in England 1272-1377 (London, 1980), หนา 62; much morefully developed in his Armies and Warfare in the Middle Ages. TheEnglish Experience (New Haven, CT, 1996), และใน Andrew Ayton,Knights and Warhorses: Military Service and the English Aristocracyunder Edward III (Woodbridge, 1994), Chapter 1, \"The MilitaryRevolution in Edwardian England\"; รวมท้ังที่ไดกลาวมาแลว \"EnglishArmies in the Fourteenth Century\", ใน Anne Curry and MichaelHughes, eds., Arms, Armies and Fortifications in the Hundred Years'War (Woodbridge, 1994). Infantry Revolution: Clifford J. Rogers,\"Military Revolutions of the Hundred Years' War\", ใน Journal ofMilitary History (1993), reprinted with revisions in idem, ed., TheMilitary Revolution Debate (Boulder, CO, 1995), หนา 55-93 [citationsbelow are to the latter version], และ John F. Guilmartin, Jr., \"TheMilitary Revolution: Origins and First Tests Abroad\", also in TheMilitary Revolution Debate, หนา 304. See also Kelly R. DeVries,Infantry Warfare in the Early Fourteenth Century (Woodbridge, 1996). โรเจอร

33และจะตรวจสอบสงครามของกษัตริยเอ็ดเวิรด เพื่อดูวาจะสามารถบอกอะไรเราไดบางเก่ียวกับความสัมพันธระหวางเทคโนโลยี, การจัดหนวยทหาร, ยุทธวิธี, ยุทธศาสตร,และความเปนผูน ําของแตล ะบคุ คลในการปฏิวัติ ในกจิ การทหาร (RMA) เทคโนโลยี นักวิจารณมักมองวา การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ที่ไดรับการผลักดันขางตนท้ังหมดเกิดจากเทคโนโลยี แตดวยเง่ือนไขท่ีวาการพัฒนาจากนวัตกรรมไปสูการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติ ตองมีการปรับการจัดหนวยทหารและหลักนิยมกอนท่ีจะเห็นคุณคาของศักยภาพทางยุทธวิธีและยุทธศาสตรของระบบอาวุธใหม ๆซึ่งเปนไปตามแนวคิดของแอนดรูว เครพพินนิวิช (Andrew Krepinevich) โดยการปฏิวัติการทหาร ประกอบดวย 4 สวน คือ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี, การพัฒนาระบบตาง ๆ, นวตั กรรมทางการยทุ ธ, และการปรับการจัดหนวยทหาร ซ่ึงในแตละสวนเหลานี้มีสภาวะท่ีจําเปนในตัวเองแตยังไมเพียงพอท่ีจะใหเห็นถึงผลลัพธท่ีไดจากการสําเรจ็ ผลทางทหารที่มีตอการปฏิวตั ิการทหารตาง ๆ1314 องคประกอบทางเทคโนโลยีท่ีเดนชัดของการปฏิวัติในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ คือ คันธนูท่ีทําจากไมสนซ่ึงเปนอาวุธพื้นฐานลักษณะเดยี วกับคนั ธนูไมทว่ั ไป (Self bow) ที่ใชมาต้งั แตย คุ หนิ ใหม (Neolithic) แตยาวกวา 14 Andrew Krepinevich, \"Cavalry to computer: The Pattern ofMilitary Revolutions\", The National Interest 37 (1994), หนา 30-42สําหรับ proposed differentiation ระหวางการปฏิวัติการทหารกับการปฏิวัติกิจการทหาร ดู Rogers, \" 'Military Revolutions' and ' Revolutions in MilitaryAffairs': A Historian's Perspective\", ใน Thierry Gongora and Harald vonRiekhoff, eds., Toward a Revolution in Military Affair? Defense andSecurity at the Dawn of 21st Century (Westport, CT, 2000). อาทติ ยดวงใหม: การปฏวิ ัตใิ นกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

34โดยมแี รงดึงมากกวาธนูกอ นนี้ (ซง่ึ ทําใหแรงกวา) แมวาเม่ือเร็ว ๆ น้ี จะมีนักประวัติศาสตรผูหน่ึงใหความเห็นขัดแยงเก่ียวกับมุมมองท่ัวไปของอํานาจสังหารของธนูน้ีจากการตรวจสอบอยางละเอียดของแหลงขอมูลรวมสมัยยืนยันขอสรุปท่ีวาคันธนูขนาดยาวของศตวรรษที่ 14 นี้มีอํานาจสังหารแมแตตอทหารที่สวมเกราะ1415ในมอื ของพลธนูที่แขง็ แรงและชาํ นาญ สามารถยิงธนูนี้ไดเร็วอยางนอยท่ีสุด 3 เทาของหนาไมท่ีอยูในสมัยเดียวกันสามารถยิงไดไกลกวาและดวยความแมนยําท่ีสูงกวา(ท่ีไกลกวาระยะประชิด) และสามารถกระทบเปาดวยแรงปะทะท่ีเพียงพอที่จะเจาะเกราะและทําใหเกิดบาดแผลฉกรรจหรือแมแตการบาดเจ็บถึงขั้นเสียชีวิตตอคน หรือมาทั้งนี้ แหลงขอมูลรวมสมัยหลายแหลงยืนยันความสําคัญของธนูนี้ สําหรับชัยชนะของกษตั รยิ เอด็ เวิรดท่ี 316 ดังตัวอยางในสงครามคร้ังแรกของพระองคที่ฮาลิด้ันฮิลลเมื่อป 1333 (พ.ศ.1876) ผูบันทึกประวัติศาสตรพรรณนาวา พลธนูอังกฤษ \"สังหารทหารสกอตจํานวนมาก\" และ \"ยิงทหารสกอตลมดวยลูกธนูเปนพัน ๆ ดอก\"1617กอนป 1333 (พ.ศ.1876) ธนูแบบคันยาวยังเปนเทคโนโลยีใหมท่ียังไมคอยมีมากนักธนูนี้ไดเปนอาวุธหลักของกองทหารของราชวงศอังกฤษนานกวาครึ่งศตวรรษ 15 ดู Rogers, \"The Efficacy of the English Longbow: A Reply toKelly DeVries\", War in History 5 (1998), หนา 233-42. 16 Giovanni Villani, Cronica, ใน Roberto Palmarocchi, Cronistidel Trecento (Milan, 1935), หนา 397; Jean Froissart, Oeuvres, ed.Kervyn de Lettenhove (Bruxeelles, 1870), vol.5, pp'37-78; Rogers,\"The Efficacy of the English Longbow\". 17 Thomas Burton, Chronica Monasterii de Melsa, ed. E. A. Bond(London, 1866-68), vol.1, หนา 106 (\"Anglici sagittarii maximamstragem perfecerunt\"); British Library, London, Cottonian MSCleopatra D III (a Brut manuscript), fo. IOIV (\"ils lour mistrent avalepar plusours millers\"). โรเจอร

35สําหรับทหารอังกฤษท่ีทหารสกอตของ โรเบิรต เดอะ บรูซ (Robert the Bruce)บดขยี้ที่แบนนอคเบิรน (Bannockburn) เมื่อป 1314 (พ.ศ.1857) พลธนูแบบคนั ยาวอาจเปนสาเหตุหลัก1718 สําหรับสมรรถนะโดยรวมของทหารเหลาน้ีพลธนูของกษตั ริยเ อ็ดเวริ ดที่ 2 ไมส ามารถปองกันหน่ึงในความอัปยศที่สุดที่มีตอกองทัพอังกฤษ 18เปนเร่ืองปกติในสงครามตอ ๆ มาของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 1 สําหรับสวนใหญของทหารราบที่จะเปนพลธนู และน่ีก็อาจเปนกรณีของในป 1314 ดวยเชนกันคําสั่งของรูปขบวนสําหรับการรบท่ีแบนนอคเบิรน สวนใหญไมระบุอาวุธของทหารราบ(Rotuli Scotiae, ed. David Macpherson [London: Record Commission, 1814],vol.1, หนา 120, 124, 126, 129), แตในไมก่ีกรณีที่ระบุอาวุธ ซึ่งมักจะเนนท่ีธนู(เร่ืองเดียวกัน, หนา 114 [พลธนูพรอมธนู 1,500 คน จาก Durham], หนา 120[พลหนาไม 40 และพลธนู 60 จาก Bristol], หนา 122 [ทหารราบ, พลธนู, และอ่ืนๆ4,000 จาก Ireland]) นอกจากนี้ ในคําส่ังยกเลิกเม่ือ 9 มี.ค. สําหรับรูปขบวนรบของประเทศ ไดระบุพลธนูไว: J. E. Morris, Bannockburn (Cambridge, 1914), หนา 40การเปลี่ยนแปลงน้ีอาจชี้วากษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 2 ตองการท่ีจะยอมรับสวนของกองทัพของพระองคมากกวาธนู แตก็ดูเหมือนวาสวนใหญจะยังคงเปนพลธนูสุดทายผูบันทึกประวัติศาสตรไดกลาวซ้ําถึง \"พลธนูอังกฤษ\" ท่ีแบนนอคเบิรน แตไมมี\"พลหอกอังกฤษ\" ตาม Chronicon de Lanercost, หนา 225; John Barbour,The Bruce, ed. W. W. Skeat (London, 1889), หนา 307-09 ขอสรุปของJ. E. Moris (Bannockburn, หนา 39) ที่วา \"การครองราชยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2 เปนยุคท่ีตกต่ําในประวัติศาสตรของวิวัฒนาการของพลธนูอังกฤษ\"ยังไมนาเชื่อไดนักโดยเปนการยากที่จะนึกภาพวากษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 จะสามารถไดพลธนูจํานวนมากที่ไดรับการฝกมาไดอยางไร เม่ือป 1333 ถาไมถูกระดมมาเปนประจําในหวงที่พระบิดาของพระองคครองราชยอยู อยางไรก็ตาม ทหารราบยังคงเปนกําลังสวนใหญของ Banockburn host; ซึ่งกองทัพนี้อาจประกอบดวยทหารมา 2,500 และพลเดินเทา 15,000 (เร่ืองเดียวกัน, หนา 41). อาทติ ยดวงใหม: การปฏิวัติในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

36ระหวางการสูญเสียเมืองเฮสต้ิงส (Hastings) กับสิงคโปร แมวากําลังกองทัพอังกฤษที่ถูกสงสัยน้ัน อาจเปนกําลังท่ีออกปฏิบัติการนอกประเทศท่ีใหญท่ีสุด และมีอาวุธยุทโธปกรณขนาดยาว (Long bow) ที่มีชื่อเสียงท่ีดีท่ีสุดท่ีราชวงศอังกฤษไดรวบรวม จนถึงขณะนั้น แตก็มีกําลังนอยกวาศัตรูชาวสกอตของตนอยางมาก1819สําหรับพลธนูคันยาวทั้งหมดของพระองคเปนท่ีชัดเจนวากษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2ไมไดร ับประโยชน จากการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ดังนั้น จึงยังไมมีการผลิตธนคู ันยาวขน้ึ การหาสาเหตทุ างเทคโนโลยีสาํ หรบั การพฒั นาที่เปนพื้นฐานของประสิทธิภาพของทหารอังกฤษภายใตกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 ตองหาการเปลี่ยนแปลงของอาวุธยทุ โธปกรณทางทหารของกองทัพของราชวงศแพลนทาเจเน็ท (Plantagenet) ที่ไดพัฒนาข้ึนเปนการเฉพาะในระหวางป ที่สกอตไดรับชัยชนะที่แบนนอคเบิรน กับท่ีสกอตพายแพที่ดั้บพลิ่นมัวร (1332 (พ.ศ.1875)) ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงสองประการคอื การเกดิ ขึ้นของอาวุธที่ใชดินปน และการพัฒนาเกราะและมาศึกของทหารอังกฤษทีน่ าทึ่ง การรบคร้ังแรกของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 เมื่อป 1327 (พ.ศ.1870) เปนคร้ังแรกในยุโรปท่ีไดบันทึกวา มีการใชอาวุธที่ใชดินปน1920 ซ่ึงกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3ยังคงอยูในหวงรอยตอของเทคโนโลยีปนใหญในชวงท่ียังทรงพระชนมายุอยูปนใหญที่ทหารของพระองคยิงที่เครซ่ี อาจเปนคร้ังแรกที่ใชในสนามรบ และการจัดใหมีปนสิบกระบอก (รวมท้ัง \"ปนขนาดใหญ (Grossa)\" สองกระบอก) สําหรับโจมตีกาเลส (Calais) เมื่อป 1346-47 (พ.ศ.1889-90) นับเปนท่ีเลื่องลือสําหรับ 19 Vita Edwardi Secundi, ed. N. Denholm-Young (London, 1957), หนา 50. 20 Barbour, The Bruce, ed. A. A. M. Duncan (Edinburgh, 1997),402; A. E. Prince, \"The Importance of the Campaign of 1327\". EnglishHistorical Review L (1935), หนา 301-02; illumination of 1326 inRichard Humble, Medieval Warfare (Wingston, 1989), หนา 147. โรเจอร

37วันของปนใหญในวันน้ัน2021 ที่สําคัญเทากันในสมัยน้ัน คือ การพัฒนาเกราะและอาวุธของทหารมาหนัก (Men-at-arms) ของอังกฤษ ในชวงเวลาเดียวกับที่แบนนอคเบิรน อัศวินอังกฤษสวนใหญอาศัยเกราะแบบหวงเล็ก ๆ รอยกัน(Mail armor) และหมวกเหล็กแบบหมอ (Pot helm) สําหรับปองกันหลักฐานตาง ๆ ท่ีกลาวถึงอาวุธยุทโธปกรณท่ีถูกยึดไดหลังการรบท่ี บอโรบริดจ (Boroughbridge) เมอื่ ป 1322 (พ.ศ.1865) แสดงวา หลงั จากนั้นอศั วนิ ที่มีอาวุธยุทโธปกรณที่ดีอาจมีแผนเกราะปองกันบางสวน แตหลักฐานของช็อน เลอ เบล แสดงวาจนป1327 (พ.ศ.1870) ทหารมาหนัก (Men-at-arms) ของอังกฤษสวนใหญยังคงไมมีแผนเกราะหรือหมวกเกราะพรอมหนากากปด (Bascinets) แตมีเพียงเสื้อเกราะแบบรอยหวงคลุมยาวถึงเขา (Mail hauberks) และหมวกเกราะแบบเจาะชองตรงลูกตา (Great helm) แบบยคุ เกา ตัวอยางของอัศวินไฮนอลเทอร (Hainaulter) ท่ีไปยังอังกฤษเพ่ือถวายงานตอกษัตริยเอ็ดเวิรดเมื่อป 1326 (พ.ศ.1869) และ 1327 (พ.ศ.1870) และการที่ตองทําการรบบอย ๆ ของพระองค (เสริมดวยตัวอยางการใชจายเงินอยางสูงมากของพระองค เก่ียวกับมาศึกและยุทโธปกรณทางทหาร) ทําใหขีดความสามารถ 21 Crécy: ดู Burne, \"Cannons at Crécy\", English Historical ReviewLXXVII (1962). หนา 335-42 แตควรสังเกตวา Burne ไมไดใหขอความท้ังหมด(หรือแปลไดไมดีนัก) ของการอางอิงถึงปนใหญใน Villani และ Storie Pistoresi(Storie Pistoresi, ed. Muratori [Rome: Rerum Italicarum Scriptores,ser. XI, vol.5], หนา 223; G. Villani, Cronica, หนา 397-8) คําแปลของGrandes Chroniques (แปลไดดีกวาใน Burne) อาจถูกตองกวาของผูบันทึกประวัติศาสตรอิตาลี' สําหรับ Calais ดู Paris, Bibliothèque Nationale, MSFr. 693, fo. 267; T. F. Tout. \"Firearms in England in the FourteenthCentury\", English Historical Review XXVI (1911), หนา 689-91 นอกจากนี้ยงั มกี ารใชวสั ดุสําหรบั ดนิ ปนมากกวา 5,000 ปอนด. อาทติ ยด วงใหม: การปฏวิ ตั ิในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ขององั กฤษ

38ของอัศวินอังกฤษสูงไดมาตรฐานของทวีป จริง ๆ แลว สําหรับในศตวรรษตอไปทหารมาอังกฤษนับเปนหนึ่งในกลุมที่ไดรับการติดอาวุธที่ดีที่สุดในยุโรป2122การเปรียบเทียบระหวา งชุดเกราะทองเหลอื งของศพของอัศวินอังกฤษ เซอรโรเบิรตเดอ เบียรส (Robert de Bures) (c. 1331) กับภาพเขียนตนฉบับของอัศวินผหู นง่ึ ของวอลเทอร เดอ ไมลม ีท (Walter de Milemete) ของป 1326 (พ.ศ.1869)ตัวอยางหนึ่งกับเกราะทองเหลืองของ เซอร จอหน ดี อาเบอรนอน (John d'Abernon)(c. 1340) อีกตัวอยางหน่ึงท่ีแสดงความแตกตาง สองตัวอยางแรกแสดงภาพชายสวมชุดเกราะแบบหวงรอย (Mail armor) ท่ีมีเกราะเสริมนอยมากหรือไมมีเลยตรงกันขามของดี อาเบอรนอน (d'Abernon) ไดรับการปองกันดวยแผนเกราะเกือบทั้งตัว รวมทั้งเกราะแบบหวงรอย (รวมสวนลําตัวและตนขา ซ่ึงปองกันดวยแผน เกราะมหี มดุ ตอกดา นนอกทส่ี ามารถเห็นไดใตด านหนา ของเสอื้ คลุมเสือ้ เกราะ)2223 ในระหวางยุคนี้ ยังปรากฏวาอัศวินอังกฤษและผูรับใชอัศวิน เพื่อฝกเปนอัศวิน (Esquires - เอสไควร) ไดพัฒนาความสามารถของมาศึกของตนขึ้นเปนอยางมาก เห็นไดจากราคาสูงสุดและราคาเฉลี่ยที่เพิ่มข้ึนอยางมากในบัญชีชดใช(Restor rolls) ซ่ึงเปนบันทึกตาง ๆ ท่ีเก็บไวเพื่อใหรัฐบาลสามารถจายคาชดเชยอยางเปน ธรรม แกท หารที่มาของตนถูกสังหารในการปฏิบัติหนาที่2324 แอนดรู เอทัน 22 Jean le Bel, Chronique, vol.1, หนา 156 (1327); MichaelPrestwich, \"Miles in Armis Strenuus: The Knight at War\", Transcations ofthe Royal Historical Society (1996), หนา 208; idem, Armies and Warfare,หนา 22; Nigel Saul, Knights and Esquaires (Oxford, 1981), หนา 24. 23 David Edge and John Miles Paddock, The Arms and Armourof the Medieval Knight (New York, 1988), หนา 84, 78; Humble,Medieval Warfare, หนา 147 ภาพของ c. 1338 ใน BL MS Egerton 3028,fo. 18 แสดงระดับของเกราะเทยี บกบั ของ d'Abernon. 24 มา: ราคาเฉล่ียของมาของอัศวินและทหารมาหนัก (Men-at-arms) โรเจอร

39(Andrew Ayton) ผูเชี่ยวชาญระดับนาํ ในเรื่องนี้ไดกลาวถึงการพัฒนานี้วาเปน\"การปฏิวัติการฝกมาในยุคของกษัตริยเอ็ดเวิรด (Edwardian horse-breedingrevolution)\"2425 แตจากจุดยืนของการศึกษาการปฏิวัติในกิจการทหาร สิ่งที่นาสนใจท่ีสุดเก่ียวกับการพัฒนาที่นาทึ่งเหลาน้ีในดานอาวุธและยุทโธปกรณ คือ สรางความแตกตางนอ ยมากในสนามรบ ซ่งึ เปนคาํ เตือนท่ีสําคัญตอ สมมุติฐานท่ีวา ความสัมพันธเทากับสาเหตุ แนนอนวาเกราะท่ีพัฒนาขึ้นเปนผลดีตอทหารอังกฤษ เนื่องจากสามารถทนตอการโจมตีของฝร่ังเศส (ความคิดที่วาทหารมาหนักท่ีตองลงจากมาเปนกงุ ลอบสเตอรไ รก ําลงั ไดกลายเปน ตํานานไป)2526 แตกไ็ มส ามารถชชี้ ดั ได ท้ังนี้ที่ไดตีคาสําหรับการรบที่ แกสคอน (Gascon) เมื่อป 1324-25 (ปลายรัชสมัยของกษัตริยเ อด็ เวริ ดที่ 2) คือ 11.6 ปอนด สําหรบั การรบกบั สกอตแลนดเมื่อป 1311-15คือ 11.9 ปอนด (ราคาสูงสุดกอนป 1338) สําหรับการยกทัพไปฝรั่งเศสของกษัตริยเอ็ดเวิรดเมื่อป 1338-39 คาเฉลี่ยไดขึ้นสูงอยางมากถึง 16.4 ปอนดสาํ หรับการยกทัพไปบรท๊ิ ทานี่ (Brittany) เม่ือป 1342-43 เกือบเทากับ 14.3 ปอนดซ่ึงสภาพการดําเนินการน้ีไมไดชวยในชัยชนะของอังกฤษในชวงแรกของสงครามรอยป:ต้ังแตป 1359 เปนตนไป ราคาเฉล่ียของมาไดต่ําลงมากเหลือเพียงประมาณ 8-9ปอนด (Ayton, Knights and Warhorses, หนา 195) กษัตริยเอ็ดเวิรดเองไดแสดงเปน ตัวอยา งของการใชจายสูงในการซื้อมาโดยใชไปรวม 168 ปอนด สําหรับมาศึกเพยี งตัวเดียวเมอื่ ป 1337 เทากับรายไดม ากกวา 80 ป ของครอบครวั ชาวนาชาวไรที่มีฐานะ! (Prestwich, Armies,หนา 34) ราคาท่ีเพ่ิมขึ้นอาจแสดงถึงประสิทธิภาพที่เพม่ิ ข้ึน อยา งนอยก็ในแงท่ีดีกวาความตอ งการใชเพียงแคข่ีเทา นน้ั . 25 Knights and Warhorses, หนา 212. 26 E.g. A. H. Burne, The Agincourt War (London, 1956; reprint,Greenhill, 1991), หนา 38: \"ดวยการท่ีมีเกราะถวงนอยกวาทหารมาหนัก(men-at-arms) พลธนูจึงมีความคลองตัวกวา ดังนั้น จึงมีประสิทธิภาพกวาใน อาทติ ยดวงใหม: การปฏวิ ัติในกิจการทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

40พลงาว (Halberdiers) และ พลหอก (Pikemen) ของสวิสในยุคเดียวกัน แมวาจะมีเกราะบางก็มีประสิทธิภาพเทากันในบทบาทการรบเดียวกัน แมวาการพัฒนายุทโธปกรณของทหารมาหนัก (Men-at-arms) ของอังกฤษ หลังป 1327 (พ.ศ.1870)จะชวยปองกันการเสียเปรียบท่ีสําคัญเม่ือรบกับอัศวิน และผูรับใชอัศวินเพื่อฝกเปนอัศวิน (Esquires) ของฝร่ังเศสที่เครซ่ีและปวติเยร แตก็ไมไดใหผลดีตอชัยชนะของอังกฤษในการรบท่ีน่ัน เนื่องจากฝรั่งเศสก็ใชแผนเกราะดวยเชนกัน ตรงกันขามทหารมาหนักของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 2 มีขอไดเปรียบที่สําคัญของเกราะตอทหารสกอตทม่ี เี กราะดอยกวา แตส ่ิงนีก้ ็ไมไ ดช วยอะไรไดที่แบนนอคเบริ น มาศกึ (Charger)หนัก 15 ปอนด อาจมีผลตอความสงางามของการข่ีมากกวามาศึก 10 ปอนดแตผลในสนามรบมีความสําคัญนอยกวา โดยเฉพาะเน่ืองจากทหารมาหนัก(Men-at-arms) อังกฤษที่แทบจะอยูบนหลังมาตลอด ยกเวนเฉพาะเพ่ือการไลจับหลังจากชนะในสนามรบ สําหรับปนใหญผูบันทึกประวัติศาสตรที่บันทึกการใชปนใหญครั้งแรกเม่ือป 1327 (พ.ศ.1870) กลาวถึงปนใหญวาเปน \"สิ่งใหม (Novelties)\"ท่ีสรางความตื่นตะลึงอยางยิ่ง ซึ่งสวนใหญเน่ืองจากเสียงท่ีเกิด (ผูบันทึกประวัติศาสตรคนดังกลาว เรียกวา \"Crakys\" of war (เสียงคํารามแหงสงคราม)) ซึ่งเร่ืองราวท่ีผูบันทึกประวัติศาสตรคนดังกลาวบันทึก ไมไดแสดงถึงความสําคัญทางทหารแตอ ยางใด2627 ปนใหญของอังกฤษอาจสรางความตกใจตอทหารอิตาลีไมก่ีคนท่ีเครซี่และใชเปนประโยชนรวมกับเครื่องยิงธนูแบบเชิงกล (Springalds) และเครื่องยิงอาวุธแบบเหวี่ยง (Trebuchets) ในการโจมตี แตก็ไมไดมีผลตอการเปล่ียนแปลงการรบตัวตอตัว\" (การเนนเพิ่มเติม) เกราะมีราคาแพง และไมนาเช่ือวาทหารในยุคกลางจะยอมจายเงินมากเพื่อซื้อสิ่งท่ีจะลดประสิทธิภาพในการรบของตนเทียบกับขอคิดเห็นของ John Barbour: \"agane armyt men to ficth/Maynakit men haff litill mycht\" [น่ันคือ \"ทหารท่ีไมสวมเกราะมีความสามารถในการรบนอ ยกวาทหารทสี่ วมเกราะ \"] (Barbour, The Bruce, หนา 309). 27 The Bruce, ed. Duncan, หนา 402. โรเจอร

41แบบปฏิวัติตอสงครามการโจมตีจนกระท่ังป 1420 (พ.ศ.1963) ที่ตอมาไดมีบทบาทสําคญั ในสนามรบ2728 การเปลี่ยนแปลงในพัฒนาการดานวัตถุ (Material culture) ของสงครามระหวาง \"การปฏิวัติในกิจการทหาร\" ของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3 ยังไมเห็นแนชัดและการพัฒนาทางเทคโนโลยีท่ีสําคัญคือ คันธนูแบบยาว (Longbow) ท่ีไดใชมากอนแลวเปนเวลานาน แตไมมีผลตอการปฏิวัติในกิจการทหาร ดังน้ัน จึงสามารถกลาวไดวา การพัฒนาที่เย่ียมยอดในความสําเร็จทางทหารของอังกฤษ ต้ังแตป1330 (พ.ศ.1873) ถึง 1350 (พ.ศ.1893) ไมไดเกิดจากการขับเคล่ือนทางเทคโนโลยีแมวาการพฒั นาทางดา นเทคโนโลยจี ะเปนปจ จัยสาํ คญั ก็ตาม การจดั หนวยทหาร (Organization) กองทัพอังกฤษไดผานการเปล่ียนแปลงโครงสราง, การจัดหนวย,และการธุรการที่สําคัญในทศวรรษตาง ๆ ระหวางการรบท่ีแบนนอคเบิรนกับการเร่ิมสงครามรอยป กองทัพตาง ๆ ในชวงคร่ึงแรกของการครองราชยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2 ยังคงรักษาลักษณะของยุคศักดินาเปนบางสวน คือผนู ําทีน่ าํ กลุม ผูติดตามที่เปนทหารมา หนกั สวนใหญข องตนเขาสูส กอตแลนดเม่ือป1314 (พ.ศ.1857) โดยการกระทําการดังกลาวก็เพ่ือทําตามพันธะของตนในฐานะขุนนางศักดินาของกษัตริย และนาจะเปนการดําเนินการดวยการจายเงินของตนเอง2829 28 Revolutionary effect in 1420s-30s: Rogers, \"Military Revolutions ofthe Hundred Years' War\", หนา 64-5 Crécy: Burne, \"Cannons at Crécy\". 29 Morris, Bannockburn, หนา 24, เขียนถึงการรบเม่ือป 1314 วา\"เราไมมีบัญชีจายเงินของขุนนางของราชสํานัก เนื่องจากไมใชการรบเพื่อศักดินาอยางแทจริง\"ซึ่งอาจทําใหเขาใจผิด: Morris หมายถึง ความจริงท่ีวารัฐสภาไมเห็นดวยที่จะระดมกําลังสําหรับการรบนี้ แตทําใหการระดมกําลังเหลาน้ีท้ังหมด เปนการดําเนินการท่ี\"เปนศักดินาอยางแทจริง\" มากข้ึน ซึ่งก็คือ ขุนนางศักดินามีพันธะทางทหารที่ อาทิตยดวงใหม: การปฏวิ ัติในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

42อยางไรก็ตาม ทหารราบอังกฤษที่แบนนอคเบิรนไดถูกเกณฑเกือบจะท้ังหมดดวยการจายตอบแทน (Commissions of array) โดยท่ัวไปในแตละสองมณฑลจะมขี นุ นางสองนาย (โดยปกติจะเปนนายอําเภอกับเสมียน) ที่ไดรับแตงต้ังเพ่ือรวบรวมชายฉกรรจท่ีอยูในเกณฑของมณฑล, เพื่อตรวจสอบอาวุธและยุทธภัณฑของชายฉกรรจเหลานี้, และเพื่อคัดเลือกผูท่ีเหมาะสมท่ีสุดตามจํานวนท่ีกษัตริยกําหนดเพ่ือเปนทหารสําหรับการรบที่จะมีขึ้น จากน้ันมณฑลตาง ๆของชายฉกรรจเหลาน้ีก็จะจาย ยุทธภัณฑท่ีจําเปนที่ชายฉกรรจเหลาน้ีไมมีอยูใหแลวสงตัวไปยังจุดรวบรวมของราชสํานัก ซึ่งเมื่อไปถึงสถานท่ีดังกลาวชายฉกรรจเ หลา น้ีก็จะไดรบั การจา ยเงนิ ของราชสาํ นกั 2930 ระบบดังกลาวเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทศวรรษหลังการรบที่แบนนอคเบิรน การรบป 1322 (พ.ศ.1865) ผูรวบรวมกําลังทั้งหมดที่ถวายงานไดรับคาตอบแทนจากราชสาํ นกั 3031 การรบครง้ั แรกของเอด็ เวริ ดที่ 3 ในป 1327 (พ.ศ.1870)(ครั้งสุดทายกอน \"สันติภาพท่ีนาอาย (Shameful Peace)\" บอกถึงชัยชนะของโรเบิรต บรูซ (Robert Bruce) เมื่อป 1328 (พ.ศ.1871) ในสงครามเพ่ืออิสรภาพขุนนางศักดินานัน้ ครอบครองเพ่ือศักดินาของตนเอง (ดู Vita Edwardi Secundi, .50[\"Rex igitur debita seruitia ab omnibus exegit\"] และ Parliamentary Writs,vol.II/2. หนา 421-2 [\"toto servicio nobis debito ... in fide et homagio quibusnobis tenemini\"], หนา 423 [\"summoneri fac' ... qui de nobis tenent per serviciummilitare vel per serjancia ...\"]); หลักฐานเดียวกันยังกลาววา (หนา 53) เอิรลแหงโกลสเทอร(Gloucester) นาํ ทหารมา หนกั ของตนจาํ นวน 500 มา เขา สนามรบดว ยการจา ยเงินของตนเอง. 30 A. E. Prince, \"The Army and the Navy\", ใน The English Governmentat Work, 1327-1336 (New York 1940), หนา 355-64, อธิบายรายละเอียดของระบบ แตวันทยี่ อนไปในรชั สมัยของกษัตรยิ เอ็ดเวิรดท่ี 1 สาํ หรบั การดาํ เนนิ การในป 1314 ดู Rotuli Scotiae, vol.1, หนา 114, 120, 124, และโดยเฉพาะหนา 130. 31 Prestwich, Armies, หนา 98. โรเจอร

43(War of Independence) ของสกอตครั้งแรก) ยังเปนครั้งสุดทายในรัชสมัยของพระองคทไี่ ดท รงระดมกําลังแบบศักดินาอยางเปนทางการ นอกจากน้ี อาจดูไมนาเปนไปไดท่ีชายใดที่ตอบรับการระดมกําลังที่ปฏิบัติหนาท่ีตามปกติ 40 วัน โดยไมไดรับการจายเงนิ ซึง่ จากบันทึกการจายเงนิ ตอรายสาํ หรบั ผูเขา รับการระดมกําลัง แสดงวายังคงไดรับการจายตอบแทนคนของตนตั้งแตวันท่ีมารายงานตัวท่ียอรก (York)3132โดย เอ. อี. พร๊ิมซ (A. E. Prince) ไดใหความเห็นวา \"ถามีการเรียกเขาประจําการของระบบศักดินาเมื่อป 1327 (พ.ศ.1870) ก็เปนการเรียกของระบบศักดินาที่ใกลจะหมดไปแลว\"3233 จากกองทัพที่ตั้งขึ้นตั้งแตป 1334 (พ.ศ.1877) เปนตนมา(หรืออาจตง้ั แตป 1333 (พ.ศ.1876)) กาํ ลังท้ังหมดของกองทัพของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3ประกอบดวยชายทไี่ ดร บั เงนิ คาจา งจากกษัตรยิ 3334 ในการทําการรบในฐานะผูบังคับบัญชาของกองทัพหน่ึง ๆ ของทหารSoldiers เปนคําที่มาจากฝร่ังเศสเดิม สําหรับจายคาตอบแทนซ่ึงนับวามีความชัดเจนยิ่งกองทัพแบบศักดินาจะรุกรบนอยกวาและไมมีวินัยกวาที่คาดหวังโดยท่ัวไปบรรดาผูควบคุมทัพสามารถควบคุมนายกองตาง ๆ และทหารท่ีรับจายเงินใหมีวินัยในมาตรฐานที่สูง3435 โดยเฉพาะอยางย่ิงบรรดาทหารท่ีไดรับการจายเงิน 32 เรือ่ งเดยี วกนั , หนา 344-6. 33 เรอ่ื งเดยี วกัน, หนา 346. 34 ไมม ีบนั ทกึ การจายเงนิ ของป 1333 แตหนังสือ wardrobe ของ Ferribyแสดงวาต้ังแตป 1334 แมแตเอิรลก็ไดรับการจายเงิน BL. Cottonian MSS,Nero C VIII, fo.233. 35 Cf. C. T. Allmand, \"The War and Non-combatant\", ในKenneth Fowler, ed., The Hundred Years' War (London, 1971), หนา177, 180; Kenneth Fowler, The King's Lieutenant: Henry of Grosmont,First Duke of Lancaster, 1310-1361 (London, 1969), หนา 168-71; H. J.Hewitt, The Organization of War under Edward III (Manchester, 1966), หนา 105. อาทิตยด วงใหม: การปฏิวตั ิในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ขององั กฤษ

44อยางเพียงพอกับการใชจายที่เกิดในการรบที่อยูใตการกดดันนอยกวากําลังทหารแบบศักดินาเล็กนอยที่จะจับตัวเชลยเพื่อเปนคาไถ ส่ิงน้ีทําใหงายขึ้นในการส่ังใหทหารเหลานี้ยังอยูในรูปขบวนชิดกัน (Close-order formation) โดยไมแตกแถวจนกระทั่งสามารถเอาชนะขาศึกไดอยางสมบูรณและเด็ดขาด (การปฏิบัติที่ลดโอกาสท่ีทหารแตละนายจะ ถูกจับตัวเปนเชลย แตเปนหน่ึงในหลายปจจัยสําคัญตอการประสพชัยชนะในการรบของอังกฤษ)3536 นอกจากน้ี การจายเงินจํานวนมาก(มากอยางย่ิงในบางครั้ง) ท่ีราชวงศแพลนทาเจเน็ท (Plantagenet) เสนอสงเสริมตอการเขาประจําการเปนทหารโดยสมัครใจ ซ่ึงมีขอดีอยางยิ่งสําหรับพลังอํานาจในการรบของ กองทัพอังกฤษ เม่ือการเสนอผลตอบแทนมูลคาสูงในการรบกับฝรั่งเศสเริ่มเปนท่ีเชื่อม่ัน (โดยทั่วไปจาย ลวงหนาสามเดือนหรอื ครึ่งป) การเขารวมกับกษัตริยเอ็ดเวิรดในการยกทัพไปรบไดกลายเปนท่ีดึงดูดความสนใจอยางยิง่ ทาํ ใหท หารหลายคนสมัครทาํ การรบครง้ั แลวครั้งเลา 3637 36 On the importance of keeping a steady, close-orderformation, ดู Rpgers, \"The Offensive/Defensive in Medieval Strategy\",ใน From Crécy to Mohásc: Warfare in the late Middle Ages (1346-1526), Acta of the XXII Colloquium of the International Commissionof Military History (Vienna, 1997), หนา 158-60; note also Rogers,\"Military Revolutions\", หนา 63, and BN MS Fr. 693, fos. 262v-263. 37 สําหรับตัวอยาง ดู the remarkable career of Sir John Suly, K.G.,ใน Sir N. H. Nicolas, ed., The Controversy between Sir RichardScrope and Sir Robert Grosvenor in the Court of Chivalry (London,1832), vol.2, หนา 240-1; รวมทั้ง Matthew Bennett, \"The Developmentof Battle Tactics in the Hundred Years' War\", ใน Anne Curry andMichael Hughes, eds., Arms, Armies and Fortifications in the HundredYears' War (Woodbridge, 1994), หนา 2. โรเจอร

45 ภาพที่ดีท่ีสุดในการพัฒนานี้ อาจเปนเชนที่กลุมทหารมาหนักตางชาติจํานวนมากท่ีเขารวมในการรบ ของกองทัพอังกฤษตอฝร่ังเศสในป 1359 (พ.ศ.1902)โดย: อัศวินตาง ๆ และผูรับใชท่ีฝกเพ่ือเปนอัศวิน (Esquires) ไดเตรียมตัวเองดวยมา, เกราะ, และ ยุทโธปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และไปยังคาเลส (Calais)เพอื่ คอยการมาถึงของกษัตริยแ หง อังกฤษ ซ่ึงแตละคนคิดวาจะไดรับเงินจํานวนมากในการเขา รว ม (กับกษัตรยิ ) ท่ีจะไมทรงขาดแคลนพระราชทรัพย ... แมวากษัตริยเอ็ดเวิรดจะยังไมไดทรงจายเงิน แมแตหนึ่งควอเตอร (Quarter), ไมแมแตหน่ึงในหา3738 ทหารทั่วไปกเ็ ชนกัน มโี อกาสสําคัญท่จี ะสรา งความรา่ํ รวยใหแ กตนเองดว ยการรวบรวมของทป่ี ลน สะดมจากการปลนโจมตี (Chevauchée - เชวชู ี) โดยผูท่ีเขา รวมทพั กับเจาชายแบลค (Black) ในการรบของพระองคเ ม่อื ป 1355 (พ.ศ.1898)ตอ คารค ซั ซอนน (Carcassonne) ที่พบของมีคามากมาย ทบ่ี รรดาทหาร “ไมส นใจถวยหรือเหรยี ญเงิน...เฉพาะเหรียญโลหะผสมท่ีมที องผสมมาก ๆ” และ อัญมณสี ูงคา3839ซึ่งส่ิงน้ีกระตุนการเขาเปนทหารของพลธนูที่มีศักยภาพเพื่อพัฒนาความเช่ียวชาญใหถึงความสามารถสูงสุดที่เปนไปได เพ่ือใหไดรับเลือกเขาเปนทหารท่ีจะสามารถไดร บั การจา ยเงนิ ซ่ึงการเขา เปน ทหารไมไดเ ปนภาระท่ียากลําบากอีกตอไป และกลายเปนโอกาสทพี่ ึงปรารถนา3940 การเปล่ยี นแปลงนแ้ี ละความตองการดานการเมืองและการบริหารจัดการในการสนับสนุนการสงครามในหลาย ๆ แนวรบ (สกอตแลนด, แกสคอนี (Gascony), 38 Jean le Bel, Chronique, vol.2, หนา 290-1. 39 Profits: Jean le Bel, Chronique, หนา 222; และดู หนา 221รวมท้ังดูความเห็นของ Walsingham ท่ีอางใน Hewitt, Organization of War,หนา 108. 40 ดู Ayton, \"English Army\", หนา 27. อาทติ ยด วงใหม: การปฏิวตั ิในกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 ของอังกฤษ

46พิคคารดี้ (Picardy), บร๊ิททานี, นอรมังดี, และที่อื่น ๆ) เปนเวลาหลายปไดเปล่ียนแปลงระบบการเกณฑเปนอยางมากโดยคณะผูปกครองของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3ท่ีไดเลี้ยงดูกองทหารของตน เปรียบเทียบกับกองทัพท่ีปราชัยมากที่สุดในรัชสมัยของกษตั รยิ เ อ็ดเวิรดท่ี 2 กับชัยชนะที่สําคัญท่ีสุดในรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3(การรบท่ีปวติเยร เม่ือป 1356 (พ.ศ.1899)) เปนการแสดงใหเห็นถึงการพัฒนาท่ีดีท่ีสุดตามที่ไดกลาวไปแลว สวนใหญของกองทัพของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2ท่ีแบนนอคเบิรน เปนทหารราบท่ีไดรับการจายคาตอบแทน (Commissions of array)พรอมกับทหารมาหนักที่มีสัดสวนคอนขางนอย คือ ประมาณรอยละ 15 ของกองทัพที่ไดจากกลุมที่อยูในการรวบรวมของเอิรลและผูนําอื่น ๆ ของมณฑล ซ่ึงหลายคนไดใชจ า ยดวยเงนิ ของตนเองในการตอบสนองการระดมกาํ ลงั แบบศกั ดินาของกษัตริยทหารราบและทหารมาหนัก (Men-at-arms) ที่ไดรับการจายเงินจากราชสํานักทําใหเกิดสวนประกอบสําคัญสวนท่ีสาม ในทางตรงกันขามกองทัพของเจาชายแบลค (Black) ท่ีปวติเยร ประกอบดวยทหารราบจริง ๆ เพียงเล็กนอย โดยกวาครึ่งของทหารของพระองคเปนทหารมาหนัก และทหารที่เหลือสวนใหญเปนพลธนูข่ีมาที่ทําการรบแบบทหารราบ แตขี่มาเขาสนามรบ4041 ซ่ึงความจริงแลวจะไมคอยมีที่ 41กองทัพที่รบท่ีปวติเยร ประกอบดวยทหารประมาณ 6,000 นาย เปนทหารมาหนัก 3,000 นาย, พลธนูอังกฤษ 2,000 นาย, และ \"ทหารประเภท(Serjaunts – ซารจ เจนิ ท)\" 1,000 นาย ซ่ึงอาจเปน หรือไมเปน พลเดนิ เทา อยางแทจ ริง (จดหมายของบารโธโลมิว เบอรเกิรช (Bartholomew Burghersh)ถึงจอหน บูชอมพ (John Beauchamp) ใน Froissart, Oeuvres, vol.18, หนา 387)ซึ่งแหลงขอ มลู นี้ไมไ ดร ะบุวาพลธนอู งั กฤษน้ันขี่มา แตส ามารถสนั นษิ ฐานใหใ กลเ คยี งไดว า ทหารประเภท Sergeants (ซารจ เจนิ ท) นาจะไมม ีมา เพราะถกู เลือกจากกลมุ ใหญ ๆ ใหเ ขา รวมการโจมตปี ลน สะดม (Chevauchée- ชีวูชี) ขณะทกี่ าํ ลงั อนื่ ๆยังคงอยขู างหลังเพอ่ื การ ปองกนั ของกีเยนน Guienne (Galfridi le Baker deSwynebroke [Geoffrey le Baker], Chronicon, ed. E. M. Thompson โรเจอร

47ทหารเดินเทาจะชวยเพ่ิมความคลองแคลวในการเคล่ือนที่ของกองทัพไดอยางมากทาํ ใหเปนไปไดท กี่ าํ ลังสวนใหญจ ะกระจายไปทว่ั ชนบท เพ่ือปลนสะดมและเผาทําลายขณะทยี่ งั คงรกุ ไปขา งหนา อยางตอเนือ่ ง ทหารทั่วไปสวนใหญเปน อาสาสมคั รท่ีถกู เกณฑเขา มาเปนบริวารของเจา ชายเองหรือของหนงึ่ ในอศั วนิ ทร่ี ับใชพ ระองค4142เจาชาย, เอิรลตาง ๆ และนายกอง (Captain) อังกฤษอื่น ๆ ในกองทัพไมไดตอบรับการระดมกําลังแบบศักดินาในการเขาเปนทหาร แตรับใชราชวงศตามพันธะสัญญาท่ีเปนทางการที่เขียนไวในรูปของ \"หนังสือสัญญา (Letters of indenture)\" ซึ่งระบุถึงระดับของเหตุการณฉุกเฉิน, อัตราการจายเงิน และคาตอบแทนอื่น ๆ, ระยะเวลาการเปนทหาร, และอื่น ๆ บันดาลอรด ของ แกสคอน (Gascon) ท่ีนําการปฏิบัติการฉุกเฉนิ ของตนสกู องทัพกด็ ูเหมือนวา จะปฏบิ ัติในลักษณะเดยี วกนั 4243 นักประวัติศาสตรบางคนไดเห็นวาการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการและโครงสรางเหลา นเ้ี ปนแกนสําคัญของ \"การปฏิวัติการทหารของกษัตริยเอ็ดเวิรด\"นอกจากนีต้ ัวอยา งตาง ๆ ขางตนกค็ อ นขา งทจี่ ะกลา วถึงขอบเขตของการเปล่ียนแปลงท่ีเกินจริง กองทหารท่ีจัดต้ังจากรายชื่อที่รวบรวม (Arrayed troop) มีบทบาทในชัยชนะตาง ๆ ของรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3 รวมท้ังการรบท่ีฮาลิดั้นฮิลลและเครซี่ - คาเลส (Calais) มากกวาที่เปนเมื่อป 1356 (พ.ศ.1899) แอนดรู เอตัน(Andrew Ayton) ไดใหความเห็นวา ระบบพันธะสัญญาระหวางผูบังคับกองกําลัง[Oxford, 1889], หนา 140, 143; Corpus Christi, Oxford, MS 78, ff.179=179v. 42ดวยขอยกเวนท่ีวาพลธนูบางนายไดรับการเลี้ยงดูจากคาตอบแทนในการขึ้นทะเบียน (Commissions of array) ในตําแหนงเอิรลแหงเชสเตอร(Chesters) หรือเวลส (Wales) ของเจาชาย. 43 Hewitt, Black Prince's Expedition, หนา 16-21, 92; Barber,Edward, Prince of Wales, หนา 113-15 (English troops); M. G. A. Vale,\"The War in Aquitaine\", ใน Curry and Hughes, es., The Hundred Years'War, หนา 81-2 (Gascon). อาทิตยด วงใหม: การปฏิวัตใิ นกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ขององั กฤษ

48ที่รวบรวม (Retinue captains) กับกษัตริยเปน \"วิธีการท่ีไดรับการวางแผนมาเพื่อเสริมชองวางในการบริหารจัดการที่เกิดข้ึนเม่ือ...ไมมีเจาหนาท่ีเสมียน (Clericalstaff) ของราชสํานักท่ีจะกํากับดูแลการจายเงินคาจาง และดําเนินการในเรื่องท่ีเก่ียวของ เชน การตีราคามา\" เม่ือตัวกษัตริยเองนําทัพสูสนามรบ ซ่ึงโดยท่ัวไปกองทัพไมไดใชระบบนี้4344 ดังตัวอยางในการรบเมื่อป 1359-60 (พ.ศ.1902-03)ซึ่งยุติลงดวยสันติภาพแหงเบรตีญี (Peace of Brétigny) และแมวาพัฒนาการเหลานี้และชัยชนะอันยอดเยี่ยมของกองทัพของเจาชายในสนามรบ อาจเกี่ยวของกันแตความสัมพันธตาง ๆ ก็ยังคงเปนไปอยางราบเรียบ สุดทายการปฏิวัติในกิจการทหารของกษัตริยเอ็ดเวิรด จะไมสามารถเปนท่ีเขาใจได ถาไมไดอธิบายถึงชัยชนะในการรบของกองทพั อังกฤษ ซ่ึงจะตองมีการตรวจสอบการเปล่ียนแปลงหลักนิยมการรบของอังกฤษ ภายหลงั การรบทแี่ บนนอ คเบิรน ยทุ ธวิธี รูปแบบของยุทธวิธีท่ีใชในการรบสองคร้ังแรกของรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ดั้บพล่ินมัวร และฮาลิด้ันฮิลล (ที่กษัตริยเอ็ดเวิรดบัญชาการรบดวยพระองคเอง) แสดงถึงชัยชนะอยางยอดเยี่ยม ซึ่งหลังจากน้ันจนถึงกลางศตวรรษที่ 15 อังกฤษแทบจะทําการรบดวยยุทธวิธีเดียวกันท่ีอาจเรียกวา\"ยุทธวิธีที่ดั้บพลิ่น (Dupplin tactics)\" โดยรูปขบวนตรงกลางเปนทหารมาหนักลงรบเดินเทาที่มีระยะเคียงชิดกัน (Close-ordered dismounted men-at-arms)โดยใชหอก (Lance) คลายทวน (Pike) ปกท้ังสองเปน พลธนูเฉียงลํ้าไปขางหนาเพ่ือยิงใสดานหนาและปกของกําลังใด ๆ ที่โจมตีตอทหารมาหนัก4445 ระบบยุทธวิธีนี้ 44 Ayton, \"English Armies\", หนา 25. 45 หลักฐานสําหรับรูปขบวนนี้คอนขางคลุมเครือ และสําหรับบางการรบสามารถสนับสนุนคําอธิบายลําดับตาง ๆ ของ A. H. Burne ของรูปขบวนดังกลาวท่ีใชมากกวาหน่ึงคร้ัง แตก็มีหลักฐานท่ีวารูปขบวนปกติ เปนรูปขบวนท่ีสวนหลัก โรเจอร

49แมจะไมไดรับการพัฒนาอยางเต็มท่ี จนกระท่ังป 1330 (พ.ศ.1873) ไดเริ่มฝงรากในรชั สมัยของกษตั ริยเอ็ดเวิรดท่ี 2 ส่ิงนี้เปนสวนหนึ่งของการปฏิวัติทหารราบกวาง ๆของตนศตวรรษท่ี 14 ที่จุดประกาย โดยชัยชนะของพลเดินเทาชาวเฟลมมิช(Flemish) ท่ีคอรทเทร (Courtrai) ท่ีเปนแบบอยางใหทหารสกอตลงรบเดินเทาและไดร ับชัยชนะตอ กองทัพราชวงศอ ังกฤษท่ีแบนนอคเบิรน4546 ซ่ึงชัยชนะที่หมดจดดังกลาวไดเปล่ียนแนวความคิดในการทําสงครามของอังกฤษ โดยตอนปลายรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2 ไดเปนท่ียอมรับอยางกวางขวางวา แมแตบรรดาอัศวินก็ควรท่ีจะลงรบเดินเทา \"ซึ่งตรงกันขามกับแนวทางในรุนพอ ๆ ของตน\"4647 ซึ่งรักษาอยูกลางที่มีสองปกเทานั้น ดูการบรรยายการรบ ท่ีด้ับพล่ินมัวร, ฮาลิด้ันฮิลล, เครซี่,และปวติเยร ใน Rogers, War Cruel and Sharp, หรือสําหรับภาพรวมท่ีดีในBennett, \"Development of Battle Tactics\", หนา 1-20. 46 Infantry Revolution: Rogers, \"Military Revolutions of thehundred Years' War\", หนา 58-64 Scots following Flemish example:Scalacronica, หนา 142 มอรริส (Morris) กลาววาผูบันทึกประวัติศาสตร\"ผดิ อยางย่งิ เปน ทีช่ ัดเจนวา บรซู (Bruce) รูเก่ียวกับคอรทเทร (Courtrai) แตการรบท่ีฟอลเค๊ิรค (Falkirk) ก็ไดเกิดข้ึนกอนหนาน้ันมาแลวสี่ป และถาพระองคจะลอกแบบใคร พระองคก็คงลอกแบบวอลเลซ (Wallace) ซ่ึงตามความจริงแลวพระองคไมจําเปนตองเรียนรู แมแตจากวอลเลซ...ทวนไมยาวที่มีปลายเปนเหล็ก ไดถูกใชโดยพลเดินเทามาในทุกยุค อาวุธนี้เปนอาวุธตามปกติ สําหรับทหารเลวและไมไดรับการฝกตอทหารมาอาชีพ\" มอรริสพลาดประเด็นที่วา อาจเปนจริงท่ีบรูซไมจําเปนตองใชตัวอยางของเฟลมมิ่งส (Flemings) เกี่ยวกับวิธีท่ีจะรบ แตอาจตองการแรงบันดาลใจจากชัยชนะนี้ เพื่อสรางความม่ันใจท่ีจะรบ ท้ังน้ี ฟอลเคิ๊รค เปนชัยชนะที่หมดจดสําหรับสกอต และอาจไมดลใจตอการลอกแบบเชนเดียวกับที่ไมไดเปนตวั อยางทีค่ อรทเทร. 47 Geoffrey le Barker, Chronicon, หนา 51. อาทติ ยด วงใหม: การปฏิวตั ใิ นกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

50อาํ นาจการทําลายขวัญดวยการรบบนหลังมา สําหรับการไลติดตามหลังการรบ และ\"ถา ทาํ ได\" เพ่ือเกยี รติประวตั ิ สาํ หรับเหลา อัศวนิ 4748 อยางไรก็ตาม นอกจากสวนระวังปองกันชายแดน และ \"การรบ\" เล็ก ๆท่ีบอเรอ บรดิ จ ในป 1322 (พ.ศ.1865)4849 ยุทธวิธีท่ีไดรับการบูรณาการที่เกิดข้ึนน้ีไมไดรับการทดสอบ จนรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 โดยในป 1332 (พ.ศ.1875)กลุมขุนนางอังกฤษท่ีชอบเผชิญภัยที่อางสิทธิ์ตอสกอตแลนด (โดยการสนับสนุนลับ ๆ ของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3) ไดบุกรุกดินแดนทางตอนเหนือ และไดรับชัยชนะของหนึง่ ในการรบทีน่ า ต่นื ใจทีส่ ดุ ท่ดี บ้ั พลิน่ มวั ร ทหารอังกฤษ 1,500 นาย (ทหารมาหนัก 500 และพลธนู 1,000) ใชรูปขบวนที่กลาวขางตน เอาชนะกําลังขาศึกที่มากกวาตนกวาสิบเทา4950 แมจะมีผูบันทึกประวัติศาสตรทางตอนเหนือในสมัยนั้น 48 Knights fighting on foot: Jean le Bel, Chronique, vol.1, หนา 65(รวมท้ังหนา 53) กลาวถึง รูปขบวนของอังกฤษสําหรับการรบเม่ือป 1327 (พ.ศ.1870)มีทหารราบ 3 \"ทัพ\" หรือกองขนาดใหญ (รวมท้ังทหารมาหนักสวนใหญที่ลงเดินเทาและถอดสเปอรออก) กระหนาบดวยปกที่เล็กกวาของทหารมาหนักท่ียังคงขี่อยูบนมา500 นาย แทนท่ีจะเปนพลธนู สําหรับการบเดินเทา แตยังคงอยูบนหลังมาเพ่ือเปนเกียรติประวัติของเหลาอัศวินเมื่อ \"ทําได\", ดูเรื่องเลาของ William Marmionใน Schalacronica, หนา 145-6. 49 ดู T. F. Tout, \"The Tactics of the Battles of Boroughbridgeand Morlaix\", ใน Collected Papers of Thomas Frederick Tout(Manchester, 1932-34), vol.2. 50 English numbers: Gesta Edwardi d Carnarvan AuctoreCanonico Bridlingtonensi, ใน W. Stubbs, ed., Chronicles of the Reignsof Edward I and Edward II, vol.II (London, 1883), หนา 102-03;Scalarcronica, หนา 159; Liber Pluscardensis [Historians of Scotland,vol. VII], ed. Felix J. H. Skene (Edinburgh, 1877), หนา 198; Chronicon โรเจอร

51ผูหน่ึงกลาววา การที่สกอตพายแพ \"สวนใหญเกิดจากพลธนูอังกฤษ\"5051 ก็ไมไดตัดสินไปทางใดทางหนึ่งตอทหารมาหนักที่สามารถตานทานการโจมตีที่ทรงพลังครั้งแรกของพลหอกของสกอต และตรึงไวจนกระทั่งทหารสกอตพบวา ตนเองถูกโจมตีดว ยลูกธนูจากปกทั้งสอง ถูกหอกพุงเสียบจากทางดานหนา และถูกดันขึ้นไปขางหนาอยางไมปรานีจากฝายเดียวกันที่อยูขางหลัง ผลทําใหเกิดสถานการณแบบเดียวกับท่คี านาเอ (Cannae) ซ่ึงทหารที่ถูกบดขยี้ท่ีตรงกลางของทหารจํานวนมากที่ถูกอัดจนไมสามารถหายใจได ทําใหเหลือกําลังนอยท่ีจะตอสู เชนเดียวกับในคร้ังตอมาที่เครซ่ี และอาแซ็งกูร (Agincourt) ซ่ึงมีหลายคนที่เสียชีวิตเน่ืองจากหายใจไมออกde Lanercost, หนา 267; Wyntoun, Orygynale Cronykil, vol.2, หนา 383;Burton, Chronica Monasterii de melsa, vol.2, หนา 362; รวมทั้ง Rogers,War Cruel and Sharp บันทึกประวัติศาสตรเกือบทั้งหมดไมวาอังกฤษหรือสกอตบอกขนาดของกองทัพสกอตอยูท่ี 40,000 หรือ 30,000 ไมมีบันทึกการจายเงินยืนยันเรื่องน้ี แตท่ีถายทอดตอ ๆ กันมาของรายช่ือผูติดตามสําหรับกองทัพท่ีฮาลิด้ันฮิลลแสดงวามีกําลังประมาณ 15,000 นาย และสิ่งน้ีก็นาจะถูกตอง สําหรับการรบท่ีดั้บพล่ินมัวร เชนเดียวกัน H. C. Hamilton, ed., Chronicon Domini Walteride Hemingburgh (London, 1849), vol.2, หนา 308-09. สกอตพายแพที่ดั้บพล่ินมัวร อาจมีประมาณ 3,000: John of Fordun, Chrinica GentisScotorum, หนา 355; Liber Pluscardensis, หนา 266; สวนขอมูลของอังกฤษใหภาพไดดีกวา การสูญเสียของอังกฤษ ไดรับรายงานเพียงทหารมาหนัก 35 นายไมมีพลธนู (Hemingburgh, vol.2, หนา 304) เอิรลแหง March เอิรลคนท่ีหาของหา คน (นบั รวมลอรด Robert Bruce เปน เอิรลดว ย) ถูกจบั เปน เชลย. 51 Lancercost, หนา 268 [\"maxime per saggitarios Anglicorum\"]นี่เปนขอดีของการใช \"maxime\" ซึ่งสามารถใชวลีนี้วา \"พายแพอยางราบคาบดว ยพลธนขู องอังกฤษ (crushingly [maxime] defeated by the English archers)\". อาทิตยดวงใหม: การปฏวิ ตั ใิ นกจิ การทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

52มากกวา ไดรบั บาดเจบ็ 5152 ทง้ั น้ี พลธนขู ององั กฤษอาจไมสามารถชนะได ถา ไมมีทหารมาหนัก (Men-at-arms)5253 หรือทหารมาหนัก ก็อาจไมส ามารถชนะไดเชน กันถาไมมีพลธนู แมวาการผสมกําลังทั้งสองกลุมน้ีจะไมสามารถเอาชนะไดตอขาศึกทีเ่ หนอื กวา อยางมากท่สี ูรบดวยยทุ ธวิธที ่ีรุนพอของตน ไดใ ชท่ีแบนนอ คเบิรน5354 ด้ัพพล่ินมัวร เกือบเปนยุทธศาสตรที่ช้ีขาดเทากับทางยุทธวิธี สําหรับเอ็ดเวิรด บาลลิโอล (Edward Balliol) ท่ีไดปฏิบัติตอมาดวยการยึดเพ๊ิรธ (Perth)เมอื งหลวงของสกอต ทําใหไ ดครองราชยเ ปนกษัตรยิ ของ สกอตที่สโคน (Scone) และรับการสวามิภักดิ์จากเกือบทั้งอาณาจักร ปตอมากองทัพอังกฤษที่ใหญข้ึนภายใตการบัญชาการของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 เอง ไดใชยุทธวิธีใหมเพื่อสรางความเขมแข็งของกษัตริยอังกฤษ ดวยการทําลายกองทัพสกอตอีกกองทัพหน่ึง ซ่ึงครั้งนี้ใหญเกือบเปนสองเทาของกําลังอังกฤษ คือ ท่ีฮาลิดั้นฮิลล5455 ซึ่งหลังจากน้ีอังกฤษ 52 สําหรับการรบและการยุทธที่นําไปสูเหตุการณดังกลาว ดู Rogers, WarCruel and Sharp; สําหรับเหตุการณที่หายใจไมออก (suffocation phenomenon),อา งแลว, \"Offensive/Defensive\", หนา 160. 53แบนนอ คเบิรนที่ซง่ึ ทหารมาสกอ ตเขา โจมตีพลธนอู งั กฤษและเขนฆาอยางไมปรานี (Barbour, The Bruce, หนา 308) แสดงใหเห็นอยางชัดเจนถึงอันตรายของพลธนูท่ีไมไ ดร บั การสนบั สนุนจากทหารมา หนกั . 54 หรือบางกรณี - Henry Beaumont เปน ตวั อยา ง - ดวยตัวเอง (they themselves). 55 Lanercost, หนา 274 การประมาณอื่น ๆ สูงกวา 5:1 ตาม F. W. Brie,ed., The Brut or the Chronicle of England (Early English Text Soc.,Orig. Ser., 131, 136 [1906-08] หนา 85, 288; 3:1 ตาม ChronicaMonasterii de Melsa, vol.2, หนา 370) ขาหลวงสกอตคนใหม และเอิรลอีกสี่คนเสียชีวิตในการรบคร้ังนี้ พรอมกับเพ่ือนรวมชาติใหมเปนพัน ๆ คนระหวางการรบทั้งสองน้ี บาลลิโอล (Balliol) ถูกโจมตีโดยไมคาดคิดในระหวางการสงบศกึ และถูกขบั ออกจากสกอตแลนด จากน้ันก็ไดรับการสนับสนุนอยางลับ ๆ โรเจอร

53ก็ไดยึดติดกับระบบยุทธวิธีนี้มากกวาหน่ึงศตวรรษ และทําใหอังกฤษไดชัยชนะท่ีเครซี่, ปวติเยร, เวอรนูอิล (Verneuil), และอาแซ็งกูร (Agincourt) ในบรรดาสงครามตาง ๆ ยทุ ธศาสตร ความสามารถอันยอดเย่ียมในสนามรบท่ีคนพบใหมของอังกฤษดูเหมือนจะบอกวาการปฏิวัติในกิจการทหารของอังกฤษในศตวรรษท่ี 14 คือ ยุทธวิธีท่ีสําคัญหรืออยางนอยก็เปนการเปลี่ยนแปลงยุทธวิธีของรัชสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3ที่แสดงใหเห็นถึงศักยภาพของพลังอํานาจทางเทคโนโลยีของธนูคันยาว และทําใหเปนการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติมากกวาเพียงแคใชประโยชน อยางไรก็ตาม อาจเปนการยากที่จะสนับสนุนสมมุติฐานนี้ แมวายุทธวิธีที่ด้ัพพล่ิน (Dupplin tactic)จะประสบความสําเร็จในการเอาชนะกองทัพขาศึกในสนามรบคร้ังแลวครั้งเลาแตก็ใหโอกาสนอยมากที่จะเอาชนะตอกองทัพอัศวินที่เขมแข็งท่ีมีความสุขุมจากการโจมตีตลอดแนวตราบเทาท่ียังสามารถรักษาการต้ังรับทางยุทธวิธีไวได อังกฤษก็สามารถคาดหวังท่ีจะไดรับชัยชนะเด็ดขาด แตก็ตองขึ้นอยูกับยุทธศาสตรที่จะใหโอกาสแกพลธนู และทหารมา หนกั ท่จี ะตา นทาน และเอาชนะการโจมตีของฝายตรงกันขาม ในยุคที่แนวความคิดของยุทธศาสตรทั่วไปเสนอวา ควรหลีกเล่ียงการเปดการรบเมื่อสามารถทําได5556 เม่ือแมทัพนายกองตาง ๆ มีความตั้งใจท่ีจะรบจากกษัตริยเอ็ดเวิรดท่ี 3 หลังจากกษัตริยเอ็ดเวิรดทั้งสอง โจมตีแบรวิค (Berwick)เพื่อดึงผูสนับสนุนของบรูซ (Bruce) เขาสูสงคราม ซึ่งเปนยุทธศาสตรหนึ่งที่ประสบผลสําเร็จ สําหรบั รายละเอียดเพิ่มเติม ของสงครามและการยุทธท้ังสอง ดูRogers, War and Cruel Sharp. 56 John Gillingham, \"Richard I and the Science of War in theMiddle Ages\", ใน Gillingham and J. C. Holt, eds., War and Government อาทติ ยด วงใหม: การปฏิวัติในกิจการทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

54ซึ่งโดยปกติจะเปนการเหมาะสมกวาท่ีจะยังคงต้ังรับทางยุทธวิธี และเม่ือ (เชนในศตวรรษที่ 16 และ 17) ปอมปราการมีความเหนือกวา อยางยิ่งตอ การบุกโจมตีก็ยง่ิ เพมิ่ ความเขม แขง็ ของยทุ ธศาสตรการต้ังรับมากขึ้น5657 ดังนั้น การที่จะใหขาศึกโจมตีก็จะทําไดคอนขางยาก ซึ่งตัวกษัตริยเอ็ดเวิรดเอง ไดพบส่ิงนี้ในสกอตแลนดในป 1334-37 (พ.ศ.1877-80) และในฝร่ังเศส ในป 1338-45 (พ.ศ.1881-88),1347-55 (พ.ศ.1890-98), 1359-60 (พ.ศ.1902-03) และอีกครั้งหลงั ป 1369 (พ.ศ.1912) กษัตริยเอ็ดเวิรดและท่ีปรึกษาของพระองคไดใชวิธีการหลัก ๆ สองวิธีเพื่อแกปญหาความยากที่มีในการพยายามผสมผสานยุทธศาสตรการรุกเขากับระบบยุทธวิธี/เทคโนโลยีท่ีจะกําหนดลักษณะของการตั้งรับในสนามรบ5758 วิธีแรกใชท่ีแบรวิค (Berwick) ในป 1333 (พ.ศ.1876), คอมเบร (Cambrai) ในป 1339(พ.ศ.1882), ทวั รเ น (Tournai) ในป 1340 (พ.ศ.1883), และคาเลส (Calais) ในป1346-47 (พ.ศ.1889-90) คือ โจมตีเมืองสําคัญเมืองหนึ่งของขาศึก จนฝายตั้งรับมีทาทีท่ีจะยอมแพโดยท่ีกองทัพของฝายตรงกันขามตองเขาตอสู ถาผูนําไมตองการin the Middle Ages (Woodbridge, 1984); Prestwich, Armies, หนา 11(\"ความเชื่อใหมคือผูบัญชาการทัพในยุคกลาง คือ พยายามหลีกเลี่ยงสงครามเทาที่สามารถทําได \"); Vegetius (Flavius Vegetius Renatus), the EarliestEnglish Translation of Vegetius' De Re Militari, ed. Geoffrey Lester(Heidelbuerg, 1988), หนา 126 (\"ffor gode lederes and wisecheuenteynes ne fightith noght bletheliche with open bataille and inopen fleed yif there be open drede of perel\"); หนา 158 (\"gode dukes ne fighteth neuere opounlyche in fleed butthei ben idryue therto by sodeyn hap or grete nede\"; รวมทั้งดู BN, MsFr. 693, fo. 155. 57 Rogers, \"Military Revolutions\", หนา 64, 74. 58 Rogers, \"Offensive/Defensive\", กลา วประเด็นนี้ในบรบิ ทกวางๆ. โรเจอร

55ที่จะเห็นเมืองดังกลา วยอยยบั ในกรณแี รกระบบนี้นาํ ไปสสู ภาพแวดลอมแหงชัยชนะที่ฮาลิดั้นฮิลล แตการลมเหลวในสองแหง ตอมาสวนใหญเกิดจากสองประเด็นคือ ปญหาทางการเงินทําใหไมสามารถดํารงการลอมไวได ในกรณีท่ีส่ีที่คาเลสการยอมเสียหมากไมสามารถทําใหฟลิปแหงวาลัวส (Philip of Valois) ทําการเส่ียงทีเ่ ครซค่ี รง้ั ทสี่ อง แตกษัตริยเอ็ดเวิรดก็สามารถยึดทายุทธศาสตรที่สําคัญได ซึ่งอังกฤษไดย ึดไวเปน เวลาสองศตวรรษ5859 วิธีทางยุทธศาสตรท่ีสองท่ีกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 ใชเพ่ือบังคับใหขาศึกของพระองคทําการรบในรูปแบบท่ีอังกฤษตองการหรือยอมจํานน คือ การปลนสะดมและเผาทําลาย (Chevauchée - ชีวูชี) ซึ่งเปนการ \"ใชกองทหารมาเขาจูโจมทําลาย(War-ride)\" เพ่ือเตือนฝรั่งเศสหรือสกอตวา เหตุผลพ้ืนฐานในการมีกองทัพ หรือรัฐบาล คือ เพ่ือรักษาความสงบสุขของสวนรวมจากการปลนสะดมของทหารขาศึกดวยการใชกองทหารมาเขาไปในอาณาเขตของขาศึก พรอมดวยคบเพลิงในมือน้ีทําใหเกิดพื้นที่การเผาทําลายกวาง 30 ไมล ยาวเปนรอย ๆ ไมล ซึ่งกลาวไดวากองทัพองั กฤษไดก าํ หนดคา ปรับทไี่ มสามารถรบั ไดตอ ขาศึกทปี่ ฏเิ สธท่ีจะตอ สู5960ถากองทัพท่ีทาํ การรกุ ไมปลอยใหตวั เองตองติดกับและอดอยากเหย่ือของการปลนสะดมและเผาทําลาย (Chevauchée - ชีวูชี) จะไมมีทางเลือกและตองทําการรบในแบบ 59 เร่ืองแปลของการโจมตีคาเลส (Calais) อาจแตกตางไปเล็กนอย(ดู Rogers, War Cruel and Sharp สําหรบั รายละเอียดเพิ่มเตมิ ในการโจมต)ี . 60 สําหรับขอบเขตของการทําลายลางโดยกองทหารมาในการปลนสะดมและเผาทําลาย (Chevauchée - ชีวูชี) ดู Rogers, By Fire and Sword:Bellum Hostile and 'Civilians' in the Hundred Years' War\", ใน MarkGrimsley and Clifford J. Rogers, eds., Civilians in the Path of War(University of Nebraska Press, forthcoming); รวมท้ังดู Clausewitz, VomKriege, หนา 92 (Book I, Chapter I.4): \"ถาตองบีบบังคับขาศึกทานตองกดดันขา ศกึ ใหอ ยูใ นสถานการณที่ไมพึงปรารถนายิง่ กวา ทที่ า นไดดาํ เนินการใหขาศึกกระทํา\". อาทิตยด วงใหม: การปฏวิ ัติในกิจการทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

56ทกี่ ษัตรยิ เอ็ดเวิรดตองการ หรือประสบกับความยอยยับทางเศรษฐกิจและการปกครองที่การปลน สะดมและเผาทําลายทําใหเกิดข้ึน วธิ กี ารดงั กลาวไมใชเ รอ่ื งใหม แตเกิดข้ึนท่ัวไปต้ังแตกอนยุคกลางและระบบของกษัตริยเอ็ดเวิรด ก็คลายเปนอยางยิ่งกับยุทธศาสตรของสปารตา (Spartan)ในชวงเร่ิมตนของสงครามเพโลปอนเนเชียน (Peloponnesian War) ซึ่งวิธีการนี้เปนคําตอบท่ีไดผลเปนอยางยิ่งตอปญหาทางยุทธศาสตรตาง ๆ ที่ราชวงศแพลนทาเจเน็ท(Plantagenets) เผชิญยุทธศาสตรการปลนสะดม และเผาทําลาย (Chevauchée -ชีวูชี) นําไปสูชัยชนะในการรบที่ยิ่งใหญท่ีสุดสองคร้ังในรัชสมัยของพระองค คือทีเ่ ครซี่และปวติเยรท ่ีบีบบงั คับใหสกอต ตอ งยอมรับการปกครองของกษัตริยเอ็ดเวิรด(albeit briefly) ในป 1335 (พ.ศ.1878) และกดดันใหฝร่ังเศสตองพยายามสงบศึกตามความตองการของพระองคในป 1360 (พ.ศ.1903)6061 ความเปน ผูนาํ ในสองยอหนาสุดทายน้อี าจทาํ ใหชัยชนะในรชั สมยั ของกษัตรยิ เ อด็ เวริ ด ที่ 3ดูงาย ซึ่งก็คือ การรวมเอาพลธนูแบบคันยาวและการรบของทหารมาหนักอยางตอเน่ืองเขาในยุทธวิธีทหารราบในรูปขบวนชิดกันที่ใชท่ีด้ับพล่ินมัวรพรอมดวยยุทธศาสตรหนึ่งหรืออ่ืน ๆ เพื่อบังคับใหขาศึกเขาสูการรุกทางยุทธวิธีท่ปี ระกันถึงชยั ชนะ ซึ่งการดําเนนิ การน้ีมีสวนจริงอยูบาง แตก็ตองมีการกลั่นกรองท่ีจริงแลวระบบยุทธวิธีที่ด้ับพล่ินมัวรประสบความสําเร็จอยางมาก ซ่ึงไดรับการพิสูจนดวยขอเท็จจริงงาย ๆ ท่ีกองทหารที่ใชยุทธวิธีนี้สามารถที่จะไดรับชัยชนะ 61 มีคําอภิปรายทว่ั ไปเกี่ยวกบั การใชย ุทธศาสตรก ารปลนสะดม และ เผาทําลาย(Chevauchée - ชีวูชี) ของกษัตริยเอ็ดเวิรด โดยเฉพาะการรบที่เครซ่ี ใน Clifford J.Rogers, \"Edward III and the Dialectics of Strategy, 1327-1360\",Transactions of the Royal Historical Society, 6th ser., 4 (1994)Rogers, War Cruel and Sharp ครอบคลุมรายละเอียดของการรบทง้ั หมดเหลา นี้. โรเจอร

57ในหลาย ๆ การรบมาโดยตลอดตอ กองทัพท่ีมีกําลังมากกวาอยางมาก แตยุทธวิธีน้ีก็ไมไดประกันถึงชัยชนะ ซ่ึงชัยชนะของอังกฤษหลาย ๆ ชัยชนะในยุคดังกลาวนี้เปนส่ิงท่ีสามารถจะเปลี่ยนเปนอยางอื่นได (Near-run thing) ทหารสกอตบางคนที่รบท่ีด้ับพลิ่นมัวร เช่ือวาพวกเขาอาจจะชนะในคร้ังนั้นถาไมเกิดความผิดพลาดทางยุทธวิธีที่สําคัญที่เกิดขึ้นจากการชิงดีชิงเดนระหวางผูนําทัพสองคนของตน6162ที่เนว่ิลสครอสสในป 1346 (พ.ศ.1889) เปนการสูรบท่ียาวนาน และสกอตไดขับไลพลธนูอังกฤษถึงสองคร้ัง ซ่ึงเพียงเพราะความมุงม่ันอยางยิ่งของทหารมาหนักที่ไดทําการรบแมแตหลังจากที่ปกของตนไดแตกพายไป ซ่ึงเปนการซ้ือเวลาสําหรับทหารราบเบาท่ีจะรวมกําลังและกลับเขาทําการรบใหม ชวยใหอังกฤษสามารถท่ีจะไดรับชยั ชนะได6263 ท่ปี วติเยรเ ชนกนั องั กฤษเกอื บที่จะพายแพ ผบู นั ทึกประวัติศาสตรผูหน่ึงเขียนไววา \"ในอดีตคนจะรูวาฝายใดจะชนะโดยทันทีหลังจากหาธนูคร้ังที่สามหรือส่ีหรืออยางนอยคร้ังที่หก แตการรบน้ีพลธนูแตละนายยิงธนูโดยมีการเล็งเปนรอยครั้ง (Cum providential) แตก็ยังไมมีฝายใดที่จะยอมรับการพายแพไมมีท่ีใด (ในประวัติศาสตรของ) การรบ หรือ (เสียงเพรียกของ) เกียรติประวัติใดที่จะไดยนิ วามกี ารรบใดท่ีจะดําเนินไปเปนเวลานานเชนการรบน้ี\"6364 แมการดําเนินการยุทธแบบท่ีดัพพลิน (Duppiln tactic) ดวยความชํานาญ จะชวยใหเจาชายเอ็ดเวิรดสามารถทําลายการโจมตีสามครั้งตอมาของแมทัพฝรั่งเศสโดยดูฟเฟน (Dauphin) 62 Wyntoun, Orygynal Cronykil, vol.2, หนา 388. 63 ดู Rogers, \"Scottish Invasion of 1346\", หนา 62-7. 64 Eulogium historiarum, ed. F. S. Haydon (London: RS, 1858-63),vol.2, หนา 225: \"In antiquo tempore ad tertium vel quartum velultimo ad sextum tractum unius sagittae homines scirent continuoquae pars triumpharet, sed ibi unus sagittarius c. emisit cumprovidentia et adhuc neutra pars cesit alteri; non est auditum inbellis nec in gaetis quod a;iqua pugna tam diu perseverabat\". อาทติ ยด วงใหม: การปฏิวตั ิในกจิ การทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

58และโดยสวนหน่ึงของทัพของดยุคแหงออรลิอันซ (Duke of Orléans) ซึ่งทัพใหญภายใตก ารบญั ชาการของกษัตรยิ จอหน (John) ยงั คงอยูจนทหารองั กฤษหลายคนคิดวาหนทางของตนไดสูญสิ้นไปแลว6465 แตท้ังน้ีนับเปนการใชลักษณะผูนําที่ยอดเย่ียมของเจาชายและของแมทัพรอง ๆ ท่ีเขมแข็งและมีประสบการณท่ีไดรักษากองทัพ อังกฤษ-ชาวแกซคอน (Anglo-Gascon) ไวจากความยอยยับเมอื่ การโจมตีคร้งั สุดทายของฝรงั่ เศสเรม่ิ ข้นึ แตความเหนียวแนนในการต้ังรับยังไมเพียงพอ สุดทายอังกฤษก็ไดชัยชนะเพียงเพราะเจาชาย ซึ่ง ณ จุดวิกฤตของการรบ ไดฉุกคิดวาในสถานการณท่ีผิดธรรมดาน้ีตองใชการปฏิบัติที่ผิดธรรมดา และท้ิงยุทธวิธีที่ไดเคยชวยใหอังกฤษสามารถตานทานการโจมตีครั้งแลวครั้งเลาของกองทัพที่ใหญกวา และมีอาวุธยุทโธปกรณดีกวาได โดยแทนท่ีจะจัดกําลังของพระองค เพ่ือรับการโจมตีอีกครั้งพระองคก ลับแยกกําลังขนาดเล็กท่ีมีความคลองแคลว ในการเคลื่อนท่ีภายใตการนําของ แคพเทล เดอ บูช (Captal de Buch) บารอน ชาวแกซคอนคนหน่ึง ทําการโอบสนามรบและโจมตีฝร่ังเศสจากดานหลัง สวนเจาชายยังคงอยูกับกองทัพของพระองค พรอมกันน้ันก็ทําการโจมตีตรงหนา ซ่ึงการเส่ียงที่ลอแหลมน้ีไดบดขยี้กองทัพฝร่ังเศส โดยตัวกษัตริยจอหน (John) เองถูกจับกุมพรอมกับทหารมาหนัก1,900 คน นอกเหนือจากอัศวินและผูรับใชอัศวินที่ฝกเปนอัศวิน 2,500 คนท่ีถูกสงั หาร6566 ชัยชนะในสนามรบของราชวงศแพลนทาเจเน็ท (Plantagenet) ในระยะยาวเกิดจากความผิดพลาดของขาศึก, ทหารท่ีทําการรบอยางเขมแข็ง, และความเปนผูนําที่ดี รวมท้ังระบบยุทธวิธีที่ยอดเยี่ยมที่ใช ประโยชนสูงสุดของอาวุธท่ีไดเปรียบความสาํ เร็จของกษตั ริยเ อด็ เวริ ด ท่ี 3 ในการเปล่ียนชยั ชนะทางยุทธวิธีไปเปนชัยชนะ 65 Le Baker, Chronicon, หนา 150; Knighton, vol.2, หนา 89. 66 Rogers, War Cruel and Sharp, Chapter 16, ครอบคลมุการยุทธและการรบดงั กลา ว. โรเจอร

59ทางยุทธศาสตรก็เชนกัน ตองการมากกวาเพียงการใชรูปแบบหรือหลักการตาง ๆเปนท่ีชัดเจนวา อังกฤษในศตวรรษที่ 14 มีหลักยุทธศาสตรท่ีถือปฏิบัติท่ัวไปซ่ึงตองทําเพ่ือประกันวากองทัพของกษัตริยเอ็ดเวิรดจะไดทําการรบทุกครั้ง โดยไมถูกบังคับใหเปนฝายริเร่ิมทางยุทธวิธีกอนหลักยุทธศาสตรดังกลาวน้ันงาย ๆแตต ามทเ่ี คลา สวิทซไดเขียนไวในเรื่องการสงคราม (In war) วา \"แมแตส่ิงท่ีงายที่สุดก็ยังยาก\" ผูบัญชาการการทัพตาง ๆ ในยุคกลางตางก็รูดีถึงขอดีท่ีเกิดขึ้นตอการต้ังรับทางยุทธวิธี6667 แตกระน้ันก็ตามขาศึกของกษัตริยเอ็ดเวิรดก็ยังใชการรุกในทุกสงครามทางบกท่ีสาํ คญั ในรัชสมยั ของพระองค ท่ีด้ัพพล่ินมัวร, ฮาลิดั้นฮิลล,เครซี่, เนวิ่ลสครอสส, ปวติเยร, และนัจเจรา โดยไมรวมถึงการรบท่ีเล็กกวาท่ีมอรเลซ (Morlaix), มัวรอน (Mauron), ซันเทส (Saintes), และลูนาลองจ(Lunalonge) เปนส่ิงชี้ตัวหนึ่งถึงทักษะของพระองค และสหายรวมรบของพระองคในการควบคุมสถานการณทางยุทธศาสตร การยุทธเดียวกันเหลานี้ยังแสดงถึงความกลาหาญท่ียอดเย่ียม, ความรุกรบ, วิจารณญาณ, และความหาวหาญของผูน ําตาง ๆ และทหารของกองทพั ของราชวงศแ พลนทาเจเน็ท (Plantagenet)การยทุ ธท่ปี วตเิ ยรใ หตวั อยา งท่ียอดเย่ียมอีกตัวอยางหน่ึง จากตนป 1356(พ.ศ.1899) การปลนสะดมและเผาทําลาย (Chevauchée - ชีวูชี) เปนการปฏิบัติการท่ีเส่ียง ซ่ึงตองใชความรุกรบเปนพิเศษและจิตวิญญาณ ความเชื่อมั่นในตนเองสําหรับผูรุกรานเพ่ือเร่ิมตนสําหรับเกาะแหงฝร่ังเศส (Ile-de-France - อิล เดอ ฟร็องซ)ซึ่งเปนศูนยกลางของราชอาณาจักรฝรั่งเศสท่ีกองบัญชาการของกองทัพหน่ึงที่มีกาํ ลงั เพียง 6,000 นาย 68 ซงึ่ เจา ชายตองยอมเส่ียงตลอดท้ังการยุทธ โดยเจาชาย 67 67 Clausewitz, Vom Kriege, หนา 159; Rogers, \"Offensive/Defensive\",หนา 158-61. 68 จดหมายของบารโทโลมิว เบิรกเกิช (Bartholomew Burghersh)ถึงจอหน บูชอมพ (John Beauchamp) ใน Froissart, Oeuvres, vol.18, หนา386-7; จดหมายของเจาชายถึงบิชอพแหงวูสเทอร (Bishop of Worcester) ใน อาทติ ยด วงใหม: การปฏิวตั ิในกิจการทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

60ตองปองกันฝรั่งเศสไมใหตัดพระองคจากฐานของพระองคดวยกองทัพท่ีใหญ(ซึ่งสามารถบังคับใหพระองคตองทําการรุกทางยุทธวิธีเพื่อเจาะทะลวงวงลอม)และในขณะเดียวกันพระองคก็ตองใหโอกาสแกฝร่ังเศสที่จะเลิกทําการรบแบบตั้งรับท่ีพระองคพยายามแสวงหา พระองคพยายามท่ีจะกระตุนใหฝรั่งเศสทําการโจมตีกอนที่จะพรอม โดยการลอมโจมตีปราสาทของโรเมอแรนทิน (Romorantin)เม่ือกษัตริยจอหน (John) ไมเดินตามแผนดังกลาว เจาชายก็ใชพระปรีชาชาญยึดท่ีต้ังตาง ๆ ตามแนวแมน้ําซ่ึงพระองคจะสามารถคอยรับการโจมตี โดยลดความเส่ยี งที่ขา ศึกจะเล็ดลอดผา นไปปดเสนทางถอยของพระองค แมเมื่อกษัตริยจอหน (John) ไดเดินทัพซึ่งเปนหนึ่งในการเดินทัพท่ีนาท่ึง โดยผูบัญชาการทัพฝรั่งเศสในสงครามหนึ่งรอยป จะสามารถมาแทรกอยูระหวางกองทัพอังกฤษกับแกซคอนีGascony) เจาชายก็ไดตอบโตอยางรวดเร็วและเด็ดขาด โดยโจมตีกองระวังหลังของ (ฝร่ังเศสอยางจูโจมและนําหนากองทัพราชวงศฝรั่งเศส (Valois - วาลัวส)ไปอีกครั้งหน่งึ อยางหวุดหวิด ณ จุดน้ัน สถานการณของพระองคลอแหลมอยางมาก ฝรั่งเศสมีกําลังทหารมากกวา ไดพ กั ผอนมากกวา และมีการสงกําลังท่ีดีกวา และอยูในพ้ืนท่ีของตนทําการรบเพ่ือปองกันบานเกิดเมืองนอนของตน ภายใตสายพระเนตรของกษัตริยของตน “ในแนวทางปฏิบัติท่ัวไป” แมทัพที่รวมรบ ในหมูท่ีปรึกษาของกษัตริยจอหน (John) ทํานายวา “อังกฤษไมสามารถที่จะไดชัยชนะ”6869 โดยเฉพาะอยางย่ิงH. T. Riley, Memorials of London Life in the XIIIth, XIVth, XVthCenturies (London, 1868), หนา 207. 69 Le Baker, Chronicon, หนา 144 สวนใหญที่พูดเหมือนกันเกี่ยวกับการรบที่เครซี่ : ดู BN, MS Fr. 693, fo. 164v (selon cours common des bataillesles nostres [i.e. the French] deussent en [i.e. the victory] avoir. Car ilzestoient plus sans comparoison et de meilleur chevalerie que lesautre.) The wording of the contemporary sources thus confirms the โรเจอร

61ฝรั่งเศสมที หารมาหนกั (Men-at-arms) มากกวาอยา งมาก ดังน้ัน จึงอาจสามารถโอบกองทัพอังกฤษได ถาเพียงแตจัดรูปขบวนและรอโจมตีตามหลักนิยมทางยุทธวิธีปกติของตน6970 เจาชายเอ็ดเวิรดทรงตระหนักถึงอันตรายของสถานการณของตนแตกไ็ มป ลอยใหสถานการณด ังกลาวมาบ่ันทอนกําลังใจของพระองค พระองคและแมทัพรอง ๆ ของพระองค ไดเตรียมการถอนตัวอยางชํานาญโดยดึงฝร่ังเศสเขาสูการโจมตีกอนเวลาอันควร ดวยกองระวังหลังท่ีเขมแข็งที่พระองคไดจัดตั้งขึ้นภายใตก ารบังคับบัญชาของเอิรลแหงซอลซเบอรี (Salisbury) ที่มีประสบการณในการรบ ในไมช าการดาํ เนินการดังกลา วกไ็ ดนํากองทัพท้งั สองเขา เผชิญกนั แตองั กฤษรวดเร็วกวาในการสงกําลังเสริม และตั้งแนวการรบอยางเต็มที่ ดังนั้น การรบสวนใหญจงึ ไดเ ปรยี บจากการต้ังรบั ทางยุทธวิธี ตลอดการรบดังกลาวและในชวงแรกของการรบ โดยในการรบเองน้ันกองทัพอังกฤษไดรับประโยชนจากเจาชายมากกวา ความเปนแมทัพที่สามารถและความกลาหาญ (Boldness), ความกลาที่จะเผชิญกับภยันตรายที่รู (Courage),และคิดวาพระองคท้ังแสดงออกดวยพระองคเอง และสรางแรงบันดาลใจแกทหารของพระองค เชนเดียวกันการรบท่ีฮาลิด้ันฮิลล สามารถดําเนินการไดดวยทักษะดานการบริหาร (Administrative) และการสงกําลังบํารุง (Logistical) ของพระเจาเอ็ดเวิรดที่ 3 และฝายเสนาธิการของพระองค ทําใหกองทัพอังกฤษสามารถดํารงextraordinary, or revolutionary, nature of the tactic superiority of the English. 70 Froissart, Oeuvres, vol 5, p.413; vol. 4, pp. 435, 419-20 (auvoir dire. Il [the English] ne ressongnoient point tant le bataille que ilfaisoient ce que on ne les tenist en tel estat, ensi que pour asségiéset affamés); cf. M. Villani Cronica, pp. 532-3 (gli ha Iddio ridotti erinchiusi nelle vostre mani per modo ch’addietro non possonotornare, né a destra né a sinistra si possono allargare. Da viverehanno poco …). อาทติ ยด วงใหม: การปฏวิ ัตใิ นกจิ การทหารในศตวรรษที่ 14 ขององั กฤษ

62การลอมแบรวิค (Berwick) ไวจนกระทั่งฝายต้ังรับเร่ิมอดอยาก และดวยการตัดสินใจอยางเย็นชาท่ีพระองคไมสนใจความพยายามของสกอต ที่จะดึงพระองคจากเมืองดงั กลา วดวยการโจมตีปราสาทแบมเบิรก (Bamburgh) ที่พระนางฟลิปปา(Philippa) มเหสีเยาววัยของพระองคพํานักอยู นอกจากนี้ ทักษะดานการเมืองและความสามารถของพระองค ซึ่งทําใหพระองคสามารถไดรับการสนับสนุนดวยความนิยมชมชอบทยี่ ั่งยนื และความเปนสามัญธรรมดาเหมือนกัน ท่ีชวยใหพระองคสามารถบัญชาการยุทธท่ีส้ินเปลืองที่ใหโอกาสพระองค นําความสามารถทางยุทธศาสตรและความเขมแข็งทางยุทธวิธีของพระองคเขาดําเนินการ สุดทายกษตั ริยเอ็ดเวิรดทรงมีความฉลาดที่จะรับฟงคําแนะนําของ เจาชายแบลค (Black)และของเฮนร่ีแหงแลงคาสเตอร (Henry of Lancaster) ท่ีไดเตือนพระองคไมใหทรงละโมบมากเกินไปในยามสงบ ผลทําใหเกิดเปนสนธิสัญญาเบรตีญี (Treaty ofBrétigny) ซึ่งไดเปล่ียนชัยชนะทางทหารไปเปนความสําเร็จทางการเมือง7071 ซ่ึงในขอน้ีกษัตริยเอ็ดเวิรดทรงพระปรีชาชาญมากกวาบุคคลอื่น ๆ ท่ีไดรับประโยชนของการปฏิวัติทางทหารหรือการปฏิวัติในกิจการทหารในยุคหลัง ๆ เชน นโปเลียนหรือฮิตเลอร สรปุ การศึกษากรณีเฉพาะตาง ๆ ไมสามารถแสดงใหเห็นขอเท็จจริงท่ีกวางข้ึนอยางเต็มท่ี อยางไรก็ตาม การปฏิวัติในกิจการทหารของอังกฤษในศตวรรษท่ี 14 ไดใหหลักการทั่วไป คือ การพัฒนาดานอาวุธยุทโธปกรณและการจัดหนวยทางทหารจะไมไดรับชัยชนะในสงครามเสมอไป ถาไมไดใชเปนสวนหนึ่งของระบบยุทธวิธีที่ไดผล และยุทธวิธีที่เขมแข็ง ไมไดนํามาซ่ึงชัยชนะในทายที่สุด ถาผูนําทางทหารไมไดพัฒนา และใชยุทธศาสตรตาง ๆ ที่สราง 71 ดู War Cruel and Sharp, Chapter 4 [Bamburgh] และ Chapter 16[Brétigny]. โรเจอร

63สถานการณที่ถูกตอง สําหรับการใชกําลังทัพของตนขึ้นกอน แลวเปลี่ยนความสําเร็จในสนามรบไปเปนผลลัพธทางการเมือง กษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 2 ใชพลธนูคันยาวท่ีไดรับการจายเงิน แตก็ไมไดยกระดับของอังกฤษ ใหเทากับระดับพลังอํานาจระดับสอง (Second-rate power) ทั้งน้ี ตองใชการผสมผสานกันของยุทธวิธีท่ีดั้พพล่ิน(Dupplin tactic), ยุทธศาสตรที่ไดรับการพัฒนามาเปนอยางดี, และการอุทิศตนของเหลาผูนําทหารท่ียอดเยี่ยม ที่สงผลตอการปฏิวัติในกิจการทหารของพระเจาเอด็ เวิรด ท่ี 3 อาทิตยด วงใหม: การปฏิวัตใิ นกจิ การทหารในศตวรรษท่ี 14 ของอังกฤษ

3 การเสริมสรา งกองทัพแบบตะวนั ตกในฝรัง่ เศสศตวรรษท่ี 17 (Forging the Western army in seventeenth-century France) จอหน เอ. ลินน (John A. Lynn) ศิลปะการสงครามในยุโรปศตวรรษที่ 17 เปนไปผานการปฏิรูปหน่ึงจนกลายเปนพื้นฐาน ซ่ึงนักวิชาการยกยองวาเปน “การปฏิวัติการทหาร(Military revolution)\"01 อยางหนึ่ง การเปล่ียนแปลงในทุก ๆ ส่ิง ตั้งแตยุทธวิธีไปจนถึงสายการจัดหนวย (Institutional hierarchies) ทําใหกองทัพมีคุณลักษณะตาง ๆ ที่ปจจุบันยอมรับวาเปนสมัยใหม หลังความกาวหนาข้ันตนของดัชทและสวีเดนฝรั่งเศสไดเปนผูนําคลื่นของการเปล่ียนแปลงในคร่ึงหลังของศตวรรษดังกลาวในบทนี้จะมุงที่การปรับปรุงการทหารและนวัตกรรมของฝร่ังเศส ในชวงมหาศตวรรษ -Grand siècle (กร็องด เซียเคิล - ศตวรรษท่ี 17) ท่ีพระเจาหลุยสท่ี 14 ซึ่งไดรับการขนานพระนามวา พระสุริยะเทพ (The Sun King) โดยทรงจัดต้ังรูปแบบตาง ๆในกองทัพ อยางมากดา นโครงสรา ง 1งานสําคัญ ๆ เกี่ยวกับการปฏิวัติการทหารในชวงตนไดแก Michael Roberts,The Military Revolution, 1560-1660 (Belfast, 1956); George Clark, Warand Society in the Seventeenth Century (Cambridge, 1958); GeoffreyParker, “The ‘Military Revolution’ 1560-1660 – a Myth?,” Journal ofModern History 48 (1976), and The Military Revolution: MilitaryInnovation and the Rise of the West, 1500-1800 (Cambridge, 1988)สําหรับบทวิจารณข องการตัง้ ทฤษฎขี องโรเบิรตและปารคเกอร ดู Jeremy Black,A Military Revolution? Military Change and European Society, 1550-1800 (Atlantic Highlands, NJ, 1991) และ European Warfare, 1660-1815 (New Haven, CT, 1994); และ John A. Lynn, “The trace italienneand the Growth of Armies: The French Case,” Journal of MilitaryHistory, July 1991. Clifford J. Rogers, ed., The Military RevolutionDebate: Readings on the Military Transformation of Early ModernEurope (Boulder, CO, 1995) ไดใหการคน ควา ทเี่ ปนประโยชน.

65 การถกเถียงทางประวัติศาสตรเก่ียวกับการพัฒนาทางทหารของศตวรรษท่ี 17 อยูท่ีประเด็นท่ีสัมพันธกันสองประเด็น ประเด็นแรก เก่ียวกับกาวยางและลักษณะของการเปลี่ยนแปลง และความแตกตางของคํา (Semantic)ท่ีสําคัญ ซ่ึงถกเถียงกันระหวางฝายสนับสนุนของคําวา “การปฏิวัติ (Revolution)”กับ “การพัฒนา (Evolution)” ซ่ึงเปนเพียงความเห็นตางที่ขัดแยงกันระหวางความหลากหลายของนวัตกรรม และการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบท่ีมีอยู คําวาการปฏิวัติ (Revolution) ตอบสนองความตองการท่ีมีอยูในตัวคน สําหรับการเปลยี่ นแปลงที่รวดเร็ว แตความหมายของคําวา การพัฒนา (Evolution) เหมาะกับเหตุการณเฉพาะมากกวา ประเด็นที่สอง ของการถกเถียงเกี่ยวกับบทบาทของเทคโนโลยีในการขับเคล่ือนกระบวนการเปลี่ยนแปลงไมวาจะมีกาวยางอยางไรเทคโนโลยีทําใหทุก ๆ คนท่ีตรวจสอบการทหารในอดีตเกิดความไขวเขวโดยอาวธุ ยทุ โธปกรณเ ปนเครือ่ งแสดงที่จะอธบิ ายไดอ ยา งมาก และเปน เสมือนแกนแทของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติ อยางไรก็ตาม การปฏิรูป (Transformation)ในบทน้ไี ดอ ธิบายวา มีความสมั พนั ธก ับเทคโนโลยคี อ นขา งนอย การทจี่ ะเขาใจถึงระยะเวลา, สาเหตุ, และความสําคัญของการเปล่ียนแปลงทางการทหารในศตวรรษ ท่ี 17 ตองมีการวิเคราะหแนวทางตาง ๆ ที่ไมไดดําเนินการรวมทั้งสิ่งรวมสมยั ท่ีไดเ ลือกท่ีจะติดตาม สวนแรกของบทน้ีจะพิจารณาความกาวหนาของอาวุธยุทโธปกรณท่ีมีแตไมสามารถท่ีจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางยุทธวิธีไดโดยรวดเร็ว จากนั้นจะเปลี่ยนไปวิเคราะหกรอบแนวคิดและนวัตกรรมที่มีผลกระทบโดยทันท,ี ถาวร, และมีผลตอ แบบธรรมเนียมทางทหารของตะวนั ตกการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีโดยไมม ีการเปลยี่ นแปลงแบบปฏวิ ตั ิ การทหารของฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระเจาหลุยสที่ 14 มีตัวอยางนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหลัก ๆ สองประการที่ไมสามารถสงผลตอการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติตอการสงครามไดตามศักยภาพ คือ การใชปนคาบศิลาแบบนกสับ(Flintlock) และดาบปลายปน (Bayonet) และการใชอยางจํากัดและปฏิเสธการใชในเวลาตอมาของปน ใหญแบบใหม (De nouvelle invention) การเสรมิ สรา งกองทพั แบบตะวันตกในฝรง่ั เศสศตวรรษที่ 17

661. ปนคาบศลิ า (Fusil) และดาบปลายปน (Bayonet) เจเรมี่ แบลค (Jeremy Black) ไดกลาวอยูเสมอวา การเปล่ียนจากปนแบบจุดชนวนท่ีดานทาย (Matchlock musket) และหอก ไปเปนปนคาบศิลาแบบนกสับ (Flintlock fusil) และดาบปลายปน นํามาซึ่งการเปล่ียนแปลงทางยุทธวิธีแบบปฏิวัติ12 แตอยางนอยท่ีสุดสําหรับฝรั่งเศส ผลกระทบขั้นตนของ“ระบบอาวุธ” ใหมน้ี คือ ความน่ิงเฉยอยางนาประหลาดใจ23 ในชวงตนป 1600(พ.ศ. 2143) ปนแบบจุดชนวนที่ดานทาย (Musket) เปนอาวุธยิงพ้ืนฐานของทหารราบซ่ึงทําการยิงดวยเคร่ืองปดทายปน (Lock) ซึ่งจุดไฟตอดินปนดวย “สายชนวน (Match)”ท่ีติดไฟซ่ึงเปนเชือกที่ทําจากพืชจําพวกปานหรือปอ มีขั้นตอน การบรรจุท่ียุงยากจํากัดอัตราการยงิ เพียงแคหนึ่งนัดตอนาที และครึง่ หนง่ึ ของทกุ นัดที่ยิงจะพลาดเปา34นอกจากนี้ สายชนวนท่ีติดไฟเปนอันตรายตอพลปน (Musketeer) และผูที่อยูรอบขางเนอื่ งจากอาจทาํ ใหด ินปนทน่ี าํ ตดิ ตวั ไปเกิดลกุ ไหมโดยอุบัติเหตไุ ด45 พลปนแบบจุดชนวน (Musketeer) ขาดศักยภาพในการทําลายขวัญและไมสามารถปองกันตัวเองไดจากทหารมา ดวยสาเหตุสองประการนี้ จึงจัดพลหอกเขารวมกับพลปนในรูปขบวนกองพัน (Battalion formation) โดยพัฒนาจากการปฏิบัติของฝรั่งเศสและการปฏิรูปยุทธวิธีของดัชท ปกติพลหอกจะอยูท่ี 2ดู A Military Revolution?และ European Warfare ของ Jeremy Black. 3สําหรับรายละเอียดของประเด็นที่นํามากลาวในสวนนี้ ดู John A. Lynn,Giant of the Grand Siècle: The French Army, 1610-1715 (Cambridge, 1997),บทท่ี 14. 4David Chandler, The Art of Warfare in the Age of Marlborough(New York, 1976), หนา 77. 5Vauban กลา ววา “เกดิ ไฟไหมโ ดยอบุ ัตเิ หตเุ ปน พันรายเนื่องจากสายชนวน”Vauban to Louvois, 21 December 1687, ใน Albert Rochas d’Aiglun,Vauban, sa famille et ses ecrits, 2 vols. (Paris, 1910), vol. 2, p’ 286. ลินน

67แถวยานกลางของกองพัน สวนปกท้ังสองจะเปนแถวพลปน (ดูรูปท่ี 3.1)ตอ มาสัดสว นของพลปนตอพลหอกในกองพันก็เพ่ิมขึ้นจาก 1:1 ในชวงตนป 1600(พ.ศ.2143), เปน 2:1 ในตอนกลางศตวรรษ, เปน 4:1 ในป 1690 (พ.ศ.2233)จากสัดสวนของพลปนที่เพิ่มข้ึน รูปขบวนของกองพันก็ลดจํานวนแถวลง คือรูปขบวนคอย ๆ ลดจํานวนแถวในทางลึกแตกวางขึ้น ในระบบน้ีกองรอยจะเปนหนวยจัดการเปนหลักมากกวาที่จะเปนหนวยรบ และจากที่ประกอบดวย พลปนและพลหอกผสมกันจึงตองกระจายกัน เพ่ือจัดเปนรูปขบวนรบของกองพันทพ่ี ลปนและพลหอกอยรู วมกันกบั เพือ่ นรว มรบท่มี อี าวธุ คลายกัน (รูปที่ 3.1) การเสริมสรา งกองทัพแบบตะวนั ตกในฝรัง่ เศสศตวรรษท่ี 17

68 Billion (1622), 10 แถว พลหอก 3 นาย สําหรบั พลปน ทุก ๆ 2 นาย ca. 1630, 8 แถว พลหอก 1 นาย สาํ หรบั พลปนทกุ ๆ 1 นาย ca. 1650, 6 แถว พลหอก 1 นาย สําหรบั พลปนทกุ ๆ 2 นาย ca. 1680, 5 แถว พลหอก 1 นาย สําหรับพลปนทกุ ๆ 3 นาย ca. 1695, 5 แถว พลหอก 1 นาย สําหรับพลปนแบบชนวนและแบบนกสับทกุ ๆ 4 นาย ca. 1705, 4 แถว พลปน แบบนกสับลว น ระยะเคียงหา งเตม็ ทก่ี องรอยตาง ๆ ผสมกันในรปขบวนรบ ca. 1750, 3 แถว พลปนแบบนกสบั ลว น ลดระยะเคยี งกองรอ ยตา ง ๆ รวมกันในรปู ขบวนรบ พลหอก (ในรปู ขบวนรบ)รูปท่ี 3.1รูปขบวนกองพันของฝรงั่ เศส ป 1622-1750 (พ.ศ.2165-2293)ทม่ี า: John Lynn, Giant of the Grand Siècle (Cambridge, 1997), หนา 476 การผสมกําลังท้ังในกองรอยและกองพันเร่ิมซับซอนมากขึ้น เมื่อปนคาบศิลาแบบนกสับ (Flintlock fusil) ที่ปลอดภัยกวาและไววางใจไดมากกวาไดเร่ิมมาแทนที่ปนแบบเกา แทนท่ีจะใชชุดจุดไฟเพ่ือจุดดินปนในจานดินปนแตปนคาบศิลาแบบนกสับนี้ใชนกสับเหล็กกลาท่ีทําใหเกิดประกายไฟ เพื่อสรางประกายไฟซ่ึงจะไปจุดดินปน โดยปลอดจากความกังวลเก่ียวกับสายชนวนพลยิงปนคาบศิลาแบบนกสับนายหน่ึงสามารถบรรจุกระสุนโดยเคล่ือนไหวนอยลง ลินน

69หน่ึงในสามของพลปนแบบจุดชนวน56 นอกจากนี้ ยังสามารถใสดินปนและบรรจุปนคาบศิลาของตนขึน้ นกในลกั ษณะท่มี ีความปลอดภัย สะพายหรือต้ังกระโจมปนและพรอ มทจี่ ะยิงโดยทันทเี ม่ือหยิบปน ขึ้นมาโดยชา ๆ ตามชวงเวลา กองทัพฝรั่งเศสก็ไดรับเอาปนคาบศิลามาใช ในป 1670 (พ.ศ.2213) พระเจาหลุยสท่ี 14 ไดทรงอนุมัติใหรวมพลปนคาบศิลา 4 นาย ไวในกองรอยทหารราบทุกกองรอย และตอมาอาวุธดังกลาวก็ไดกลายเปนมาตรฐานในกองรอยทหารรักษาพระองคฯ(Grenadier company) ใหม67 แตอยางไรก็ตาม ในปลายป 1688 (พ.ศ.2231)ทหารราบสวนใหญยังคงใชปนแบบจุดสายชนวนอยู78 ซึ่งความไมตองการที่จะจายเงินของราชวงศเพ่ือเปล่ียนกองทัพไปเปนอาวุธใหมอธิบายถึงความลาชาในการเปล่ียนแปลงดังกลาวได อยางไรก็ตาม การรบในสงคราม 9 ป (Nine Years’ War)(1688-97) (พ.ศ.2231-40) ก็ไดเพมิ่ จํานวนปนคาบศิลาในกองพันทหารราบตาง ๆและเม่ือกลับสูสันติพระราชบัญญัติของป 1699 (พ.ศ.2242) ไดบัญญัติถึงการนําเอาปนคาบศิลามาใชโดยทว่ั ไป89 ประมาณเวลาเดียวกับท่ีฝรั่งเศสไดใชปนคาบศิลาแทนปนแบบจุดชนวนฝรั่งเศสยังไดใชดาบปลายปน (Socket bayonet) แทนหอก จากความตองการที่จะใหปนคาบศิลามีอํานาจขมขวัญบาง สําหรับการต้ังรับและการรุกโดยเปล่ียนเปนหอกสั้นแตมีพลังทําใหเร่ิมมีการใชดาบปลายปนแบบ “สวม” ที่ปากกระบอก 6คอรวีเซยี ร (Corvisier) กลา ววา จํานวนการเคลอื่ นไหวลดลงจาก 36 เหลอื 23,Philippe Contamine, ed., Histoire militaire de la France, vol. I, serieseditor André Corvisier (Paris, 192), หนา 409. 76 February 1670 ordinance in Camille Rousset, Histoire deLouvois, 4 vols. (Paris, 1862-64), vol. I, หนา 191. 8Service Historique de l’Armée de Terre (SHAT), Archives deGuerre (AG), AI897, 23 August 1688, letter to inspectors in Rousset,Louvois, vol. 3, p. 329 note. 9Jean Colin, L’infanterie au XVIIIe siècle: La tactique (Paris,1907), p. 26. การเสรมิ สรางกองทพั แบบตะวันตกในฝรั่งเศสศตวรรษท่ี 17

70อยางงาย ๆ ประมาณป 1640 (พ.ศ.2183)910 ซ่ึงดาบปลายปนเหลาน้ี ประกอบดวย“ดาบตรงสองคมยาวหนึ่งฟุตพรอมดามแบบเรียวยาวหน่ึงฟุตเชนกัน” ท่ีใสเขาไปในปากลาํ กลองปน คาบศลิ า และเมือ่ ใสเขา ไปแลว จะไมสามารถบรรจุหรือยิงปนไดซึ่งเปนขอเสียท่ีสําคัญ1011 ในป 1687 (พ.ศ.2230) โวบาน (Vauban) ไดสรางดาบปลายปนแบบดามสวมกลวงที่ทําใหสามารถบรรจุและยิงได เม่ือใสดาบปลายปนแลวลูวัวส (Louvois) ซ่ึงตอนแรกเปนนักปรัชญา ตอมาก็กลายเปนผูดัดแปลง และในป 1689 (พ.ศ.2232) ไดมีคําส่ังใหพลปนแบบจุดชนวนและแบบนกสับทุกนายมีดาบปลายปนดังกลาวติดตัว1112 ในท่ีสุดป 1703 (พ.ศ.2243) ฝร่ังเศสก็เลิกใชหอกโดยส้ินเชิง และการรวมปนคาบศิลากับดาบปลายปนเขาดวยกัน ก็กลายเปนมาตรฐาน สําหรับทหารราบทุกนาย ยกเวนนายทหารประทวน และนายทหารสญั ญาบตั ร เพยี งไมก ีน่ าย1213 การใชปน คาบศลิ า/ดาบปลายปนไดเ ปน ท่แี พรหลาย การผสมอาวุธตาง ๆในกองพันทหารราบเปนตัวกําหนดรูปแบบทางยุทธวิธี พลปนแบบจุดสายชนวน,พลปนคาบศิลา, และพลหอกยายออกจากกองรอย เขาสูตําแหนงของตนภายในรูปขบวนเดินของกองพัน จากน้ันก็เปล่ียนภายในกองพันเม่ือเขาใกลขาศึกตัวอยางเชน จากป 1670 (พ.ศ.2213) คําสั่งกําหนดวาพลหอกตองรวมกันในแถวกลางของกองพันขณะเคล่ือนที่ แตเม่ือใกลท่ีจะรบตองแยกออกเปนสามสวน 10Louis André, Michel Le Tellier et l’organisation de l’arméemonarchique (Paris, 1906), p.344. 11Puységur in Chandler, The Art of Warfare, p. 83. 12SHAT, AG, AI861, 29 November 1689, Louvois to inspectors,in Rousset, Louvois, vol. 3, p. 330 note. 13Jacques-Francois de Chastenet de Puységur, Art de la guerrepar règles et principes, 2 vols. (Paris, 1748), vol. I, pp. 51, 57; LouisXIV, Oeuvres de XIV, eds. Philippe-Henri de Grimoard and Philippe-Antoine Grouvelle, 6 vols. (Paris, 1806), vol. 4, pp. 396-7 note. ลนิ น

71สวนหนึ่งยังคงอยูตรงกลาง อีกสองสวนแยกไป ทางขวาและซาย เพ่ือปองกันปกของกองพัน (ดูรูปท่ี 3.2) ซ่ึงการพัฒนานี้ตองใหพลปนแบบจุดชนวนชิดเขามาทีต่ รงกลางเพ่อื อดุ ชองวา งทพ่ี ลหอกแยกออกไป พลปน แบบจดุ ชนวน (Musketeers) พลหอก (Pikemen) พลปนคาบศลิ า (Fusiliers) ทหารราบรกั ษาพระองค (Grenadiers)รูปที่ 3.2 กองพนั ทหารราบฝร่งั เศสแปรขบวนเพื่อทําการรบ ca. 1670-90ท่ีมา: แผนภาพตาม “รูปขบวนทีก่ ษตั รยิ ตอ งการใหท หารราบของพระองคปฏบิ ตั ิณ วันท่ีทําการรบ” AG. Arch. Hist., 78, vol. 67 เพื่อชวยในการแปรขบวนน้ีทั้งหมด ตองมีระยะตอระยะเคียงที่กวางโดยมีระยะตอ 13 ฟุต และระยะเคียง 3-6 ฟุต ในรูปขบวนเดิน สวนระยะตอระยะเคียงสําหรับการรบจะลดลงครึ่งหนึ่ง ซึ่งระยะท่ีเพียงพอเหลาน้ียังปองกันกองพันจากอันตรายท่ีเกิดข้ึนเมื่อพลปนแบบจุดชนวนท่ีมีเคร่ืองจุดไฟ และดินปนในตําแหนงพรอมรบเขาชิดกันจนมากเกินไป เนื่องจากกองรอยสูญเสียความเปนกองรอยของตนเมื่อเคลื่อนเขารูปขบวนของกองพัน กองพันจึงดําเนินกลยุทธเปนหนวยยอยแทนท่ีจะเปนกองรอยของตน การฝกแปรขบวนการรบที่สําคัญ ก็คือ การฝกแปรขบวนของกองพัน การรบั เอาอาวุธชนดิ หน่ึงชนิดใดมาใชสําหรับทหารราบทั้งหมดอาจปฏิวัติภาพทางยุทธวิธีนี้ การประกอบอาวุธทหารทุกนายเหมือนกันทําใหไมตองเคล่ือนยายทหารภายในกองพัน ซ่ึงกาวยางดังกลาว และการที่ไมมีเคร่ืองจุดไฟชนวนท่ีแถวกลางของรูปขบวน จึงไมจําเปนตองมีระยะตอระยะเคียงท่ีกวาง ตรงกันขาม การเสริมสรา งกองทัพแบบตะวนั ตกในฝรงั่ เศสศตวรรษท่ี 17

72รูปขบวนชิดกันอาจเพ่ิมอัตราการยิงของรูปขบวน หรืออยางนอยก็ทําใหการยิงมีประสิทธิภาพมากขึ้น กองรอยตาง ๆ สามารถรักษาความเปนหนวยของตนในการรบได ทําใหการฝกกองรอยมีความสัมพันธใกลชิดกันมากข้ึนตอการเคล่ือนที่ในสนามรบ ซ่ึงศักยภาพของนวัตกรรมน้ีเพียงอยางเดียว สําหรับการพัฒนาสมรรถนะในการรบอาจมีมากย่งิ เนอ่ื งจากกองรอ ยจะทาํ การฝกไดบ อ ยครั้งกวา กองพัน แตก็ไมมีส่ิงดังกลาวเกิดข้ึนระหวางสงครามสืบสันตติวงศสเปน (War ofthe Spanish Succession) (1701-14) (พ.ศ.2244-57) การฝกและรูปขบวนตาง ๆเปนมรดกที่ไดรับมาจากยุคของปนแบบจุดชนวน และหอก ซ่ึงไดตอเน่ืองไปในยุคของปนคาบศิลาและดาบปลายปน ระยะตอระยะเคียงท่ีหางมากยังคงมีอยูกองพันตาง ๆ ยังคงดําเนินกลยุทธเปน manches (มอชช), demi-manches(เดอมี-มอชช) และ divisions (ดีวิชอง) ไมใชเปนกองรอย โดยยังคงกระจายกันเพื่อจัดเปนรูปขบวนกองพัน แมวาความจําเปนสําหรับพลปนแบบจุดชนวน,พลปนแบบนกสับ, และพลหอก ท่ีจะไปอยูในตําแหนงที่แยกกันจะไมมีแลวแตแถวหนากระดานก็ยังไมเขามาชิดกันจนกระท่ังป 1750 (พ.ศ.2293) ซึ่งหลังจากนั้นและเฉพาะหลังจากนั้น กองทัพฝรั่งเศสไดนําเอาการกาวเดินแบบเปนจังหวะ(Cadenced marching step) มาใช เพื่อปองกันทหารท่ีเขามาชิดกันเหยียบสนเทาของอีกคนหนึง่ ดังน้ัน ยุทธวิธีของทหารราบไดพัฒนาดวยกาวยางที่นับไดระหวางศตวรรษที่ 17 และ 18 ซ่ึงกองพันตาง ๆ ไดทําการรบในรูปขบวนหนากระดานอยูแลวตั้งแตป 1600 (พ.ศ.2143) และรูปขบวนเหลาน้ีก็เพียงแคบางลง และกวางขึ้นในหลายทศวรรษตอมาตามท่ีแสดงในรูปท่ี 3.1 กองพันที่ประกอบดวยปนแบบนกสับ/ดาบปลายปนของป 1705 (พ.ศ.2248) ดูคลายกับของกองพันที่ใชปนแบบจุดชนวน/พลหอกของป 1690 (พ.ศ.2233) อยางนาประหลาดใจ ท้ังน้ีตองใชเวลาหลายทศวรรษกอนท่ีอาวุธยุทโธปกรณทหารราบใหม ๆ จะทําใหเกิดกาวยางการพัฒนาไปเปนรูปขบวนหนากระดานท่ีบางลงและหยุดน่ิง ของสงครามสืบสันตติวงศออสเตรีย (War of the Austrian Succession) และสงคราม 7 ป(Seven year’s War) จะเปนอยางไร ถาการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีอยางรุนแรง ลนิ น

73เหมือนแผน ดินไหวทําใหเ กดิ ข้ึนเพยี งแคก ารสนั่ สะเทือน เน่ืองจากฝร่ังเศสยังคงคิดและดําเนินการตอไปในลักษณะท่ีไดกลาวไวในยุคตน ๆ ตามสถานการณตาง ๆซงึ่ รากฐานและความยง่ั ยนื ถอื เปน ความเคยชนิ ในความคดิ2. การประดษิ ฐป น ใหญร ปู แบบใหม (Cannon de nouvelle invention)แนวคิดในการทําสงครามท่ีไมยืดหยุนยังทําใหฝรั่งเศสไมใชศักยภาพของระบบปนใหญแบบใหมใ นปลายศตวรรษที่ 1714 ปนใหญเหลานี้เกิดจากการคิดคนปนใหญใหม (Cannon de nouvelle invention) ซ่ึงมีขอดีสําคัญหลายประการที่ทําใหระบบปนของกรีโบว่ัล (Gribeauval system) มีคุณคาอยางมากในหน่ึงศตวรรษตอมา แตการประดิษฐป น ใหญใหม (Cannon de nouvelle invention)ยังคงเปน เพยี งการปฏวิ ตั ิทลี่ มเหลว (Révolution manqué) เน่ืองจากความรูของฝรั่งเศสยังไมพรอมสําหรับปนดังกลาวในยุคที่อยูใตอิทธิพลของสงครามปดลอม(Siege warfare)ปจจัยหลักท่ีจํากัดการใชปนใหญในยุคสมัยใหมตอนตน โดยเฉพาะในสนามรบ คือ นํ้าหนัก ซึ่งในป 1620 (พ.ศ.2163) เฉพาะลํากลองอยางเดียวของปน ขนาด 34 ปอนด ก็หนักถึง 5,600 ลีเวอร (livres คือปอนด) และปนใหญบนแครลาก ก็ตองใชมา 20 ตัว เพ่ือลาก และใชพลประจําปน 35 นาย 15 ไมวา 14ขบวนปนใหญจะมีสัตวเทียมลากหรือคนลากเองหรือไม แตกองทัพตาง ๆ ก็จางคนขับรถลากท่ีเปนพลเรือนและทีมลากเพ่ือลากปนใหญ โดยในวันท่ีทําการรบผูรับวาจางเหลาน้ีจะลากปนที่หนักเขาที่ตั้งแลวหลบไปอยางฉลาด ทําใหความคลอ งตวั ทางยทุ ธวิธีของกองทพั นอยมาก เน่ืองจากนํา้ หนกั และขนาดของปน ใหญ 14สําหรับรายละเอียดเก่ียวกับปนใหญของฝรั่งเศสในศตวรรษที่ 17 รวมทั้งการผลิตปนใหญรูปแบบใหม (Cannon d nouvelle invention) ดู Lynn,Giant of the Grand Siècle, Chapter 14. 15ตัวเลขเหลานี้มาจากตารางท่ีละเอียดและนาสนใจใน Du Praissac, Les discoursmilitaires (Paris, 1622), pp. 112-30 เพื่อความงายขอเรียกปนใหญ 33 1/3 ปอนดเปน 34 ปอนด และ 15 ¼ ปอนด เปน 16 ปอนด. การเสรมิ สรางกองทพั แบบตะวนั ตกในฝรัง่ เศสศตวรรษท่ี 17

74 จนกลางศตวรรษ ฝรั่งเศสไดสรางระบบปนใหญของซัลลี่ (Sully)มีลํากลองหกขนาดยิงลูกปน 33, 24, 16, 12, 8, และ 4 ปอนด ปนใหญใหมท่ีผลิตเหลาน้ีหนักมาก ไมวาขนาดลํากลองจะเปนเทาใด รังเพลิงของปนใหญเหลาน้ีหนาพอท่ีจะรองรับดินปน 2/3 เทาของน้ําหนักของลูกปนหรือมากกวา ลํากลองแตละขนาดยาวประมาณ 11 ฟุต ไมวากวางปากลํากลองจะเปนเทาไร จากการตัดสินใจตามสามัญสํานึกของตนเอง เพื่อใหแนใจวาปนใหญท้ังหมดเหมาะสมที่จะยิงผานชองยิงในกําแพงปอมปราการหรือการปดลอม แรงระเบิดที่ปากลํากลองท่ีส้ันจะทําลายชองกําแพงนั้น ดังนั้น ปนปอมปราการจึงตองสามารถใชแทนกับปนใหญส นามได การประดิษฐปนใหญใหม (Cannon de nouvelle invention) เปนผลจากการคนพบของอันโทนิโอ กอนซาเลส (Antonio Gonzalès) ซ่ึงข้ันแรกไดพยายามขายระบบของเขาในสเปน หลงั จากลมเหลวท่ีสเปน จึงไดนํามาท่ีฝรั่งเศสในป 1679(พ.ศ.2222)1516 16สําหรับเรื่องราวของการผลิตปนใหญใหม ดู Ernest Picard and Louis Jouan,L’artillerie française au XVIIIe siècle (Paris, 1906), pp. 44-7; Howard Rosen,“The Systeme Gribeauval: A Study of Technological Development andInstitutional Chabge in Eifgteenth-Century France,” Ph.D. dissertation,University ofChicago, 1981,pp.128-33,andChandler,TheArtofWarfare,pp.176-93. ลนิ น

75 รูปท่ี 3.3 ปนใหญ 24 ปอนด แวลลเิ อยี ร (Vallière) ของฝร่ังเศส (บน)และแบบใหม (de nouvelle invention) (ลา ง) ทมี่ า: Diderot’s Encyclopédi e, plates V and VI, art militaire, fortification เอ้อื เฟอภาพ จากหอ งสมุดหนังสือหายาก มหาวทิ ยาลัยอิลลินอยส เออรแบนา-แชมเปญจน (Urbana-Champaign)โดยปรบั เปลีย่ นรปู ทรงของหองรงั เพลิงไปเปนทรงกลม มีเสนผาศูนยกลางใหญกวาปากลํากลอง ซ่ึงเขาพบวาสามารถไดผลท่ียอมรับไดดวยดินปนเพียง 1/3 เทาของนํ้าหนักลูกปนดวยดินปนที่นอยกวา สามารถลดความหนาของลํากลองสวนที่ไมใชรังเพลิงได จึงทําใหเบากวาและเขาไดออกแบบลํากลองใหม สําหรับใชในสนามรบโดยเฉพาะ จึงส้ันกวาปนใหญธรรมดามาก ถา ไมรวมปุมที่ยืน่ จากดา นทาย(Cascabel – แคสคาแบล) ปนใหญ 24 ปอนด แบบเกายาว 10 ฟุต 2 นิ้ว การเสริมสรางกองทพั แบบตะวนั ตกในฝรง่ั เศสศตวรรษที่ 17

76แตปน ใหญ 24 ปอนด แบบใหมจ ะยาวเพยี ง 6 ฟุต (ดรู ปู ที่ 3.3)1617 ดังนั้น ปนใหญใหมจึงเบากวาแบบเกามาก ทั้งน้ี ไมรวมแครลากปนใหญ 16 ปอนด แบบเกาหนัก4,100 ลีเวอร (ปอนด) สวนปนใหญใหมหนัก 2,220 ลีเวอร ปน 4 ปอนด หนัก1,300 ลีเวอร และ 600 ลีเวอร ตามลาํ ดบั นอกจากน้ี การเปลี่ยนแปลงแครลากและการเพิ่มเติมเพลาหนา (Avant train) ยังเพิ่มความคลองแคลวขึ้นไปอีกปนใหญนี้มีขอดีหลายประการ และดวยศักยภาพดานการประหยัดท่ีเปนผลจากดนิ ปน ทน่ี อยลง ทาํ ใหล วู วั ส (Louvois) รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม สนใจมากท่ีสุดโดยรัฐมนตรีทานนี้ไดมองปนใหญใหมในมุมมองทางการเงินมากกวาทางยุทธวิธีป 1681 (พ.ศ.2224) รัฐมนตรีลูววั สก็ไดสัง่ ปน ใหญแบบเบากวาน้ี สงไปยังโรงหลอทั้งหมดของฝรั่งเศส เพ่ือเปนตนแบบสําหรับการผลิตปนใหญแบบใหม (Cannonde nouvelle invention) เปน การพัฒนาอยางมากของปนใหญ แตในขณะเดียวกันกม็ ีปญหาสาํ คัญสองประการทใ่ี นท่ีสุดแลว ทําใหฝ ร่ังเศสเลิกใชในตนศตวรรษที่ 18รังเพลิงทรงกลมที่มีเสนผาศูนยกลางใหญกวาลํากลอง จะทําความสะอาดไดยากระหวา งนัดตอ ๆ ไป โดยเศษเผาไหมจ ากการยงิ นดั กอ น เปนส่งิ สกปรกท่ีไปรวมกับ 17Chandler, The Art of Warfare, p. 178, บอกขนาดที่ตางกันเปน 10 ฟุต10 นิ้วกับ 6 ฟุต 3 น้ิว โดยขนาดของขาพเจามาจาก Denis Diderot et al.,Encyclopédie, 17 vols. Text, 12 vols. Plates (Paris, 1751-65), vol. I plates,plates V and VI in art militaire, fortification. ยืนยันวา แผนโลหะเหลานี้แสดงภาพปนใหญแบบใหม (de nouvelle invention) กับปนใหญแวลลิเอียร(Vallière) ของประมาณป 1732 (พ.ศ.2275) แตปนใหญแวลลิเอียรมีขนาดแบบปนรุนเกา แผนโลหะเหลาน้ีทําใหสามารถเปรียบเทียบไดวา กระบอกปนใหญเรยี วลงตา งจากปน ใหญแบบใหม เพ่ือชวยในการอัดดินปนแตยังคงใชผนังลํากลองบางไปตามลํากลองความยาว และนํ้าหนักทั้งหมดท่ีแสดงเปนระบบฝรั่งเศสของการปกครองแบบเกา . ลนิ น

77สวนบรรจุใหมที่อัดลงไป ส่ิงนี้ “ทําใหเกิดอุบัติเหตุตอพลประจําปนใหญท่ีปฏิบัติงานตอปนใหญโดยเฉพาะเมื่อตองทําการยิงโดยรวดเร็ว”1718 และปนใหญท่ีเบาจะมีการสะบัดที่รุนแรง ทําใหแครรับปนเสียหาย, กระแทกตอชองกําแพง, และลดความแมนยํา ทัง้ น้ี เนอื่ งจากปน ดังกลาวมมี วลนอยลงทจ่ี ะลดการถอยของปนตาราง 3.1 นา้ํ หนกั ลาํ กลองและลกู ปนของปนใหญฝ รั่งเศส ป 1650-1800(พ.ศ.2193-2243) Vielle invention Nouvelle invention Vallière system Gribeauval systemน้าํ หนักลกู ปน (ประมาณป 1660) (ประมาณป 1680) (1732) (1776)4 1,300 livres 600 livres 1,150 livres 290 กก./638 ปอนด8 1,950 livres 1,000 livres 2,100 livres 580 กก./1,276 ปอนด12 3,400 livres 2,000 livres 3,200 livres 880 กก./1,936 ปอนด16 4,100 livres 2,220 livres 4,200 livres24 5,100 livres 3,000 livres 5,400 livres นา สนใจทจ่ี ะเปรียบเทยี บความลมเหลวของปนใหญแ บบใหม (Cannon denouvelle invention) กับความสําเร็จของปนแบบกรีโบวั่ล (Gribeuval) ที่ใชในป1770 (พ.ศ.2313) (ดูตาราง 3.1) แมวาปนแบบกรีโบวั่ลอางวา มีการผลิตที่แมนยํากวาและไดพ ฒั นาหองรงั เพลิง แตปน ทัง้ สองแบบกม็ นี ้าํ หนักเทา กนั ปนใหญแบบใหม(Cannon de nouvelle invention) อาจมีความคลองแคลวในการเคลื่อนท่ีในระดับสูงเทากับปนแบบกรีโบวั่ลที่จัดหาในภายหลัง1819 แตศักยภาพนี้ก็ไมสามารถทําใหเปนจรงิ เปน จงั ได ทําไม? 18สําหรับขอเสียสามขอท่ีกลาวนี้ ดู Diderot, Encyclopédie, vol. 2, p. 613;Picard and Jouan, L’artillerie française, pp. 45-6, echo two of them. 19ดูน้ําหนักเปรียบเทียบใน Diderot, Encyclopédie, vol. 2, p. 608;Picard and Jouan, L’artillerie française, pp. 44-7; Howard Rosen,“The Système Gribeauval,” p. 130; Matti Lauerma, L’L’artillerie decampagne française pendant les guerres de la Révolution (Helsinki, 1956),pp. 10; และ Chandler, The Art of Warfare, p. 178. การเสริมสรางกองทัพแบบตะวันตกในฝรงั่ เศสศตวรรษท่ี 17

78 ขอแตกตางที่สําคัญระหวางปนใหญเบาทั้งสองแบบ คือ ลํากลองของปน ใหญแ บบใหม (de nouvelle invention) ไมเปนทพ่ี ึงประสงคสาํ หรับสงครามปด ลอมของศตวรรษที่ 17 และตน ศตวรรษที่ 18 เน่อื งจากลาํ กลองของปนแบบใหมสะบัดรุนแรงและทําลายชองกําแพง พลยิงจึงชอบแบบที่หนักกวา ซึ่งมีความคุนเคย มั่นคง และปลอดภัยกวาปนที่เบากวา ยกเวนเม่ือตองการความคลองแคลวในสนามรบเปนสิ่งสําคัญ เรื่องการเมืองในการผลิตปนก็อาจสงผลตอการยอมรับปนใหญใหม โดยพลโทปนใหญในสวนภูมิภาคเห็นวา คําสั่งใหผลิตปนใหญใหมเปนการทาทายอํานาจของตนที่จะหลอปนท่ีตนเห็นวาเหมาะสม1920 ซึ่งหากพิจารณาเฉพาะน้าํ หนักทถ่ี ูกลดลงไปเพียงอยางเดียว ปน ใหญใ หม (Cannon de nouvelleinvention) ก็จะเทากันกับปนแบบกรีโบว่ัล (Gribeuval) ใหม และเน่ืองจากแบบแรกไดมีมากอนหนึ่งศตวรรษ การพัฒนาของปนใหญเหลาน้ีจึงอาจเปนเร่ืองเหลือเชื่อเนื่องจากเปนสิ่งที่ไมสามารถคาดการณไดอยางยิ่ง การที่ปนใหญแบบใหม(Cannon de nouvelle invention) ลมเหลวในการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติในสนามรบของปลายศตวรรษที่ 17 แสดงถึงประเด็นท่ีวา เทคโนโลยีทางทหารตองเหมาะสมกบั กรอบแนวคิดกวาง ๆ ของสงครามทจี่ ะเปนผล ไมควรมองวา กรณที กี่ ลา วไปเปน การเหมารวมยกเลกิ บทบาทของเทคโนโลยีในชว งตนของสงครามสมยั ใหม ซง่ึ ในท้งั สองกรณนี วตั กรรมทางเทคโนโลยขี องกลมุ ที่เฉพาะทางทส่ี ดุ เปนปจ จยั สําคญั ในปลายศตวรรษที่ 15 และ 16 เรือใบเดินทะเลแบบ 3 เสากระโดง (Three-masted caravel-built sailing ship) ซึ่งเปนผลผลติ หน่งึ ของสถาปต ยกรรมเกี่ยวกับเรือตอนปลายยุคกลางเปนส่งิ สาํ คัญย่ิงนอกเหนอื จากปน ใหญของยุโรป โดยเปนพนื้ ฐานดา นการขนสง และอาวธุ ทีส่ ดุ ยอดในชวงนั้น ถา ไมม เี รอื นก้ี ารขยายอาณานคิ มของยุโรปกอ็ าจไมม ที างที่จะเปน ไปไดนอกจากนี้ ความกา วหนา ของการออกแบบและการผลิตปน ใหญใ นศตวรรษที่ 15ในท่ีสุดก็ไดปฏิรูปสงครามทั้งทางทะเลและทางบก โดยในสงครามทางทะเล 20Rosen อางวา พลโทดังกลา วยนื ยนั วา เปนการคกุ คามทางการเมอื งตอมาตรฐานของปนใหญ (Rosen, “The Systeme Gribeauval,” p. 132). ลนิ น

79ปนใหญท่ีติดตั้งบนเรือทําใหยุโรปแผขยายออกไปทั่วโลก ในสงครามทางบกปนใหญมีบทบาทที่สําคัญยิ่งเพ่ิมข้ึน ในสงครามปดลอมและสงครามในสนามรบตามที่เจฟฟรี่ พารคเกอร (Geoffrey Parker) อธิบาย ปนใหญยังทําใหตองมีการสรางปอมคายแบบใหม คือ ปอมปนใหญแบบยุโรป ซึ่งมีลักษณะพิเศษท่ีโครงสรางที่ต่ํา,กําแพงเอียงท่หี นา, ทางเดินของปอ ม, และวางปนใหญปองกันปอมปราการท่ีสรางในลักษณะนี้และติดตั้งปนใหญแบบยุโรปเปนลักษณะสําคัญทั่วโลก ปอมปราการเหลานี้ไมเพียงแตทําใหตะวันตกครอบครองทะเล แตยังตอการรักษาและปองกันอาณานิคมการคาทั่วโลก2021 ซึ่งในยุคของพระเจาหลุยสท่ี 14 ไมสามารถอวดอางความกา วหนา ทางเทคโนโลยีในระดบั ทเี่ ทยี บเคยี งกนั ได การเปลยี่ นแปลงทสี่ าํ คญั สามประการในศตวรรษที่ 17 นวัตกรรมเชงิ กรอบแนวคิดและเชิงระบบ ไมใชการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีมีผลชดั เจนตอสงครามในศตวรรษท่ี 17 การเปลี่ยนแปลงประการแรก คือ ทัศนคติใหมและความรูสึกไมยอมพายแพในการรบ ซึ่งเปนแนวทางที่ไดกลาวไวในบทความนี้วาเปน “การปลูกฝงความอดทนอดกล้ันในการรบ (Battle culture of forbearance)”ประการที่สอง เปนการเสริมตอจากประการแรก คือ การใชการฝกเพื่อควบคุมและธํารงกองทหารตามการแนวทางการปลูกฝงการทําสงครามนี้ ประการท่ีสามคือ การเกิดของหนวยทหารรูปแบบใหม ตัวอยางคือ หนวยทหารแบบกรม(Regiment) ของยุโรปในปลายศตวรรษที่ 17 ซึ่งถาการปฏิวัติการทหาร (Militaryrevolutions) ตามความหมายทีแ่ ตกตาง สามารถใชเวลาหน่ึงศตวรรษ หรือมากกวาดงั น้ัน การเปลี่ยนแปลงท้งั สามนี้ ก็จะเปนการเปลยี่ นแปลงแบบปฏวิ ตั ิอยา งแทจริง1. การปลกู ฝงความอดทนอดกล้นั ในการรบ (Battle culture of forbearance) พระเจาหลุยสท่ี 14 เขียนไววา “ระเบียบที่ดีทําใหเราดูเหมือนกับไดรับหลักประกัน และดูเพียงพอที่จะดูวากลาหาญ เน่ืองจากบอยครั้งท่ีขาศึกของเราไมคอยใหเราใกลพอที่จะแสดงวาที่จริงแลวเรากลาหาญ ([g]ood order makesus look assured, and it seems enough to look brave, because most 21ดู The Military Revolution, Chapter 4 ของเขา. การเสรมิ สรางกองทัพแบบตะวันตกในฝร่งั เศสศตวรรษที่ 17

80often our enemies do not wait for us to approach near enough for usto have to show if we are in fact brave.)”2122 สําหรับพระเจาหลุยสที่ 14ระเบียบ (Order) หมายถึง ชัยชนะอันเปนเคล็ดลับท่ีดูม่ันคง ซึ่งไมใชเพียงพระองคเทานั้นสําหรับนายพลและนักคิดทางทหารสนามรบ โดยเฉพาะการรบของทหารราบไดกลายมาเปนบททดสอบความมุงมั่น ชัยชนะจะไดมาแกกองทหารที่สามารถทนทานตอความเลวรายท่ีสุดที่ขาศึกสามารถกระทํา และยังคงรักษาระเบียบไวไดแทนท่ีจะเปนกองทหารที่สรางความสูญเสียทางกายภาพอยางสูงสุดแกอีกฝายหน่ึงโดยจอมพลแคททินาท (Catinat) ทหารนักปฏิบัติผูหน่ึง ไดยืนยันในการกลาวถึงการโจมตีหน่ึงวา “ผูที่ฝกทหารไมใหยิงและใหตระหนักวาจะตองถูกยิงจากขาศึกคาดไดเลยวาขาศึกท่ียิงจะพายแพอยางแนนอน เมื่อทหารของผูน้ันไดทําการยิงไปทั้งหมด ([o]ne prepares the soldier to not fire and to realize thatit is necessary to suffer the enemy’s fire, expecting that the enemywho fires is assuredly beaten when one receives his entire discharge.”2223)การเนน ถึงการทนตอการสูญเสยี น้ี ตางจากผูมจี ิตวญิ ญาณนกั รบ (Warrior ethos)แบบดั้งเดิมที่ถูกส่ังใหโจมตีโดยไมรีรอ ความจริงที่นาประหลาดใจ คือ ยุโรปศตวรรษท่ี 17ไดพ ัฒนาวฒั นธรรมการรบเปนความอดทนอดกล้ันมากกวา ความรนุ แรง ชัยชนะของอํานาจการยิงนํามาซึ่งชัยชนะของความอดทนอดกล้ัน(The triumph of firepower brought the triumph of suffering)อาวุธระยะไกลทําใหกองทัพตาง ๆ ตองทนตอการสูญเสียกอนท่ีกองทัพเหลาน้ันจะสามารถตอบโตได การตอบโตตอปนใหญที่ไดผลเพียงประการเดียว คือตองขามผานหวงแหงความเปนหรือตาย (Valley of death) และสังหาร 22Louis XIV, Mémoires de Louis XIV pour l’instruction dudauphin, e. Charles Dreyss, 2 vols. (Paris, 1860), vol. 2, pp. 112-13;สําหรับความคิดเห็นทั่วไปของประเด็นท่ียกมาน้ี ดู Lynn, Giant of the GrandSiècle, chapter 15. 23Catinat ใน Colin, L’infanterie au XVIIIe siècle, หนา 25. ลินน

81พลประจําปนใหญทัพของโรมันเผชิญกับทัพของพาเธียน (Parthians) และฝรั่งเศสหรือกําลังของสกอตที่เผชิญกับพลธนูคันยาวของอังกฤษมีปญหาท่ีคลายกันแตไมมีอาวุธ ในครั้งกอนที่มีระยะยิงเทาปนใหญ หรือสามารถสรางความเสียหายอยางนากลัวเชนนั้นได ปนคาบศิลา (Musket) จะใกลเคียงกับธนูมากกวาในดานระยะยิงและในคุณลักษณะอืน่ ๆ บางประการดวย เชนเดียวกับธนูคันยาวปนคาบศิลาเหนือกวาอาวุธปองกันทั้งหมด สามารถหยุดยั้งการโจมตีของขาศึกไดมากกวาในการทําลายกําลังขาศึกที่โจมตี นอกจากน้ี ขณะที่พลธนูจะไมคอยไดตอสูกับพลธนูดวยกันแตพลปนแบบจุดชนวนและพลปนแบบใชนกสับ มักจะตองเผชิญกับกําลังท่ีมีอาวุธแบบเดียวกัน และแมแตในการรุกพลปนคาบศิลาก็ตองถูกนํามาใช การสูญเสียอาจมากมายย่ิงเมื่อกําลังยืนอยูในระยะประชิด และสาดกระสุนตับแลวตับเลาเขาใสกันและกัน แตตามท่ีพระเจาหลุยสบันทึกไว โดยปกติฝายหน่ึงจะแตกพายทําใหย ตุ กิ ารดวลกนั เม่ืออํานาจการยิงกลายเปนสิ่งพื้นฐานการใชเกราะก็หมดส้ินไปดว ยการปองกันกลายเปนศูนย ในชวงน้ันทหารไดรับคําส่ังมาตรฐานใหรอการยิงไวใหนานที่สุดเทาท่ีทําไดคือ “จนกวาจะเห็น นัยนตาขาวของขาศึก (Until you see the whites of their eyes)”โดยในบันทึกพระราชประวตั ทิ ่ีถวายแด ยุวกษัตริยของฝร่ังเศสในป 1663 (พ.ศ.2206)ดี ออแยคค (d’Aurignac) ทหารผูมีประสบการณไดใหคําแนะนําแกนายพลตาง ๆวาสิ่งสําคัญท่ีสุดตอง “ส่ังทั้งทหารมาและทหารราบเมื่อเคลื่อนเขาใกลขาศึกใหทําการยิงเฉพาะหลังจากที่ขาศึกไดทําการยิงกอน” ซึ่งโวบาน (Vauban) สรุปส้ัน ๆ วา“โดยปกติในการรบแบบเผชิญหนากันฝายท่ียิงทีหลังจะไดเปรียบ”2324 ซ่ึงในยุคของอาวุธที่ไมแมนยําและบรรจุไดชา ก็นับวาเปนสิ่งที่มีเหตุผลที่จะรอการยิงไวจนใกลพอทีจ่ ะเหน็ ชดั เจนและที่ระยะประชิด กําลังที่ยิงกอนจะเหมือนกับการปลดอาวุธตนเองซึ่งท้ังหมดนี้เปนความจริง แตเพ่ือรอการยิงของตน ทหารจะตองอดทน ตองระงับความกลวั ท่เี กิดขนึ้ โดยรวดเร็วและสญั ชาตญาณท่ีจะทําบางส่งิ ไมวาสิง่ ใด ๆ ในการเผชิญตออันตรายท่ีสุดจะทนได และเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ สําหรับ ดี ออแยคค (d’Aurignac) 24Sebastien le Prestre de Vauban, A Manual of Siegecraft andFortification, trans. G. A. Rothrock (Ann Arbor, MI, 1968), หนา 123. การเสริมสรางกองทพั แบบตะวันตกในฝรง่ั เศสศตวรรษที่ 17

82ทหารตองพยายามควบคุมตนเอง หรือนายทหารของทหารตองบังคับควบคุมทหารแมแตในการรุกทหารราบฝรั่งเศสของสมัยมหาศตวรรษ (Grand siècle – รัชสมัยของพระเจาหลุยสท ่ี 14) ไดร บั คําส่ังไมใ หพ ูด คือ เงยี บ อยูในระเบียบ และหนักแนน (Solidity)อาจเปนการสมควรที่จะอธิบายถึงการเนนยํ้าเร่ืองความอดทนอดกล้ันที่เพียงแคอางถึงขอจํากัดของปนคาบศิลาแบบนกสับและดาบปลายปน แตการอธิบายดังกลาวอาจเปนเพียงเร่ืองท่ีพูดเกินจริงดวยอาวุธเดียวกันน้ี กองทัพที่เปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของฝร่ังเศส ไดพัฒนาและใชการปลูกฝงการรบที่แตกตางอยางย่ิงและรุนแรงยิ่งกวา โดยยอมสละระเบียบ (Order) แลกกับความเร็วและความฮึกเหิม(élan) โดยกําลังที่กําลงั รุกทําการรอ งเพลงและรองตะโกน เพ่ือสรางความหวาดกลัวท่เี หลือคณานบั แกข า ศกึ ของตน ท้งั น้ี การปลกู ฝง การรบของปลายศตวรรษท่ี 17วิวฒั นาการมาจากจติ วิทยาเฉพาะ ไมใ ชเทคโนโลยเี ฉพาะในหนังสือเลมกอน รัสเซล ว๊ีกลีย (Russel Weigley) นักประวัติศาสตรทหารชาวอเมริกันท่ีมีช่ือเสียง ใหคําจํากัดความวา ตลอดหวงป 1631-1815(พ.ศ.2174-2358) เปน “ยุคแหงสงคราม (The Age of Battles)” ซ่ึงเปนชวงท่ีทหารตาง ๆ เช่ือวาสงครามใหผลลัพธที่เด็ดขาด2425 ซึ่งสงครามในฐานะของการฝกฝนความอดทนอดกลั้นไมสอดคลองกับภาพนี้ในการปลูกฝงการรบของฝร่ังเศสในชว งคร่ึงหลงั ของมหาศตวรรษ (Grand siècle – รัชสมัย ของพระเจาหลุยสท่ี 14)สงครามถูกมองวาตองเปนการสิ้นเปลืองและก็เปนเชนน้ัน แตการเสียดทานท่ีมีมาโดยตลอดกย็ งั ไมส ามารถสรา งการตัดสินใจยุตสิ งครามได การสูญเสียอยางมากมายในการรบเพียงแคเพิ่มความส้ินเปลืองในการสยบสงคราม ซ่ึงเปนส่ิงสําคัญในสมัยมหาศตวรรษ (Grand siècle - รัชสมัยของพระเจาหลุยสท่ี 14) 26 นอกจากนี้ 25 25Russel F. Weigley, The Age of Battles: Tge Quest for DecisiveWarfare from Brietenfeld to Waterloo (Bloomington, IN, 1991). 26John Keegan เชื่อวาการรบไมแตกหักอยางแทจริงเนื่องจาก ดุลยภาพอาวุธตาง ๆ แตส่ิงนี้ดูเหมือนขอโตแยงที่ดูออนดอย เน่ืองจากมีความคอนขางเทาเทียมกันของอาวุธยุทโธปกรณ แมแตในการรบแตกหัก ที่สุดเชน Blenheim ลนิ น

83โอกาสและสิง่ ทไ่ี มคาดคิดดูเหมือนจะเปนส่ิงท่ีควบคุมสนามรบ บรรดาผูบัญชาการทัพของฝร่งั เศสไดต ระหนักวา สงครามไมไดเปนแบบเสนตรง (Non-linear) ตามศัพทปจจบุ ันที่แยกวา นนั้ การมีเมอื งทมี่ ปี อ มปราการจํานวนมาก และการท่ีตองพ่ึงพากันของกองทัพตาง ๆ ในระบบสงกําลังบํารุงที่ไมเพียงพอ โดยถนนมีสภาพที่แย หรือไมมีถนน และการสงกําลังท่ีมีการจัดหนวยท่ีไมดี ซ่ึงใชขบวนรถเทียมสัตว ทําใหยากท่ีจะเปล่ียนชัยชนะในสนามรบไปเปนผลลัพธทางการเมืองที่เด็ดขาด จากสภาพเหลาน้ีทําใหการรบดูเหมือนเปนวิธีท่ีไมมีหวังวาจะสําเร็จ ซ่ึงแมแตกษัตริยองคเดียวกันท่ีไดทรงใหความเห็นวา ระเบียบที่ดี (Good order) เปนส่ิงเพียงพอที่จะไดรับชัยชนะ ก็ยังทรงไมไววางพระทัยตอส่ิงที่จะไดจากการรบ โดยสําหรับพระเจาหลุยสที่ 14และสงครามปดลอมของยุคของพระองคแลว จะดูเหมือนวาสามารถคาดการณไดมากกวา คือ มีลักษณะที่เปนเหมือนเสนตรงมากกวา และประกันผลลัพธไดม ากกวา 2. การฝก (Drill) ระเบียบ (Order) ทามกลางความสับสนในการเผชิญกับความตายเปนเร่ืองท่ีหางไกลจากธรรมชาติของมนุษยซ่ึงเปนส่ิงท่ีตองเรียนรู การฝกทหารราบจะเนนท่ีการเชื่อฟงคําส่ังและความอดทน ท้ังนี้ ยังไมเพียงพอที่ทหารควรจะเช่ียวชาญเคร่ืองมือตาง ๆ ของสงคราม แตตัวทหารเองก็ตองเปนผูเช่ียวชาญดวยในยุคตอ ๆ มา นายทหารตาง ๆ ก็ไดบังคับหรือพบวาตนเองถูกบังคับใหเช่ือม่ันในความริเริ่มของกําลังทหารของตน แตในระหวางสมัยมหาศตวรรษ Grand siècle -รัชสมัยของพระเจาหลุยสที่ 14) บรรดาแมทัพท่ียึดมั่นในการปกครองแบบคณาธิปไตยของชนช้ันสูง (Aristocratic) จะเปนผูควบคุมและกระตุนกําลังพลระดับลาง ๆโดยการควบคุมตนเองตองใหเปนการควบคุมของนายทหารตาง ๆ การปฏิบัติตาง ๆตองเปนไปโดยอัตโนมัติและเชื่อฟงโดยสมบูรณ และตองบังคับทั้งสองอยางน้ีเม่ือเกณฑเขามา ซ่ึงเปนไปตามที่ไมเคิล โรเบิรต (Michel Roberts) ไดระบุวา(Keegan, A History of Warfare [New York, 1993], หนา 345). การเสริมสรางกองทัพแบบตะวันตกในฝร่ังเศสศตวรรษท่ี 17

84“การปฏวิ ัติในการฝก (Revolution in drill)” เปนกุญแจสําคัญ2627 ระหวางครึ่งแรกของศตวรรษท่ี 17 กองทัพดัชทแลวก็สวีเดนไดใชรูปขบวนหนากระดานแบบใหมที่ตรงกันขามกับรูปขบวนสี่เหล่ียมจัตุรัสของทหารราบหนักท่สี เปนใชสรา งช่ือเสียง ความยุงยากของยุทธวธิ ีแบบหนากระดานทําใหตองใชความชํานาญระดับสูงของกองทหารตาง ๆ การฝกจึงไดรับการพัฒนาข้ึนเปนเร่ืองแรกเพื่อสรางความชํานาญนั้น การที่ฝรั่งเศสรับเอารูปขบวนทหารราบของดัทชและสวีเดนมาใช ถือเปนการพัฒนาไมใชการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติซงึ่ ยุทธวธิ ที น่ี ํามาใชน ี้สอดคลองกับการพัฒนาชาติฝรั่งเศสในยุคตนๆ2728 แตเพ่ือปองกันผลกระทบรายแรงตอระเบียบของรูปขบวนแบบหนากระดานของดัทชและสวีเดนตองไมปฏิเสธวาการฝกที่ชาติเหลานี้ไดสรางข้ึน เพื่อใชรูปขบวนใหมของตนเปนสิ่งท่ีไมใชการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติ ตรงกันขาม ในสวนของฝร่ังเศสการสรางการฝกเปนนวัตกรรมท่ีสําคัญย่ิงและมีสวนเกี่ยวของที่สําคัญ การฝกดังกลาวไดรับการพัฒนาข้ึนโดยมัวริสแหงนัซซอ (Maurice of Nassau) และพัฒนาเพ่ิมเติมโดยกัสตีวัส อาดอลฟูส (Gustavus Adolphus) ทําใหสามารถดําเนินกลยุทธไดรวดเร็ว และอัตราการยิงที่ไมอาจรูไดจนปจจุบันน้ี ซ่ึงลักษณะความพรอมรบทางยุทธวิธีนี้ไดดึงดูดนายทหารของฝรั่งเศสในการ ท่ีจะไปเนเธอรแลนด และเยอรมันตอนเหนอื พระเจา หลยุ สท่ี 13 เปนพระองคแ รกทนี่ ําวธิ ีการของดัชทและสวีเดน มาใชแตไมมกี ษัตรยิ ฝ รง่ั เศสองคใ ดสนใจในการฝก มากเทาพระเจา หลยุ สท ่ี 14 ซ่ึงพระองคทรงเช่ือม่ันวา “สงครามหลายสงครามสามารถชนะไดดวยรูปขบวนท่ีดี และดวยความอดทน (การควบคุมจิตใจ) ท่ีดี มากกวาดวยดาบและหนวยปนคาบศิลา…ซ่ึงธรรมเนยี มการปฏิบตั ขิ องการเดนิ รูปขบวนที่ดีและการรักษาระเบียบ จะสามารถ 27Roberts, The Military Revolution, p. 10; ในการฝก ศตวรรษที่ 17 ดูLynn, Giant of the Grand Siècle, chapter 15. 28ดู John A. Lynn, “Tactical Evolution in the French Army,15601660,” French Historical Studies 7:4 (1985). ลนิ น

85ไดมาก็ดวยการฝกเทาน้ัน”2829 และอีกคร้ังหน่ึงพระองคไดกลาวย้ําประเด็นท่ีวาการรักษาระเบียบของรูปขบวนทําใหชนะการรบ ไมใชการรบที่นองเลือดพระเจาหลุยสที่ 14 เปนพระองคหนึ่งที่เชื่อวา ตองฝกกองทหารของพระองคดว ยตนเอง และเขารวมการฝกเมื่อใดก็ตามท่ีทําได พระองคทรงยอมรับวา พระองค“บอ ยคร้งั ทท่ี รงใชเวลาวา ง (ของพระองค) ทําการฝกเองกอนที่ (พระองค) จะรวมฝกกับกองทหาร บางทีก็ครั้งหน่ึง บางทีก็อีกครั้งหน่ึง และบางทีก็หลายครั้งรวมกัน”2930ความกระตอื รือรนน้ไี มใ ชเ พียงแคเ ปนความแปลกของพระองคเทานั้น แตพระองคทรงหวังท่ีจะทําพระองคใหเปนตัวอยาง “ขาพเจาดํารงการฝกกองทหารที่ใกลชิดขาพเจาอยางเอาใจใส เพ่ือที่วาดวยการเปนตัวอยางของขาพเจา นายกองทหารแตละคนจะเรียนรูที่จะเอาใจใสเชนเดียวกันตอผูท่ีอยูใตบังคับบัญชาของตน”3031ท้งั นี้ พระองคท รงแนะนาํ ทายาทของพระองคอยางหนักแนนวา “การดาํ เนนิ การน้ีในการฝกกองทหารเปนสิ่งหนึ่งท่ีขาพเจาแนะนําใหพวกทานเอาอยางขาพเจาใหม ากทสี่ ดุ ”3132 พฤติกรรมที่ตองการของทหารราบในการรบและที่ไดเรียนรูจากการฝกดูเหมือนไมเปนธรรมชาติ และฝนสัญชาตญาณอยางยิ่ง ซ่ึงมุมมองในยุคน้ันระดับของความชํานาญการ (ทักษะ) ที่ตองการของทหารราบจะสูงกวาที่ตองการของทหารมา โดยแชมเลย (Chamlay) เขียนไววา “ตองใชเวลาหาถึงหกปเพ่ือสรางหน่ึงกรมทหารราบ แตใชเพียงปเดียวเพื่อสรางหนึ่งกรมทหารมาท่ีดี”3233ซ่ึงส่ิงน้ีอาจเปนท่ีประหลาดใจแกนักประวัติศาสตรที่คุนเคยกับมุมมองของปลายศตวรรษที่ 18 ที่ใชเวลาฝกทหารมานานกวา จากการปฏิวัติฝรั่งเศสการใหความสาํ คัญตอหลกั การแบบเครอื่ งจักรกลเสื่อมถอยลง และความชํานาญการของทหารราบก็ดูจะมีความชํานาญไดงายขึ้น ตอมานโปเลียนเอง ก็ไดให 29Louis XIV, Mémoires, vol. 2, pp. 112-13. 30Louis XIV, Mémoires, vol. 2, pp. 125. 31Louis XIV, Mémoires, vol. 2, pp. 237 หมายเหตุ. 32Louis XIV, Oeuvres, vol. 2, pp. 113-14. 33Chamlayใน Jean Bèrenger, Turenne (Paris, 1987), pp. 384-5. การเสรมิ สรา งกองทัพแบบตะวนั ตกในฝร่งั เศสศตวรรษที่ 17

86ความเห็นวา เวลาสามเดือนเปนเวลาที่เพียงพอท่ีจะฝกทหารท่ีเกณฑ เขามาคนหน่ึงสาํ หรบั การรบ ถาไดอยกู ับหนว ยทม่ี ีประสบการณ3334 ในชวงตนของการครองราชย พระเจาหลุยสพยายามที่จะชดเชยสําหรับความไมเพียงพอในการฝกของฝร่ังเศสดวยระเบียบและคําสั่งตาง ๆ ซ่ึงกําหนดรูปแบบ สําหรบั ชว งทีเ่ หลอื ของรัชสมยั ของพระองค (มหาศตวรรษ - Grand siècle)โดยในระเบียบหนงึ่ ของป 1661 (พ.ศ.2204) ไดเพิ่มภาระในการฝก คือ: เพ่ือดํารงกองทหารราบดังกลาวไวในระเบียบและวินัยทหาร, เพ่ือสอนทหารในการใชอาวุธของตนและการพัฒนา, และเพื่อสอนทหารในรูปแบบและลักษณะของการรบสิบเอก-พันตรีของเมืองและปอมตาง ๆ ตองทําการฝกทั่วไป สําหรับทหารราบท่ีอยูในคายทหารเดือนละคร้ัง และผูบังคับหนวยและนายทหารของกองทหารดังกลาว ตองใหทหารของกองรอยตาง ๆ ของตน ท่ีไมไดเขาเวรยามปฏิบัติ (ฝก)อยางนอยสัปดาหละสองคร้ัง และทหารท่ีละเลยท่ีจะฝกฝนตนเองและไมฝกใหดีจะตอ งถูกปรบั ปรุง3435 ทั้งน้ี มีคาํ สงั่ ที่คลายกนั ปรากฏซา้ํ แลว ซ้าํ เลา ในครึ่งหลังของศตวรรษ วัตถุประสงคของการฝกไดเปลี่ยนไปอยางเห็นไดชัดจากการสรางความชํานาญไปเปนการทําใหเกิดผลดานจิตวิทยา ในการดํารงใหอ ยูรว มกันในชวงระยะเวลา (Keeping Together in Time) วิลเล่ียม แมคนีลล(William McNeill) กลาววา การเคลื่อนไหวทางกายภาพเปนกลุมในการเตนรํา 34ระหวางการปฏิวัติฝรั่งเศส นายพลวิมพเฟน (Wimpfen) กลาววาทหารราบสามารถพรอมในหกสัปดาห ขณะที่ทหารมาใชเวลาสามถึงส่ีปทหารปนใหญเจ็ดหรือแปดปเพื่อฝกอยางเหมาะสม (กลาวโดยนายพลฟลิกซวิมพเฟน (Felix Wimpfen) ในสภาประชุมแหงชาติ (National Assembly, 15December 1789, Archives Parlementaires de 1789 à 1860, premièresérie [Paris, 1867-1980], vol.10, p. 587); Napoleon in Jean Morvan, Lesoldat imperial, 2 vols. (Paris, 1904), vol. I, p.282. 35ระเบียบ 12 ต.ค.2104 (Ordinance of 12 October 1661, art. 19,ใน André, Le Tellier, p. 557 note. ลนิ น

87หรือการฝก จะเสริมสรางความเปนปกแผนของกลุมโดย “การเช่ือมความสัมพันธของกลามเนื้อ (Muscular bonding)”3536 ซ่ึงมีขอสงสัยเล็กนอยวาการฝกจะเพิ่มความเปนปกแผนของหมูคณะไดอยางไร และจากการวิจัยพบวา ความสําคัญของความเปนปกแผนนั้น จะสนับสนุนทหารในการรบและยึดเหน่ียวทหารไวกับภารกิจของตน3637 สําหรับแมคนีลลแลว ผลท่ีแนนอนของการฝก ทั้งในอดีตและยังคงเปนอยูในปจจุบัน คือ ความรักหมูคณะ (Esprit de corps - เอสพรีท เดอ คอร)ซ่ึงเปน การหลอมรว เอกลักษณของหนว ย (Forging of group identity) นอกจากเพื่อสรางความรูสึกท่ีดีดวยการสรางความสัมพันธของกลามเนื้อ(Muscular bonding) ท่ีในมุมมองของท่ีแมคนีลล (McNeill) ไดเนนยํ้าการฝกจะทําใหม่ันใจถึงผลการปฏิบัติในสนามรบท่ีบรรลุผลในดานอื่น ๆ ผูฝก (Drillmaster)จะสอนทหารใหเกรงกลัวตอผลของการไมเชื่อฟงคําสั่ง เมื่อพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราช(Frederick the Great) ทรงกลาววา พระองคตองการใหทหารของพระองคมีความเกรงกลัวนายทหารมากกวาภยันตรายตาง ๆ ท่ีเผชิญในสนามรบ กษัตริยนักรบพระองคน้ีทรงดําเนนิ การไดตรงประเด็นอยางยิ่ง3738 ซ่ึงความกลัวถวงดุลดวยความกลัวทําใหเกิดความสงบนิ่งมากขึ้นภายใตการยิง นอกจากนี้ การปฏิบัติแบบเครื่อง 36William H. Mcneill, Keeping Together in Time: Dance and Drillin Human History (Cambridge, MA, 1995). 37มีการเขยี นมากมายเก่ียวกับความเปนปกแผนของหมูคณะท่ีสําคัญ ดูในS. L. A.Marshall, Men Against Fire (Gloucester, MA, 1947 [1978]),Samuel A. Stouffer et al., The America Soldier: Combat and ItsAftermath (Princeton, NJ, 1949), และ Anthony Kellett, CombatMotivation (Boston, MA, 1982) สําหรับขอพิจารณาของความเปนปกแผนท่ีสําคัญในกองทัพฝรั่งเศสสมัยใหมตอนตน ดู John A. Lynn, Bayonets of theRepublic: Motivation and Tactics in the Army of RevolutionaryFrance, 1791-94 (Boulder, CO, 2nd ed., 1996). 38J. F. C. Fuller, A Military of the Western World, vol. 2 (New York,1955), p. 196. การเสริมสรางกองทัพแบบตะวันตกในฝร่ังเศสศตวรรษที่ 17

88จักรกลท่ีการฝก ตองการจะดึงทหารจากแรงดลใจที่จะหลบเขาท่ีกําบังหรือหนีท้ังนี้ ยังไมเปนการเพียงพอที่จะเพียงแคฝกการเคลื่อนไหวจําเปนในการบรรจุกระสุนปนคาบศิลาหรือตั้งทาพุงหอก ส่ิงเหลาน้ีตองเปนไปโดยอัตโนมัติที่กําลังทหารจะปฏิบัติหนาที่ของตนโดยไมคํานึงถึงอันตราย ดังนั้น การฝกจึงเปนสิ่งสําคัญตอการควบคมุ กายและใจ ซงึ่ การปลูกฝง ความอดทนอดกลน้ั ในการสงครามตองการ 3. การต้ังหนวยทหารสมัยใหม เ มื่ อ แ น ว คิ ด ข อ ง ส น า ม ร บ เ ป ลี่ ย น ไ ป ใ น ช ว ง เ ว ล า ข อ ง ศ ต ว ร ร ษ นั้ นรูปแบบใหมข องหนวยทหารกไ็ ด เกิดขึ้น คอื กรม (Regiment)3839 การจัดหนวยนี้ในปลายป 1600 (พ.ศ.2143) ไดกลายเปนการจัดท่ัวไปของ กองทัพฝรั่งเศสและยุโรปโดยมีลักษณะท่ีผิดไปจากปจจุบัน คือ มีมาตรฐาน, ถาวร และใชทหารชายแมการจัดหนวยแบบนี้จะไมใชรูปแบบทหารแบบแรกท่ีใหความสําคัญตอชีวิตและใสใจตอสมาชิกของหนวย กรมแบบยุโรปน้ีไดสงเสริมความแรงกลาและทิศทางใหมของความภักดี นอกจากน้ี ในการจัดหนวยของทหารกรมแบบน้ี นับเปนท้ังผลผลติ และการสรา งสรรคของรฐั สมัยใหม แหลง เริม่ ตน ที่สุดของกรมแบบนี้นา จะเปน สเปนมากกวาฝรงั่ เศส แตการจัดต้ังกรมของฝร่ังเศส มีผลกระทบท่ีสุดตอการพัฒนาการทหารศตวรรษท่ี 17กรม (Regiment) แรก ๆ ของฝร่ังเศสใชรูปแบบหนวยทหารราบของปลายศตวรรษท่ี 16พรอมชื่อตาง ๆ เชน แชมเปญ (Champagne), พี๊ดมอนท (Piedmont),และนาวาร (Navarre) ในขณะที่หนวยรักษาพระองคยังคงดํารงอยูตอไป แตกรมทหารราบแบบแถวหนากระดาน (Line infantry regiment) ของศตวรรษที่ 16ไดหายไปเกือบหมด ระหวางการปลดปลอยจากการประจําการ หลังจากกลับคืนสูความสงบ หลังป 1598 (พ.ศ.2141) กรมทหารราบไดกลับมาเกิดใหมอยางจริงจังอีกครั้ง เมื่อฝร่ังเศสเขาสูสงคราม 30 ป (Thirty Years’ War) เมื่อป 1635 39สาํ หรับการการพฒั นา, การจัดหนวย, และลําดับหนวยของกรม ดู Lynn,Giant of the Grand Siècle, Chapters 7, 9, และ 14. ลนิ น

89(พ.ศ.2178) โดยเร่ิมแรกกองทัพฝร่ังเศสดังกลาวไดจัดทหารมาของตนเปนกรมณ เวลานั้น แตกรมทหารมาข่ีมาก็ยังไมกลายเปนหนวยถาวร สวนหน่ึงอยางแทจริงของกองทัพประจาํ การของฝรั่งเศสจนกระทั่งป 1670 (พ.ศ.2213) กรม (Regiment) เปนหนวยประจําการมาตรฐานท่ีมีขนาดเฉพาะที่ประกอบดวยกองพัน 1 กองพัน หรือมากกวา แบงออกเปนกองรอยตาง ๆแมบางกรมจะประกอบดวยหลาย ๆ กองพัน แตก็ยังถือเปนกรม ไมใชกองพันซึ่งไดกลายเปนสวนสําคัญของหนวยทหารแบบใหม ซึ่งกรมไมใชเพียงแคการจัดหนวยเทาน้ัน แตจะใหความสําคัญของลักษณะเฉพาะตัวมากกวานอกจากนี้ กองรอยยังไดรับการจัดใหเปนมาตรฐานเชนกัน โดยมีกําลังตามที่ระบุและแมวาในสนามกองรอยมักจะไมมีกําลังพลตามยอดน้ัน แตก็ไมเหมือนการรวบรวมทหารที่ไมแนนอนและเฉพาะกิจในอดีต แนวความคิดในการจัดต้ังกองรอยตาง ๆ ดวยกฎระเบียบเชนเดียวกับกรมตาง ๆ กอนศตวรรษท่ี 17ซ่ึงในกรณีของฝร่ังเศสไดยอ นไปถงึ กองรอย ตามพระราชกระแสรับส่ัง (Companiesd’ordonnance) ของป 1445 (พ.ศ. 1988) ซึ่งการจัดต้ังในชวงแรก ๆ จะเกี่ยวของเฉพาะสวนหนึ่งของกองทัพฝรั่งเศสเทาน้ัน แตตอมาแนวทางการจัดต้ังกรมแบบนี้ไดแพรหลายออกไป นอกจากขอ กําหนดทเี่ ปน ทางการสําหรับจาํ นวนของกองรอ ยและทหารแลวกรมจะมีนายทหารฝายเสนาธิการตามจํานวนที่กําหนด โดยระบุชั้นยศและหนาที่ไวโดยชัดเจน สายการบังคับบัญชาของกรมซ่ึงเปนการจัดตั้งท่ีเมื่อกอน มีอยางจํากัดเทานั้น ไดรับการจัดตั้งและดําเนินการตามแนวคิดของลําดับช้ันทางทหารยศทหารไมใชศักด์ิศรีทางสังคมหรือความสัมพันธสวนตัว ระบุถึงการท่ีตองปฏิบัติตามคําส่ัง ซ่ึงไดกลายมาเปนหลักการในการปฏิบัติของกองทัพสมัยใหมโดยสถาบันทหารตาง ๆ ยังคงใชชื่อ, ประเภท, และความสัมพันธที่กําหนดขึ้นในกรมของศตวรรษที่ 17 กรมยังคงเปนหลักการท่ีย่ังยืน โดยยังคงอยูตอไปไมวาจะเปนการยุทธ,สงคราม หรอื ผบู ัญชาการทัพใด ๆ ตามความเปนจริงแลว การระดมกาํ ลงั เพือ่ สงครามทําใหเกิดกรมใหม ๆ ซํ้าแลวซํ้าเลาท่ีไมสามารถยั่งยืนไปไดจนยุติการขัดแยงน้ันอยางไรก็ตาม การจัดต้ังข้ึนช่ัวคราวเหลานี้ที่ถูกจัดทําขึ้นเปนรูปแบบหลังจาก การเสริมสรางกองทพั แบบตะวันตกในฝรง่ั เศสศตวรรษที่ 17

90มีกรมถาวรอยางแทจริง ซ่ึงกลาวกันวามีหลายกรมที่ยังคงอยูมาจนถึงปจจุบันในกองทัพของสาธารณรัฐที่ 5 (Fifth Republic) (ต้ังแตป 1958 (พ.ศ.2501)ถึงปจจุบัน) ซ่ึงการคงอยูที่ยาวนานของการจัดหนวยแบบน้ี อํานวยตอการสรางรูปแบบการปฏิบตั ิของกรมที่มีตน แบบจากลักษณะเฉพาะของหนวยท่ีเขมแข็งและอุทิศ ตัวสูง ซ่ึงถาแมคนีลส (McNeill) กลาวถูกตอง ความสัมพันธของกลามเนื้อ(Muscular bonding) และ ความสามัคคีของหนวย (Esprit de corps) ท่ีทําใหเกดิ ขึ้นดวยการฝกใหม ๆ มีสวนสําคัญในการชวยหลอหลอมการจัดหนวยทหารใหมเหลาน้ี การพัฒนาท่สี อดคลอ งกันและสมบูรณยงิ่ คือ การแยกสตรีและเดก็ สวนใหญออกจากประชาคมทหาร กองทพั ของศตวรรษที่ 16 และตน ศตวรรษที่ 17มีผูติดตามในคายพักจาํ นวนมาก โดยเจฟฟรีย พารคเกอร (Geoffry Parker)กลาววาทหารท่ผี านการรบของสเปน 5,300 คน ทเ่ี ดนิ ทัพจากเนเธอรแลนดเ มื่อป 1577 (พ.ศ.2120) มผี ทู ่ีไมใชท หารทที่ ําการรบ 14,700 คน รวมดว ย3940สว นเฮอรเ บิรต แลงเกอร (Herbert Langer) กลาววา ทหารของกองทัพจักรวรรดิ40,000 คน ในเยอรมันระหวางสงครามสามสิบป (Thirty Years’ War)มีผตู ิดตามในคา ยพัก 100,000 คน ซ่งึ มอี ยหู ลายคนทส่ี ว นใหญจะเปน ผูห ญิง4041โดยทหารจะนําภรรยา, หญงิ ทอี่ ยูกินกบั ทหารแตไ มไ ดส มรส, และเด็กไปสนามดวยในสนามสตรมี กั จะชวยทหาร จึงเปน สว นหน่งึ ของประชาคมทหารในยคุ แรก ๆแมวาจะมีเพยี งผูชายเทา นนั้ ทยี่ นื อยูแ ถวหนาของการรบ นอกจากนี้ เซอรเจมสเทอรเนอ ร (James Turner) กลา ววา บรรดาภรรยาของทหารในตน ศตวรรษที่ 17เปน เหมอื น “คนรับใช (Mules) ของสามขี องตน” และใหขอสงั เกตวา ระหวา ง 40Geoffry Parker, The Army of Flanders and the Spanish Road,1567-1659: the logistics of Spanish Victory and Defeat in the Low Countries Wars (Cambridge, 1972), p. 87. 41Langer in Barton Hacker, “Women and Military Institutions inEarly Modern Europe: A Reconnaissance,: Signs 6:4 (1981), p. 648. ลินน

91การลอมเบรดา (Breda) (1624 – 25 (พ.ศ.2167-68)) “ทหารท่ีแตงงานแลวจะดีกวามาก ดกู ระฉบั กระเฉงมากกวา , และสามารถทาํ หนา ท่ไี ดม ากกวาคนโสด”4142 ดังนั้น เพ่ือประสิทธิภาพและขวัญ กองทัพฝรั่งเศสของพระเจาหลุยสที่ 14ไดตดั กลมุ คนท่ไี มใชก าํ ลังรบเหลาน้อี อกจากขบวนทัพ ซง่ึ การดาํ เนินการดังกลาวอนุญาตใหมีพอคาเร, หญิงท่ีติดตามกองทัพหรือรักษารานคาในท่ีต้ังพักแรมของกองทัพเพื่อขายเสบียงอาหารแกทหาร (Vivandiers – วีแวนดิเออร) ในจํานวนที่พอประมาณเพ่ือบริการกําลังทหารและบางครั้งอาจมีสตรีถึงยี่สิบคนท่ีมีชื่อเสียงดีท่ียังคงรวมขบวนไปกับสามีของตนเพื่อปฏิบัติหนาท่ีคนซักเสื้อผา, เย็บผา และพยาบาลของกรม แตกลุมผูติดตามจํานวนมากก็ไมมีแลว ซึ่งจากตัวอยางของรูปที่ไมแกะสลักของกองทัพในศตวรรษที่16 แสดงภาพผูหญิงกําลังดูหมอทําอาหารสําหรับกําลังทหาร แตแผนผังของคายพักในปลายศตวรรษที่ 17แสดงแถวที่เปนระเบียบของกองไฟทําอาหารเลี้ยงดูหมูตาง ๆ ของทหารซึ่งเตรียมอาหารของตนเอง และกินอาหารในพื้นที่กินอาหารในกลุมของตนที่กําหนดไวกรมไดก ลายเปนกลุม เฉพาะผชู ายทแ่ี ยกบุคคล ออกจากความสัมพันธและพันธะอ่ืน ๆและทุมเทจิตใจในความจงรักภักดีตอหนวย ซึ่งดูเหมือนวาสิ่งท่ีเก่ียวของของการเปลี่ยนแปลงนี้สําหรับการกระตุนจูงใจ, ขวัญ, และความเปนทหารอาชีพจะลึกล้ําอยางยิ่ง และที่จากไปพรอมกับผูหญิง ความเฉื่อยชาก็หายไปจากกรมภาพเหตุการณเดียวกันในศตวรรษท่ี 16 ท่ีแสดงวามีผูหญิงจํานวนมากในคายยังแสดงภาพทหารหลายคนกําลังนอนอยู แตการฝกและรายละเอียดของงานจะประกันวาทหารของกรมของพระเจาหลุยสจะมีเวลาสําหรับตนเองนอยมากซึ่งตอนนี้กองทัพไดใชเวลาดังกลาวดวยการปฏิบัติประจําหลาย ๆ ชั่วโมง ของกองทัพเองที่ทหารของกองทัพเคยใชไปกับผูหญิง, การด่ืม, และการประพฤติเกะกะระราน 42Sir James Turner, Pallas Armata (London, 1683) ใน Hacker,“Women and Military Institutions,” pp. 653-4. การเสริมสรางกองทัพแบบตะวันตกในฝรั่งเศสศตวรรษท่ี 17

92 การสรางประชาคมแบบกรมเปนเพียงสวนหนึ่งของการเปล่ียนแปลงการจัดหนวยในศตวรรษท่ี 17 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญอีกประการหน่ึง คือการเปลยี่ นจากกองทพั แบบสญั ญารวม (Aggregate contracts army) ไปเปนกองทัพประจําการของรัฐ (State commission army)4243 โดยในแบบแรกเจาผูครองนครตาง ๆ จะทําสัญญากับผูนําของกลุมทหารท่ีทําสัญญาจางทหารไมใชกับทหารแตละราย โดยผูรับสัญญาดังกลาวจะจัดสงกองทหารตางชาติไปใหนอกจากนี้ เจาผูครองนครทั้งหลายยังอาศัย “กองทัพสวนตัว” ที่ขุนนางของตนระดมมา หนวยตาง ๆ ท่ีถูกจาง หรือรวมอยูในรูปแบบนี้ เปน “กองทัพที่พรอมใช(Off the shelf)” ซ่ึงมาถึงพรอมดวยนายทหาร, อาวุธ, ผานการฝกมาแลว,และจดั เปน หนว ยสําหรับการรบ เมื่อเจาผูครองนครผูจายเงิน ไมมีความตองการกองทหารน้ีอีกตอไป ก็เพียงแคจายเงินแลวสงกลับไปอยูในสถานะ พรอมรับใชตอไปซึ่งการปฏิบัติลักษณะน้ีเกิดขึ้นบอย ๆ เมื่อสิ้นการยุทธหน่ึง ๆ และเกือบจะเสมอเมื่อสิ้นสงคราม ซึ่งจะมีเฉพาะกําลังที่เปนโครงเทานั้น ที่เหลืออยูระหวางการขดั แยง ตาง ๆ กองทัพประจําการของรัฐ (State commission army) เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 17 ในการเปดสงครามกับสเปนเมื่อป 1635 (พ.ศ.2178) พระเจาหลุยสที่ 13 ตัดสินพระทัยไมพ่ึงกองทหารรับจางตางชาติ โดยไดรับการคัดคานอยางยิ่งจากเบอรน ารด แหง แซกซ-ไวมาร (Bernard of Saxe-Weimar) หรือไมพึ่งกองทหารเฉพาะของฝรั่งเศส แตพระองคกลับทรงมอบอํานาจแกแตละคนที่เล้ียงดูกรมตาง ๆสําหรับรับใชกษัตริยภายใตการควบคุมและ พระราชอํานาจที่เครงครัดของราชวงศการระดมกําลังแบบกรมไดถูกกําหนดใหยุงยากมากข้ึน และถูกควบคุมเบ็ดเสร็จ 43การพัฒนารปู แบบของกองทัพไดถกู กลาวโดยสรปุ ใน Lynn, Giant ofthe Grand Siècle, Chapter I สาํ หรบั รายละเอยี ดท่สี มบรู ณของกองทพั พนั ธะสัญญารวม(Aggregate contracts army)กับ กองทพั ประจาํ การของรัฐ (State commissionarmy) ดู Lynn, “The Evolution of Army Style in the Modern West,800-2000,” International History Review 18:3 (August 1996). ลินน

93มากข้ึน โดยพระเจาหลุยสท่ี 14 กรมสวนใหญจะมีคนฝรั่งเศสรวมอยูดวย ซ่ึงแมกรมจะประกอบดวยทหารตางชาติ แตก็มีรูปแบบเปนกองกําลังประจําการของรัฐ(State-commission force) มากกวากองทหาร “พรอมใช (Off the shelf)” เดิมกรมทหารแบบใหมจะใชเวลานานขึ้นในการจัดเตรียม แตจะสามารถควบคุมไดมากข้ึน, มีความภักดีมากขึ้น, และนาจะมีความเชี่ยวชาญมากขึ้น ซึ่งความตองการกองทัพที่มีความชํานาญทางเทคนิคในระดับที่สูงขึ้น, ใหญข้ึน, และกําลังทัพในยามสงบสําหรับท้ังเหตุผล ดานการทหารและการเมือง ทําใหกองทัพประจําการของรัฐ(State commission army) เปนมาตรฐานสากลในปลายศตวรรษนั้น ท้ังนี้การเกิดข้ึนของกรมและรัฐสมัยใหมที่มีระบบราชการ แบบรวมศูนย (Centralizedbureaucratic modern state) เปนสว นหน่งึ ของกระบวนการเดยี วกนั น้ี การเปล่ยี นแปลงทางทหารศตวรรษท่ี 17 “สงครามแบบตะวันตก (Western way of war)” และเอเชยี ใต นวัตกรรมกําหนดรูปแบบการพัฒนาของสงคราม, ใหคําจํากัดความของกองทัพฝรั่งเศสกอนการปฏิวัติ (Ancien régime) และการปฏิบัติการทางทหารในอนาคตหลายอยาง แตผลของนวัตกรรมมีผลครอบคลุมไปยิ่งกวานี้ โดยเปนสวนหน่ึงของรูปแบบที่ทําใหคล่ืนลูกใหมของยุโรปสามารถขยายตัวทางทหารขามโพนทะเลตั้งแตกลางศตวรรษที่ 18 เปนตนไป จนประมาณป 1750 (พ.ศ.2293)การครอบครองของอาณานิคมยุโรปภายนอกโลกใหม (New World) สวนใหญจะส้นิ สดุ ที่จดุ ท่ปี ระสบความสําเร็จสงู สุด คอื ปน ใหญและเรือเดินทะเล ในรูปแบบของคารโล ซิพอลลา (Carlo Cipolla) ของนวัตกรรมศตวรรษท่ี 15 ท่ีทําใหแนใจถึงการควบคุม ของยุโรปตอทะเลตาง ๆ สวนใหญ เทคโนโลยี, ความเช่ือม่ัน,และโชค ทําใหสเปนและโปรตุเกสพิชิตอาณาจักรใหญโตในเม็กซิโก, อเมริกากลาง,และอเมริกาใต บดขย้ีอารยธรรมท่ีใชอาวุธยุคหินและประชากรท่ีเสียชีวิตจากโรคภัยที่ชาวยุโรปนําไป แตในเอเชียเทคโนโลยีของคนพื้นเมืองที่คอนขางทันสมัย,ประชากรท่ีมากกวายุโรปเอง, ภูมิคุมกันท่ีเปนสิ่งปกติธรรมดาตอผูท่ีอยูอาศัยในดินแดนยูเรเชีย (Eurasian land) และโรคภัยเขตรอนที่สังหารชาวยุโรปจํานวนมาก การเสรมิ สรางกองทพั แบบตะวนั ตกในฝรั่งเศสศตวรรษท่ี 17

94ซึ่งท้งั หมดนจี้ าํ กดั พลังอาํ นาจของตะวันตกไวแคร ะยะยิงปนใหญของกองเรอื 4344 ตอมา ในกลางศตวรรษท่ี 18 สุญญากาศของอํานาจในเอเชียใตและอังกฤษ-ฝร่ังเศสที่เปนคูแขงขัน กัน ณ พื้นท่ีน้ันและในโลกท่ีกวางใหญกวาก็ไดเร่ิมเปดฉากแยงชิงการควบคุมอนุทวีปแหงนี้ อังกฤษไดชัยชนะ โดยพิชิตฝร่งั เศสและพันธมิตรพื้นเมืองของฝร่ังเศส บดขย้ีประชาชนและรัฐพ้ืนเมืองไปตามลําดับและสถาปนาความเปนเจาโลกดว ยกองรอ ยอินเดยี ตะวันออก (East India Company)ควบคุมทั่วอินเดีย ซ่ึงยุคใหมของการขยายจักรวรรดิดังกลาว แสดงวายุโรปไดกาวไกลไปกวาการควบคุมบริเวณชายฝงทะเล ในชวงตนๆ ซ่ึง ณ บัดนั้นยโุ รปไดเปล่ยี นแปลงสงครามทางบกในเอเชียไปดว ย การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเกิดจากเทคโนโลยี การเปล่ียนไปใชปนคาบศิลาแบบนกสับ และดาบปลายปน และการสรางยุทธวิธีตาง ๆ ที่ใชประโยชนอยางเต็มท่ีของอาวุธใหม ๆ เพิ่มอํานาจการยิงของกองทัพยุโรป มากกวาในศตวรรษท่ี 17ปลายศตวรรษท่ี 18 การพัฒนาปนใหญ เชน การปรับปรุงปนใหญ กรีโบว่ัล(Gribeauval) และลิกเตนสไตน (Liechtenstein) ในยุโรปไดเพ่ิมมิติดานเทคโนโลยีดังกลาวยิ่งข้ึนไปอีก แตคําอธิบายดานเทคโนโลยียังมีไดอีกมาก เอเชียใตไดยืมและลอกแบบอาวุธของยุโรปโดยไมยากนัก ไมวาปนและปนใหญที่แปลกใหมตออนุทวีปนี้ไมวากรณีใด ไดแก การท่ีบาบูร (Babur) ที่ไดใชปนใหญบดขย้ีฝายตรงกันขามของตนท่ีปานีปต (Panipat) เมื่อป 1526 (พ.ศ.2069) และกอต้ังราชวงศโมกุล(Mughal Empire) เปนสิ่งท่ีดียิ่ง จนปนใหญของผูผลิตพื้นเมืองที่ดยุคแหงเวลลิงตัน(Duke of Wellington) ในอนาคต ท่ีไปปฏิบัติหนาท่ีในอินเดียประมาณป 1800(พ.ศ.2343) ไดประกาศวา ปนมาราธา (Maratha) เทียบเทากับปนใหญอังกฤษและควรคาที่จะรวมเขาไวในขบวนปนใหญของตน4445 แนนอนวาอังกฤษพอใจกับ 44Carlo M. Cipolla, Guns, Sails and Empires: Technological Innovationand the Early Phases of European Expansion 1400-1700 (New York, 1965). 45Bruce Lenman, “The Transition to European MilitaryAscendancy in India, 1600-1800,” ใน John A. Lyn, ed., Tools of War ลนิ น

95ความเหนือกวาของเทคโนโลยีในระยะเริ่มแรก แตสิ่งน้ันก็เปนการชั่วคราว และไมใชข อ ไดเ ปรยี บทจ่ี ะอาชนะไมได ความเหนือกวาที่แนนอนของอังกฤษอยูที่วิธีการดานวัฒนธรรมและประเพณีนิยมที่ชนพ้ืนเมืองที่ เปนศัตรูของอังกฤษไมสามารถลอกเลียนไดอยางงายดายเหมือนที่จะสามารถยิงหรือผลิตปนคาบศิลา ชาวยุโรปมีทัศนคติตอการรบที่พุงการตอตานท้ังหมดตอความเชื่อของชนพื้นเมืองมองโกลของสงครามมา-ธนู(Horse-archer warfare) ซึ่งเนนที่ความกลาหาญสวนตัวและสูญเสียนอยที่สุดการปลูกฝงการอดทน อดกลั้นในการรบเปนการฝนสัญชาตญาณ ซึ่งเปนผลจากประสบการณท่ียาวนานในสนามรบที่ใชดินปน ซึ่งเม่ือไดมา ก็ตองมีการฝกและทําซํ้า ๆดวยการฝกที่เขมงวด ซึ่งการปฏิบัตินี้เปนความแตกตางโดยส้ินเชิงตอรัฐตาง ๆของเอเชียใตและเอเชียตะวันออก ท่ีชาวอังกฤษพบวาจะสามารถยัดเยียดระบบของตนตอ กําลัง ทหารของเอเชยี ใตด ว ยการฝกที่เขม งวด คําอธิบายที่เปนท่ียอมรับของการขยายอาณานิคมของยุโรป สรุปวา เปน“สงครามแบบตะวันตก (Western Way of War)” ที่เปรียบเหมือนขอดีเฉพาะในองคประกอบการใชกําลัง4546 ในแนวคิดท่ีเหมาะสมท่ีสุด ของจอหน คีแกน(John Keegan) กรีกไดสรางรูปแบบของตะวันตกท่ียังคงไมมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในยุคตอ ๆ มา ซึ่งเปนรูปแบบที่รุกรบย่ิงของสงครามโดยมุงที่ผลแตกหักแมจะบาดเจ็บลมตายสูง หรือ การปลูกฝงความอดทนอดกล้ันในการรบ(Urbana, IL, 1990), p. 120. 46ใน Western Way of War ดู Victor Davis Hanson, The WesternWay of War: Infantry battle in Classical Greece (New York, 1989);Keegan, A History of Warfare; และกลาวนําGeoffrey Parker, ed., TheCambridge Illustrated History of Warfare (Cambridge, 1995)เร่ืองท่ีสัมพันธกัน McNeill, Keeping together in Time, เนนถึงการเปล่ียนแปลงและความจําเปนสําหรับฟนฟูวิธีการเดิม ๆ ของการฝก, และการฟนฟูความไมตอเน่ืองกับอดีต ซึ่งเปนส่ิงจําเปนที่จุดหน่ึงเพ่ือนําวิธีเกาทไ่ี มไดใ ชกลบั มา. การเสริมสรา งกองทัพแบบตะวนั ตกในฝร่งั เศสศตวรรษท่ี 17

96ไมไดเปนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบตะวันตกท่ีสําคัญ หรือเปนท่ีสถานการณ และชัว่ คราวเทา น้ัน? ซ่ึงจากหลกั ฐานช้ีวา เปน ประเด็นท่สี อง หนงั สอื เกา ๆ หลายเลมมีอิทธิพลตอการปฏิบัติการทางทหารของยุโรปสมัยใหมตอนตน แตไมมีรูปแบบตะวันตกที่ตอเน่ืองท่ีเชื่อมตอยุคอดีตเขากับสมัยใหม ความตองการที่จะยอมรับการสูญเสีย อาจทําใหรูปขบวนของสงครามของศตวรรษที่ 17 ดูจะสืบทอดโดยตรงจากกองทหารราบติดอาวุธหนัก (Hoplite – ฮอพไลท) ของกรีก หรือรูปขบวนฟาลั๊งซ (Phalanx) ของมาซีโดเนีย แตรูปขบวนเหลานั้นมีเปาหมายที่จะทําลายขาศึกมากกวาการยอมรับการสูญเสียเชิงรับไมวากรณีใด ๆ ตามท่ีกลาวในบทท่ี 2 ความไมตอเน่ืองระหวางอดีต กับ โลกยุคกลางตอนปลาย-ยุคใหมชวงตน ครอบคลุมถึงรูปแบบการรบตาง ๆ ซึ่งทหารราบติดอาวุธหนัก(ฮอพไลท - Hoplite) ของมาราธอน (Marathon) มีสวนเหมือนกันเล็กนอยกับพลธนขู องอาชงิ คูรท (Agincourt) ก า ร ป ลู ก ฝ ง ด า น ท ห า ร ทั้ ง ห ม ด ต อ ง ส อ น ก า ร ย อ ม รั บ ก า ร สู ญ เ สี ยแตทัศนคติตอการสูญเสีย จะแตกตางไปตามเวลาและวัฒนธรรม ผูบัญชาการทัพตาง ๆตลอดปแรกของสงครามโลกครั้งที่ 1 ยังคงเต็มใจท่ีจะเห็นทหารของตนถูกขับเคลื่อนโดยผูนําการรบใด ๆ จากบรีเทนเฟลด (Breitenfeld) และมั๊ลลาเคท (Malplaquet) ไปจนถึงเกตต้ีสเบิรก (Gettysburg) และพอรตอารเทอร(Port Arthur) แตในป 1917-18 (พ.ศ.2460-61) ประสบการณที่หนักหนวงในสนามรบยุคอุตสาหกรรมไดใหบทเรียนท่ีชาญฉลาดท่ีตอมา แพทตันไดกลาวไวอยางนาจดจําวา “ไมใชหนาท่ีของทานท่ีจะตายเพ่ือประเทศของทาน แตเพื่อทําใหเจาโงเงาคนอื่นตายเพื่อของเขา (It is not your duty to die for your country,but to make the other poor dumb bastard die for his.)”ปจจุบันเมื่อสงครามเย็นสงบลง บางคร้ังสังคมตะวันตกก็ตอตานความรูสึกรุนแรงแมแตเพียงคร่ึงหน่ึงของคําส่ังของแพทตัน การปลูกฝงความอดทนในการรบดูเหมือนจะกลาวไดดีท่ีสุดวา เหมาะกับชวงเวลาเฉพาะในระบอบการปกครองในอดีตของฝร่ังเศส (Ancien régime) หรือเผด็จการสมบูรณแบบท่ีครอบงําตัง้ แตก ลางศตวรรษที่ 17 ถงึ ปลายศตวรรษที่ 18 ลินน

97 นอกจากนี้ ความเห็นของคแี กน (Keegan) ในเร่อื งมหาอาํ นาจในสนามรบของตะวนั ตกทยี่ ั่งยืน ตลอดสองพนั ปวายงั เปน เพยี งตํานาน ซง่ึ อังกฤษไมไดเขา รวมแสวงประโยชนในเอเชยี ใตในตอนกลางศตวรรษท่ี 18 พลังอาํ นาจขององั กฤษประการแรกอยทู ก่ี ารปลูกฝง ในการรบและการฝก แตใ นทส่ี ุดก็พง่ึ พากรมทหารที่นํามาจากประเทศอื่นมากขึ้น ซ่ึงเปนอีกการสรางสรรคหนึ่งของตะวันตกสมัยใหมตอนตน ซึ่งมีสวนเกี่ยวของเล็กนอยตอการปฏิบัติในอดีตกรมทหารเปนพื้นฐานในการต้ังหนวยซีพอย (Sepoy – หนวยทหารอังกฤษ/ทหารอินเดียทีร่ ับราชการในกองทพั อังกฤษ) ในอนิ เดียทย่ี ง่ั ยนื ซง่ึ พชิ ติ รฐั ชาติท่ียิ่งใหญของมายซอร(Mysore) (รัฐทางตอนใตของอินเดีย), กลุมนักรบมาราธา (Maratha) (ชาวฮินดูท่ีอาศัยอยูใ นภาคกลางและภาคตะวนั ตกของอนิ เดยี ), และสุดทา ยแมแตซิกข (Sikh)ที่เปนปกแผน การจัดหนวยแบบกรมไดกลายเปนที่เช่ือถือที่มีประสิทธิผลสูงสําหรับคุณคาทางวัฒนธรรมพ้ืนเมืองท่ียึดกฎเกณฑของชนพ้ืนเมืองในเรื่องเกียรติยศของสังคมและสวนตัวในทางที่หนวยทหารพื้นเมืองท่ีทหารแบบช่ัวคราวหรือไมใ ชท หารประจาํ การไมสามารถกระทําไดในชวงของรุนตระกูล (Generation) หน่ึงแมวาการจัดแบบกรมจะเปนโครงสรางการจัดแบบยุโรป แตกรมทหารซีพอย(กรมทหารอินเดียท่ีรับราชการ ในกองทัพอังกฤษ – Sepoy regiment) ก็มีลักษณะของชาวอนิ เดยี เปน พนื้ ฐาน กรมทหารแบบยุโรปจะแยกทหารออกจากสังคมพลเรอื นและแยกทหารออกจากครอบครัวในสังคมทหารชาย แตกรมทหารซีพอยจะรวมสังคมพลเรือนและทหารดวย ซ่ึงเปนการใหความสําคัญตอกฎเกณฑสวนตัวในเรื่องเกยี รติยศ – อซิ ซารท (Izzat - ในภาษาอนิ เดยี ) ซง่ึ เปนกฎเกณฑใ นสังคมทองถิน่ ท่ีย่ิงใหญมากสําหรบั เกียรตยิ ศ – Rasuq47(ราซคั ) ดังน้ัน กรมทหารชาย 47 ตัวอยาง ดูการใหความสําคัญตอ izzat และ rasuq ใน PradeepDhillon, Multiple Identities: A Phenomenology of MulticulturalCommunication (Frankfurt, 1994) ในทางตรงกันขาม McNeill, KeepingTogether in Time, p/ 135, ดูทหารอินเดียท่ีรับราชการในกองทัพอังกฤษ(Sepoy) ในการสรางความเปนปกแผนแบบยุโรปเมื่อพบกับการฝกแบบตะวันตกแตขอสรุปนี้ผิดเปาหมาย แมวา กรมทหารของชนพ้ืนเมืองจะสรางความเปนปกแผนได การเสรมิ สรางกองทัพแบบตะวนั ตกในฝรัง่ เศสศตวรรษท่ี 17

98ชาวยุโรปจึงกลายเปนการจดั ตงั้ หนว ยทหารของอินเดยี ทม่ี ักจะรวมผูห ญงิ และเด็กกลบั เขา มาสวู ิถชี วี ิตของกองทพั ในสังคมท่ีถกู ครอบงาํ ดว ยวรรณะ อยางไมมเี งือ่ นไขตอมาทหารซีพอยก็ไดสรางชนชั้น (Jati - จาติ) ข้ึนใหม ซึ่งเปนกลุมอาชีพท่สี บื ทอดวงศต ระกลู ดว ยสิทธิพเิ ศษและลกั ษณะพ้นื ฐานทางดา นสงั คมเฉพาะของตน อยา งไรกต็ าม ขอดีทส่ี าํ คญั ทไ่ี ดจ ากแนวคิด, เทคนิค, และหนวยทางการทหารท่ีนํามาจากยุโรป ซ่ึงอังกฤษอาจจะลมเหลวถากองรอยอินเดียตะวันออก (East India Company) ของตนไมไดเรียนรูท่ีจะทําหนาท่ี เปนพลังอํานาจของอินเดียและถาสถานการณภายในตออนุทวีปน้ีไมสนับสนุนทหารของกองรอยน้ีไดเรียนรูที่จะทําการยุทธภายใตสภาพอากาศและการสงกําลังบํารุงแบบเอเชียใตนอกจากน้ี ทหารเหลาน้ียังมีความเชี่ยวชาญในการเมืองของอินเดีย การประสบผลสําเร็จในสนามรบของอังกฤษอาจเปนแบบชาวยุโรป แตการประสบผลสําเร็จของอังกฤษในการเจรจาหลัก ๆ แลวเปนลักษณะของชาวอินเดีย4748 สุดทายการเสื่อมสลายของอาณาจักรโมกุล (Mughal Empire) และการถดถอยของมาราธา(Marathas) ทําใหการขยายตัวของกองรอยอินเดียตะวันออกนี้มีโอกาสเปนไปไดแมวาพลังอํานาจของอินเดียท่ีสูงอาจสามารถชนะอังกฤษได สิ่งเก่ียวของกับประวัติศาสตรโลกของคลื่นลูกท่ีสองแหงศตวรรษท่ี 18ของการขยายตัวของจักรวรรดิอังกฤษมีมากอยางยิ่ง แมจะไมคอยไดรูกันเวนนักประวัติศาสตรอังกฤษหรือเอเชียใต โดยถาไมสามารถพิชิตอนุทวีปเอเชียใตนี้และโยงไปสูพลังอํานาจและความมั่งคั่งของตน จักรวรรดิอังกฤษในศตวรรษที่ 19กอ็ าจจะลาหลังจนไมสามารถมีอิทธพิ ลตอ โลกไดแตกช็ าวเอเชียใตก็มีลกั ษณะเฉพาะของชาวเอเชียใต. 48 Pradeep Barua กลาวอยางหนักแนนวา กองรอยอินเดียตะวันออก(East India Company) มีความเชี่ยวชาญดานการเมืองและการสงกําลังบํารุงของอินเดียใน “Military Development in India, 1750-1850,” Journal ofMilitary History 58 (October 1994) ของเขา. ลินน

99 การกลาวถึงประวัติศาสตรทหารของโลกน้ี ผูอานไมควรไขวเขวไปจากนวัตกรรมของการจัดต้ังหนวยทหารและวัฒนธรรมท่ีสําคัญของยุโรปศตวรรษที่ 17แตประวัติศาสตรชี้วาการเปลี่ยนแปลงทางการทหารที่ย่ังยืนและเปนพ้ืนฐานสําคัญนาจะเกิดข้ึนระหวางที่พระสุริยะเทพ (The Sun King) ยืนผงาดดวยราชอํานาจเหนือแผนดิน ซึ่งในกรณีเฉพาะน้ีแนวคิด และการจัดต้ังหนวยทหาร เปนเสมือนเครอ่ื งยนตข ับเคล่ือนของการเปลีย่ นแปลงมากกวาเทคโนโลยี ท้ังน้ี การมองดังกลาวควรเปนขอระมัดระวังตอผูที่ตองการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ที่พึงพอใจย่ิงตอภาพลวงตาของอาวุธ, การติดตอสื่อสาร, และ เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหมท้ังนี้ ภาพลวงตาทางเทคโนโลยีจะนํามาซึ่งความพายแพ เน่ืองจากการไมคํานึงถึงความเปนจริงท่ีไมเปล่ียนแปลงของสงครามในดานโอกาส, ความรุนแรง, และการเมือง การเสรมิ สรางกองทัพแบบตะวันตกในฝรงั่ เศสศตวรรษท่ี 17

4 การเมืองภาคประชาชนและลทั ธชิ าตนิ ิยมในการปฏิวัตทิ างการทหาร: การปฏิวัติฝรง่ั เศสและหลังจากน้นั (Mass politics and nationalism as military revolution: The French Revolution and after) แมค เกรเกอร นอกซ (MacGregor Knox) สงคราม...เปนกิจกรรมของประชาชนโดยรวมเสมอมา และมีลักษณะท่ีที่ตางกันโดยส้ินเชิง หรือเกือบจะเหมือนกับลักษณะที่แทจริงของสงครามความสมบูรณพรอมของสงคราม ([W]ar…again became the affair of thepeople as a whole, and took on an entirely different character,or rather approached its true character, its absolute perfection.)01 -คารล ฟอน เคลา สว ิทส (Carl von Clausewitz) การปฏิวัติของระบบทุนอุตสาหกรรม และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนการเปล่ียนแปลงท่ียิ่งใหญท่ีสุดในการดํารงอยูของมนุษย ต้ังแตผานพนยุคเกษตรกรรมการปฏิวัติดังกลาวเริ่มในตอนปลายศตวรรษที่ 18 โดยยังไมรูวาจะสิ้นสุดเมื่อใดการปฏิวัติน้ีทําใหเกิดพลังที่เหลือคณานับตอหมูมวลมนุษย ท่ีไดคิดคนการปฏิวัติน้ีข้ึนหรือนําเอาการปฏิวัติน้ีมาใชโดยท่ีการปฏิวัตินี้ไดปดกั้นความจริงพ้ืนฐานที่วาการปฏิวัติทางการทหารไดเปลี่ยนแปลงในลักษณะและความมุงหมายของสงครามเองซ่ึงโดยปกติมักเปนผลลัพธทางทหารของกระบวนการที่จําเปน คือ อุดมการณ,การเมือง, สังคม, เศรษฐกิจ, และประชากร ซ่ึงลึกซึ้งและกวางกวาการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีเฉพาะหรือกลมุ เทคโนโลยี 1On War, eds. And trans. Michael Howard and Peter Paret(Princeton, NJ, 1976), หนา 593 ขอความน้ีมีผลอยางยิ่งตอ Yorck and theEra of Prussian Reform (Princeton, NJ, 1966) ของ Peret, Clausewitzand the State (Oxford, 1976), และ Understanding War (Princeton, NJ,1992), และตอ การบรรยายทีน่ าทึ่งโดย Tim Blanning เร่ือง “Nationalism andthe French Revolution” ทม่ี หาวิทยาลยั Princeton เมื่อ 21 April 1989.

101 เปน ครงั้ แรกในประวัตศิ าสตรของมนุษย ขณะที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดบรรลุซ่ึงการดํารงอยูไดดวยตัวเอง (Self-sustaining) และดูเหมือนจะกาวหนาไปอยางไมมีขีดจํากัดในโรงงานทอผา, เหมืองแร, และ โรงงานหลอมโลหะของอังกฤษการปฏิวัติการเมืองท่ีเกิดข้ึนตอไปก็เหมือนการระเบิดท่ียิ่งใหญทั่วทั้งชองแคบ (Channel) การเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงของป 1788-94 (พ.ศ. 2331-37) ไมใชเพียงแคการปฏิวัติ ในฝร่ังเศสเทาน้ันแตเปนจุดเริ่มของการยุติความรุนแรงอยางย่ิงของสังคม, การเมือง และความสงบเรียบรอยของนานาประเทศท้งั หมด โดยครงั้ แรกในฝรั่งเศสและตอไปทัว่ ท้ังยุโรป กรณีตาง ๆ ในฝร่ังเศสนํามาซ่ึงการเมืองภาคประชาชนและสงครามมวลชน(Mass warfare) สูยุโรป และสูโลกในที่สุด การปฏิวัติดังกลาวแสดงถึงการพัฒนาอยางยิ่งของความเช่ือทางการเมือง ซ่ึงแพรหลายมากขึ้นในแวดวงวิชาการของฝรั่งเศสกอนป 1789(พ.ศ.2332) วา ฝร่ังเศสไมใชเพียงแคกลุมกษัตริยผูปกครอง (Dynastic unit)แตมีลักษณะเปนกลุมชนชาติภาษา (Ethnic-linguistic identity) คือ ชาติ (La nation)ซ่ึงการปฏิวัติไดโละทิ้งประเทศแบบเกาของกษัตริย, ขุนนาง, และศาสนจักร และสรางชาติใหมขึ้นดวยการนองเลือดที่นาแตกต่ืนของเสรีภาพและความเทาเทียมกันตามทฤษฎีประชาชน (Citizen) ภายใตกฎหมาย และกิโยติน ขออางเรื่องความเสมอภาคและการปราศจากอํานาจอธิปไตย (Sovereignty) ทําใหชาติใหมน้ีเขาสูสงครามกับยุโรปสว นใหญ และการตัดพระเศยี รของกษตั ริยและของสังคมแบบเกาท่ีกษัตริยไดใชในลักษณะสวนตัว เม่ือ ม.ค.1793 (พ.ศ.2336) ทําใหสงครามของป 1792 ถึง 1814/15(พ.ศ.2335 ถึง 2357/58) กลายเปนสงครามสมัยใหมค ร้ังแรก ซง่ึ เปนสงครามแรกระหวางชาติตาง ๆ (Nations)12 โดยเริ่มแรกเปนการกระทําแตฝายเดียวโดยฝรั่งเศส 2ความแปลกใหมอยางแทจริงของสงครามระหวางชาติตาง ๆ (Nations)เทียบกับสงครามระหวา ง เจา ผคู รองนคร, กษตั รยิ และอาณาจักรแบบศักดินาท่ีสืบทอดกันมา,และชนเผาตาง ๆ ซึ่งจะใหความหมาย ที่เปนไปไดความหมายเดียวของการจํากัดความคาํ วา สงคราม “สมัยใหม” . การเมอื งภาคประชาชนและลัทธชิ าตินยิ มในการปฏิวตั ทิ างการทหาร: การปฏิวตั ฝิ รง่ั เศสและหลงั จากนนั้

102และจากนั้นโดยเหย่ือของฝรั่งเศสที่ลาชาและมักจะรีรอที่จะตอบโต ซึ่งตางจากการดําเนินการของผูเลื่อมใสในศาสนากอนป 1648 (พ.ศ.2191) สงครามนี้ไมจํากัดศักยภาพทางสงครามท้งั โดยเปาหมายและวธิ ีการสําหรบั ชาตทิ ี่ทรนงที่คิดวา ไมมีพลังอํานาจใดจะสูงกวาตน ท้ังนี้ ตามที่นักทฤษฎีชั้นนําเก่ียวกับการปฏิวัติ แอบบ้ี เซเยส (Abbé Sieyès)กลาวเมื่อป 1789 (พ.ศ.2332) วา “ชาติเกิดข้ึนกอนทุกส่ิง เปนจุดเร่ิมของทุกส่ิงเปนความชอบธรรม เปนกฎหมายเอง (The nations exists before everything;it is at the origin of everything; it will be legal, it is the law itself”23 กอ นการปฏิวตั ิ การปฏิวัติการทหารที่เกิดขึ้นระหวางและตั้งแตสงครามของการปฏิวัติ คือการปฏิวัติการเมือง-อุดมการณ (Political-ideological revolution) ที่เปลี่ยนรูปของสงครามจากบนสูลาง (Top to bottom), จากยุทธศาสตรไปถึงยุทธการและการสงกําลังบํารุงจนถึงยุทธวิธี ซ่ึงการที่จะเขาใจจุดเร่ิมและส่ิงที่เกิดขึ้นตอไปตองยอ นกลบั ไปดูโดยสรุปที่กรอบของการเมอื งและสงครามในการปกครองระบอบเกา ระบบรัฐที่เกิดขึ้นหลังป 1648 (พ.ศ.2191) ตั้งแตสงครามศาสนาข้ึนอยูกับสังคมชนช้ัน (Hierarchical societies) ท่ีเครงครัดที่แบงออกเปนกลุมอาชีพ หรือชนชั้นทสี่ ว นใหญจะยอ นกาํ เนดิ ของตนไปถึงยุคกลาง โดยมีขอยกเวนเล็กนอยหรือบางสวนท่รี วมถงึ อังกฤษและสาธารณรัฐดัชท ซ่ึงท้ังหมดที่ต่ํากวาราชวงศใน “สังคมแหงระเบียบ”เหลาน้ีคือผูถูกปกครองไมใชพลเมือง โดยเปนไพรฟาขาแผนดินทั้งหมด และไมสามารถตดั สินใจไดดวยตนเอง ตองข้ึนอยูกับกระแสรับส่ัง ซ่ึงการเมืองแทบจะเปนเรื่องเฉพาะของกษัตริย และเสนาบดีตาง ๆ ภายใตการสนับสนุนของบุคคลเหลานี้ ลักษณะเฉพาะของการปฏริ ูปกฎหมายและการบรหิ ารแบบรวบอํานาจของศตวรรษที่ 18 ไดเปล่ียนรูปสังคมแหงระเบียบใหมในนามของยุคแหงเหตุผล (Enlightenment) ซึ่งเปนคําที่แทบจะเหมือนกันในทางปฏิบัติกับการเพิ่มอํานาจรัฐอยางมากเหนือแตละบุคคล 3Emmanuel Sieyès, Qu’est-ceque le Tiers état? (Geneva,1970[1789]), หนา 180. นอกซ

103แมแตสาธารณรัฐตาง ๆ เชน ดัชทและเมืองอิสระของจักรวรรดิโรมันที่ศักดิ์สิทธิ์(Holy Roman Empire) หรือระบอบการปกครองแบบรัฐสภาเชนอังกฤษก็อยูท้ังในทฤษฎีและการปฏิบัติที่ปกครองโดยเผด็จการเล็ก ๆ ของพอคาและผูครอบครองทด่ี นิ การจลาจลในบางคร้ังและบทบาทจํากดั ที่รอบคอบท่ีมอบใหแกสภาที่ปรึกษา สวนใหญจะกําหนดการมีสวนรวมของประชาชนในทางการเมืองนโยบายตางประเทศและสงคราม เคยเปนและยังเปนหนาท่ีแบบรวมอํานาจของรัฐที่ปองกันการสอดแทรกของประชาชนที่ตองการแยงชิงอยางยิ่ง และการตระหนักถึงการเปนสมาชิกของกลุมท่ีใหญกวาหมูบาน, ภูมิภาค, และกลุมสังคมก็ถูกจํากัดแมแตในฝรั่งเศส ซ่ึงเปนสังคมที่กาวหนาทางเศรษฐกิจที่สุดและใหญที่สุดของทวีปยุโรปดานตะวันตก การรูหนังสือก็จํากัดโดยอาจเปนหนึ่งในสามของประชาชนและสวนใหญจะเปน บรรดาชาวนคร ส่ิงท่ีเกี่ยวของทางทหารของสภาพเหลาน้ีมีมาก แตไดถูกรวมเขาดวยกันอยางรวดเร็ว คือ พลังทางสังคมและการเมืองซึ่งไดลดท้ังเปาหมายและวิธีการของคูปรปกษในหลาย ๆ สงครามของระบอบการปกครองแบบเกาลงอยางมากนอกจากน้ี สงครามท่ีตองใชการดําเนินการตาง ๆ หรือทําใหเกิดความเสี่ยงท่ีอาจเปนอันตรายตอความสงบเรียบรอยในประเทศและการควบคุมการเมืองแตเพียงผูเดียวโดยกษตั ริยแ ละบรรดาเสนาบดี กก็ ระทําไดยากอยา งยิง่ อยางไรกต็ ามยังมีขอยกเวน คือผูบาคล่ังอยางกษัตริยชารลท่ี 7 แหงสวีเดน หรือนักเส่ียงโชคที่เยือกเย็นอยางพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราช ท่ีอาจเสี่ยงตอการดํารงอยูของรัฐของตนในการรบบางคร้ังในการเปนพันธมิตรกันของฝร่ังเศส, ออสเตรีย และรัสเซีย ตอสูกับปรัสเซียในสงครามเจ็ดป หรือการรวมกันของออสเตรีย, ปรัสเซีย และรัสเซีย ในการแบงแยกโปแลนด ซึ่งบรรดามหาอํานาจทั้งหลายน้ีอาจมีเปาหมายที่การทําลายมหาอาํ นาจอื่น ๆ โดยสิ้นเชิง แตก็ไมมีรัฐใดยอมรับอยางจริงจังถึงความคิดของการตดิ อาวุธทหาร โดยไมค ํานงึ ถึงกลมุ ของตน ซงึ่ นักทฤษฎียุทธวิธที ยี่ ิง่ ใหญท ส่ี ดุของระบอบการปกครองแบบเกา (Old Regime) เคานท ฟรานซวอส เดอ กีแบร การเมอื งภาคประชาชนและลทั ธชิ าตนิ ิยมในการปฏิวตั ิทางการทหาร: การปฏิวตั ิฝรั่งเศสและหลงั จากน้ัน

104(François de Guibert) ไดสรุปรูปแบบปกติของสงครามอยางหยาบ ๆ และแมน ยําในป 1772 (พ.ศ.2315) วา รัฐตาง ๆ ไมมีทั้งทรัพยหรือพลเมืองสวนเกิน คาใชจายของรัฐเหลานี้เกนิ กวา ภาษที ่ีรฐั จดั เก็บแมแตในยามปกติ แตรัฐเหลาน้ีก็ประกาศสงครามรัฐเหลานี้เขาสูสนามรบดว ย กองทพั ท่รี ัฐไมสามารถจดั หาเสบียงหรือจายได ผูชนะและผูแพตางก็ใชจายจนหมดเหมือนกัน หน้ีสินของชาติเพิ่มขึ้น เงินคงคลังลดลง การเติบโตทางการเงินสะดุด กองทัพเรือสูญเสียพลประจําเรือ สวนกองทัพบกก็สูญเสียทหารจนกระทั่งบรรดาเสนาบดีของทั้งสองฝายรูสึกวา ถึงเวลาที่จะตองเจรจากันการสงบศึกก็เกิดขึ้น อาณานิคมหรือมณฑลตาง ๆ สองสามแหงเปลี่ยนผูปกครองบอยครั้งที่สาเหตุของการขัดแยงยังไมหมดไป และแตละฝายนั่งทับเศษซากความเสยี หายของตน พรอ มกบั พยายามจา ยหน้ี และสะสมอาวธุ ของตน34 ทั้งความจําเปนของการดํารงการควบคุมทางการเมือง และการคอนขางจะขาดแคลนเครอื่ งมอื ทางทหาร ทาํ ใหเปาหมายตาง ๆ ถูกจาํ กดั แมป ระสิทธิภาพและการรวมอํานาจสูศูนยกลางของรัฐตาง ๆ ของยุโรปจะเพิ่มข้ึน ศิลปะการทหารของระบบการปกครองแบบเกา (Old Regime) ไดรับผลกระทบจากขอจํากัดที่เก่ียวพันและเปนอุปสรรคตอมวลชน, ความสามารถในการเคลื่อนที่ และผลแตกหักซงึ่ ไมส ามารถแกไ ขไดดวยระเบียบทางการเมืองและสังคมของตน ขอจํากัดเหลานี้เกือบทั้งหมดไมไดเกิดจากการเอาชนะ ขอจํากัดทางเทคโนโลยีในยุคของการปฏิวัติแตจากความยากในการจัดหนวยทางทหารและสังคมในการเกณฑทหาร, ธรรมชาติ(Nature), และส่ิงกระตุนของทหารแตละนายในดานหนึ่ง และในระบบของการควบคมุ และบังคับบัญชาในอกี ดานหนง่ึ ทหารของระบอบการปกครองแบบเกา (Old Regime) เปนผลจากการทีส่ ถาบันทหารไมสามารถหลดุ พนจากสงั คมแหง ระเบียบทต่ี นปอ งกนั โดยในฝรั่งเศสไดจากการกวาดลางรานเหลาตาง ๆ ของเมืองและชุมชนท่ีปกครอง รวมท้ัง 4อางใน David Chandler, The Campaigns of Napoleon (New York,1966), หนา 140. นอ กซ

105ทหารรับจางชาวสวิสและตางชาติอื่น ๆ ในรัสเซีย รัฐบังคับใชชาวบานจากหมูบานตาง ๆ เพื่อปฏิบัติงาน 25 ป สวนในปรัสเซีย จากป 1730 (พ.ศ.2273)ไดเกณฑช าวชนบท รวมทั้งการระดมอาสาสมัครและตางชาติบรรจุในระดับตาง ๆของทหารราบ ผูรว มสมัยดังกลาวทคี่ าดการณสองสามรายเขา ใจอยางเต็มทถี่ ึงผลตอไปทางทหารของสถานการณนี้ ซ่ึงกแี บร (Guibert) ไดก ลา วทํานายไวว า ; ปจจุบันทุกกองทัพของยุโรปซ่ึงแตกตางกันเพียงเล็กนอย มีลักษณะเหมือนกันซึ่งเปนขอบกพรองประการหนึ่ง คือ ไมคอยใชเครื่องมือที่มีอยู และไมตั้งอยูบนเกียรติยศหรือความรักชาติ ทุกกองทัพประกอบดวยสวนท่ีเลวรายที่สุด (la plus vile)และนา สงสารที่สุด ของประชาชน (และ) ของคนตางชาติ, ของคนเรรอน, ของผูที่ดวยสาเหตุเล็กนอยที่สุด (เชน) ไมพอใจหรือเรื่องสวนตัว ก็พรอมท่ีจะท้ิงหนาท่ีเหลาน้ีคอื กองทพั ของรัฐบาล (Governments) ไมใชกองทัพของชาติ (Nations)45 นอกจากนี้ สวนใหญกองทัพตาง ๆ ยังขาดความชัดเจนของการบัญชาการ(Command articulation) ซง่ึ ความเขมงวดในการบญั ชาการ (Control-mania)เปนลักษณะที่สําคัญท่ีสุดของปรัชญาของการบัญชาการของศตวรรษท่ี 18ซึ่งตัวอยางท่ีดี คือการบัญชาการรุกแบบเครื่องจักรกลของพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราชตอกองพันตาง ๆ ของพระองคจากเนินเล็ก ๆ ในการบัญชาการ (Feldherrenhügel -เฟลเดียเรนฮูเกล) ซ่ึงบัญชาการในภาพรวมของสนามรบ เฉพาะประมาณชว งยุคศตวรรษกลาง (Mid Century (ชวงป 1930– 1970 (พ.ศ.2473 – 2513))ท่ีนักทฤษฎีชาวฝรั่งเศสเชน กีแบร (Guibert) และปแอร เดอ บูรเซท (Pierre de Bourcet)ผูริเร่ิมแนวคิด กองทหารที่มีทุกเหลาและทหารราบ-ปนใหญในตัวเอง ไดพยายามผลักดันการสงเสบียง ดวยการปลนสะดม แทนขบวนสงกําลัง และเสนอการรวม 5Essai, général de tactique (Liège, 1773), vol. I, หนา 13-14(emphasis supplied). การเมืองภาคประชาชนและลัทธิชาตินิยมในการปฏิวตั ิทางการทหาร: การปฏิวตั ิฝร่งั เศสและหลงั จากนนั้

106กาํ ลังในระหวางการรบแทนท่จี ะเปน กอนการรบ56 ปจ จัยหลักสี่ประการที่เปนอุปสรรคตอการรวมและเคลื่อนยายกําลังสวนใหญประการแรก ในประชาคมเหลานี้ทั้งหมด ชนช้ันสูงและกลางพรอมดวยชาวเมืองที่ไดรับการจางงานท่ีเปนประโยชนทั้งหมด พึงพอใจตอการไดรับการยกเวนจากการดําเนินการท่ีบัญญัติโดยกฎหมายหรืออัตราภาษี และโดยผลประโยชนเรงดวนของรัฐในรายไดจากภาษี ซึ่งการดําเนินการดังกลาว เปนการจํากัดจํานวนของกองทัพและศกั ยภาพของความสามารถของรัฐอยางมาก ประการท่สี อง ระบบวินัยและยุทธวิธีโดยท่ัวไปยังจํากัดจํานวนกําลังทัพเพ่ิมขึ้นรัฐตาง ๆ ตระหนัก ดีวาผูท่ีถูกเกณฑในชาติและทหารรับจางตางชาติเปนการใชจ ายทสี่ น้ิ เปลอื งอยางมากและส้นิ เปลืองเวลาเพ่อื ฝก ในเรอื่ ง“การปลกู ฝงความอดทนในการรบ(Battle culture of forbearance)” และกส็ ้นิ เปลืองและยากยิ่งข้ึน ที่จะรักษาไวการขาดแรงกระตุนภายในของกองทหารนอกเหนือจากความรักหมูคณะ (Espritde corps - เอสเพรท เดอ คอร) ที่ จําเปนหรือคิดวาจําเปน คือ การปลูกฝง“การเชือ่ ฟงคําส่ังโดยไมมีขอ แม (Kadavergehorsam : คาดาเวอรโ กฮอรซัม – เยอรมนัหรือ corpse-obedience – อังกฤษ)” ตามการเปรียบเปรยการปฏิบัติของปรัสเซียถงึ การตอบสนองทต่ี องการใหรักษาไวแมความตายจะอยูตรงหนา ดวยคําสั่งใหรุกหรือถอยและการลงโทษทีต่ อ งการหรอื เช่ือวาตองการ เพื่อใหคําส่ังระดับลาง ๆ เปนไปโดยอัตโนมัติ,เพื่อปองกันการ หลบหนีที่จะมีขึ้น, และเพ่ือรักษาใหอยูในแถวอยางเครงครัดในสนามรบซ่งึ เปนสงิ่ สําคัญและตอ งใชเปน ประจํา ท้งั น้ี พระเจา เฟร็ดเดอรกิ สรุปมมุ มองของการบัญชาการท่ไี ดผ ลในป 1768 (พ.ศ.2311) ในคาํ กลา วท่ี ถูกนํามาอางอยางมากคือ ทหารตอง 6ดู Guibert, Essai, vol. I, หนา xii lxv-lxvii, vol. 2, หนา 24-9, 73-4, 184,และ Agar Gat, The Origins of Military Thought: From the Enlightenmentto Clausewitz (Oxford, 1989), หนา 43-53. นอกซ

107 กลัวนายทหารของตนมากกวาอันตรายท้ังหมดท่ีตนอาจเผชิญ มิฉะน้ันก็จะไมมีใครท่ีสามารถนําทหารเขาโจมตี แมจะตองเผชิญกับปนคาบศิลาสามรอยกระบอกระดมยิงใส ซ่ึงความดีไมสามารถทําใหคนธรรมดากลาเผชิญกับอันตรายดงั กลา วได จงึ ตองใชความกลัว ใหทาํ หนา ที่นี้67 ความกลวั โดยไมตองโฆษณาชวนเชื่อ ท่กี ารปกครองระบอบเกาไมส ามารถทําไดตองใชการดําเนินการอื่น ๆ ในรูปของการกระตุน ซึ่งจะลดทรัพยากรกําลังคนที่ขาดแคลนทม่ี ีอยขู องรฐั ย่งิ ขน้ึ ประการที่สาม แนวโนมของทหารที่จะละทิ้งหนาที่ถาไมมีนายทหารสัญญาบัตรหรือนายทหารประทวนควบคุม เปนปจจัยหนึ่งที่จํากัดขนาดและความสามารถในการเคลื่อนท่ีของกองทัพตาง ๆ ผูบังคับบัญชาไมสามารถปลอยใหทหารของตนออกปลนสะดมได การรบตาง ๆ ยังขึ้นอยูกับการสงกําลังบํารุงเปนประจําดวยขบวนสมั ภาระจากคลงั ตาง ๆ วิธีการท่ีใชแรงงานนี้ไมสามารถใหการสนับสนุนกองทัพท่ีมากกวา 70,000 คน ได แมแตในพ้ืนที่เพียงไมก่ีแหงของยุโรปตะวันตกท่ีมีถนนท่ีไมเปนโคลนเละ ปจจัยนี้ยังจํากัดการเคล่ือนท่ีในการรบอยางมาก โดยระยะทาง50 ถึง 70 ไมล เปนระยะทางที่ไกลที่สุด จากคลังหนึ่งที่กองทัพหน่ึงจะสามารถเคลื่อนที่ไดโดยไมสูญเสียเสนทางการสงกําลังบํารุงของตน และสิ่งสําคัญยิ่งของเสนทางการสงกําลังบํารุงเดียวกันเหลาน้ีทําใหกองทัพตาง ๆ เสี่ยงตออันตรายยิ่งจากการโจมตีทางปก ความไมเพยี งพอในการสงกําลังบํารุงยังเพ่ิมความสําคัญของความคับคั่งแบบคอขวดที่มนุษยส รางข้ึน ซ่งึ กค็ อื ปอมตา ง ๆ ท่คี วบคมุ ถนนหรือทาขามแมน้ําตาง ๆที่สงครามของศตวรรษที่ 18 สวนมากเกี่ยวของ สุดทาย การไมมีหนวยแบบกองพลและฝายเสนาธกิ ารทเ่ี พียงพอสาํ หรับผบู ัญชาการสนามรบ ยังเพม่ิ ขีดจํากัดในการ 7Testament of 1768, อางใน Reinhard Höhn, ScharnhorstsVermächtnis (Frankfurt a. M., 2nd ed., 1972), หนา 193. การเมืองภาคประชาชนและลัทธชิ าตินิยมในการปฏิวัติทางการทหาร: การปฏวิ ตั ฝิ ร่งั เศสและหลังจากนนั้

108สงกําลังบํารุงในการปฏิบัติการยุทธ แมวากองทัพจะย่ิงมีขนาดใหญเทาใด การควบคุมการปฏิบตั กิ ารยุทธก็จะยากทจ่ี ะเปน ไปได ขอจํากัดตาง ๆ เหลานี้ทําใหการสงครามของระบอบการปกครองแบบเกาไมส ามารถบรรลุผล แตกหกั ไดอยางแทจริง ในระดบั ยุทธศาสตร เปาหมายจํากัดท่ีเปน“อาณานิคมหรือมณฑลไมกี่แหง” ไมไดประกันความเสี่ยงท่ีสูงหรือการทบทวนใด ๆของความสงบเรียบรอยภายในประเทศ ทหารสิ้นเปลืองสูงมาก และยากที่จะไดมาและฝกเพื่อใหสามารถรับมือไดกับอันตรายในสนามรบ และกองทัพท่ีเปราะบางตาง ๆรวมเขาดวยกันสวนใหญดวยการบังคับท่ีกลาววามีพลังยิ่งตอการพยายามใหไดมาซึ่งผลเด็ดขาดดวยทุกวิธี ซึ่งเปนการอบรมสั่งสอนเฉพาะที่ผูบัญชาการทัพท่ีไรความปรานีและชํานาญการท่ีสุดของระบอบ การปกครองแบบเกาคือมารลโบโร(Marlboroug) และพระเจา เฟรด็ เดอรกิ มหาราช กลาที่จะมองขามไป ในทางการยุทธ ขอจํากัดที่ไมสามารถเปล่ียนแปลงไดยังทําใหทหารไมสามารถขยายผลและตอ สูโดยไมมีผลแตกหัก ขอจํากัดทางการสงกําลังบํารุงตอหนวยระดับกองทัพสนามจํากัดโอกาสของผูบัญชาการทัพ ท่ีจะโอบปกหรือวางกับดักขาศึกไดกองทพั ตา ง ๆ ไมก ลาทงิ้ หางขบวนสงกาํ ลงั ของตน ซง่ึ แมแตภัยคกุ คามเล็ก ๆ ตอการขนสงของกองทัพก็ทําใหก องทพั ไมสามารถเคลอื่ นทีไ่ ด การเคลื่อนยายตองมีการคาดการณ และวางแผนเพ่ือหลีกเล่ียงความสับสนท่ีอาจเปดโอกาสใหทหารละท้งิ หนา ที่ไดมากขึ้น การเคลื่อนยายแบบกระจายกระทําไดยากหรือเปนไปไมไดจากลักษณะของทหารและการไมมีการจัดหนวยเปนสวน ๆ และฝายเสนาธิการเฉพาะการลาดตระเวนจะมีเฉพาะในไมก่ีกองทัพที่มีหนวยทหารมาเบาหรือทหารราบเบาที่ไวว างใจไดซ ่ึงมีแรงดลใจหลักทคี่ วามจงรักภกั ดีมากกวาความกลัว สดุ ทา ย ผลแตกหักในระดับยุทธวิธีเปนสิ่งที่ยากย่ิง ความกลัวที่จะมีการละทิ้งหนา ที่และการควบคุม บงั คบั บัญชาที่เขมงวด จะลดการลาดตระเวนทางยุทธวิธีและถวงหรือทําใหไมเกิดการรบในรูปขบวนเปด หรือการระวังปองกัน ยกเวนทหารท่ีไดรับการฝกมาเปนพิเศษ การท่ีไมมีหนวยระวังปองกันจะลด ประสิทธิผลของการโจมตีลงอยางมาก การระวังปองกันจะปองกันการปฏิบัติหลักในภูมิประเทศที่มีความสูงต่ําแตกตางกัน (Broken terrain) ยกเวนในสถานการณพิเศษ นอกซ

109การระวังปองกันจะจํากัดการยิงตอสู ที่สวนใหญจะทําการยิงตลอดหนาแนวและจะทําใหผูบัญชาการทัพตองพยายามหาผลแตกหักดวยการจูโจม ท่ีคาดไมถึงในเรื่องกําลังและทิศทางการเขาตี ซึ่งเฉพาะการกําบังของหนวยระวังปองกันเทานั้นที่จะสามารถใหไดการโจมตีในเวลากลางคืนเส่ียงตอการสูญเสียการควบคุมวินัยและยทุ ธวิธีมากยงิ่ กวาการระวังปอ งกัน และยากยิ่งเชนกนั สุดทายและแนนอนทส่ี ดุวิธีการไลติดตามที่ตองใชเพ่ือทําลายชาศึกท่ีแตกพาย และเปล่ียนผลสําเร็จในสนามรบไปเปนการแตกหักทางยุทธศาสตรทําใหเสี่ยงมากเกินไปตอความสับสนที่จะปฏิบัติไดสาํ หรับสวนใหญของกองทัพตา ง ๆ ของศตวรรษที่ 18 ขอจํากัดเหลาน้ีซ่ึงตอมาเคลาสวิทซอธิบายวาเปนธรรมชาติที่แทจริงของสงคราม คือ สังคม, การเมือง, และการจัดองคกร แทนที่จะเปนเทคโนโลยีโดยมีขอยกเวนที่สําคัญเพียงประการเดียวของปนใหญสนามท่ีมีความสามารถในการเคล่อื นที่ของราชวงศฝ ร่งั เศส ซึ่งเปน การเปลยี่ นแปลงท่ีสําคัญ แตคอยเปนคอยไปที่เร่มิ ตั้งแตการปฏริ ูปของเคานท เดอ กรีโบวลั่ (de Gribeauval) ในป 1770 (พ.ศ.2313)โดยมหาอํานาจตาง ๆ สูรบในมหาสงครามของป 1792-1815 (พ.ศ.2335-2358)ดวยเทคโนโลยีของสงคราม ของพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราช ซึ่งส่ิงท่ีเปล่ียนแปลงไปคอื ความคิดและการเมอื ง การปฏิวัตใิ นการสงคราม (The Revolutionary at War) เปนเวลาหนึ่งในสี่ของศตวรรษกอนการปฏิวัติเพ่ือใหไดมุมมองท่ีสมบูรณของความคิดดานยุทธวิธี, ยุทธการ, และยุทธศาสตรของตน กีแบร (Guibert)ไดเขียนบทความท่ัวไปเก่ียวกับยุทธวิธี (General Essay on Tactics) แกปตุภูมิ(Patrie – แพ ทรี) ของตน ซ่ึงสําหรับกีแบร พระมหากษัตริยทรงเปนพระบิดาของปตุภูมิ (Patrie) สวนประชาชนของฝร่ังเศสก็คือลูก ๆ ซ่ึงเปนภาพหน่ึงที่คาดหวังท่ีดีท่ีสุด อันโดงดังของเพลงชาติ ฝรั่งเศส (Marseillaise - มารแซแยซ)ความหวังที่สงู สดุ ของกแี บร คือ “บุคคลหนง่ึ ๆ อาจหวนคิดถึงคาํ วา ปตุภูมิ (Patrie) การเมืองภาคประชาชนและลทั ธิชาตินยิ มในการปฏวิ ตั ทิ างการทหาร: การปฏวิ ตั ิฝรงั่ เศสและหลังจากนั้น

110ซ่งึ ความสาํ คญั และทรงพลังย่ิงของคํานี้ [และ] ทําใหเพลงน้ีเปนเสียงร่ํารองของชาติ(One could return to this term Patrie all its significance and energy,[and] make it the cry of the nation)” ส่ิงดังกลาวเปนความหวังท่ีไดแพรหลายไปในวงของชาวปารีสหัวทันสมัยและกา วหนาท่ีช่ืนชอบ หนังสือของกีแบร เน่ืองจากหนังสือนี้เรียกรองตอปตุภูมิ (Patrie)ซึง่ เปนความสําเรจ็ ท่ไี มเ คยเกิดขึน้ มากอ น สาํ หรบั งานทางทหารที่ตอ งใชก ลวธิ เี ฉพาะการตกตํ่าตอมาของระบอบกษัตริย สวนใหญเปนผลจากความลาชาของการกระทําผิดท่ีไรความสามารถทางการเงินและการทหารของราชวงศตอความรูสึกท่ีไดรับการยกยองของชาติที่ยึดถือความรูและการศึกษา78 เกียรติภูมิของระบอบกษัตริยไมฟนคืนขึ้นจากการพายแพ ท่ีเจ็บปวดดวยมือของพระเจาเฟร็ดเดอริกที่รอสบัค(Rossbach) เม่ือป 1757 (พ.ศ.2300) และผลหายนะของ สงครามเจ็ดปและสงครามการปฏิวัติอเมริกาตอการเงินการคลังของฝรั่งเศสเปนรากฐานของการพังทลายทางการเมอื งและการปกครองในป 1787-89 (พ.ศ.2330-32) การท่ีพระมหากษัตรยิ แ ละบรรดาเสนาบดีไมสามารถเปล่ียนแปลงนโยบายภาพที่สูงสงของการปฏิวัติศักด์ิศรีของปตุภูมิจึงยุงเหยิงต้ังแตเร่ิมตนการทดสอบที่หายนะของระบอบกษัตริยตามรัฐธรรมนูญในป 1789-92 (พ.ศ.2332-35)ความคล่ังชาติ, ความตองการในความเสมอภาค, ความหวาดระแวงในการปฏิวัติเสรมิ ดวยการเส่อื มถอยของกษัตรยิ และการเผชิญอยางตอเน่ืองกับการถอนตัวของขุนนาง, และการมุงคิดแต ผลประโยชนทางการเมืองอยางไมแยแส นําไปสูการประชุมสภานิตบิ ัญญัตใิ นป 1791-92 (พ.ศ.2334-35) เพ่อื ทา ทายยโุ รปทง้ั หมด89 8Blanning, “Nationalism and the French Revolution”. 9T. C. W. Blanning, The Origin of the French RevolutionaryWars (London, 1986) otters a brilliant introduction, despite perhapsexcessive emphasis on the extent to which Austrians and Prussiansalso helped to precipitate war. นอ กซ

111 จากฤดูใบไมรวงของป 1791 (พ.ศ.2334) เปนตนไป กลุมการเมืองชีรงแด็ง(Girondin) ซีกของฝายปฏิวัติไดประกาศอยางเปดเผยตอสภาฯ วา “สงครามนี้จะเปนประโยชนอยางแทจริง ประโยชนของชาติ และเฉพาะฝร่ังเศสที่เคราะหรายเทานั้นที่ตองหวาดกลัวที่จะไมมีสงคราม” ผลประโยชนของชาติ “ตองทําสงครามสําหรับชาติตองดํารงศักดิ์ศรี, เกียรติยศ, ความมั่นคง, และชื่อเสียงของชาติและสามารถพิชิตคืนมาดวยอํานาจของปลายดาบเทานั้น”910 ฝร่ังเศสใหมไมเขากันกับระบบการปกครองเกา ทม่ี ีความสมั พนั ธระหวางรัฐของราชวงศ “ขอตกลงของกษัตริยตาง ๆไมสามารถครอบงําสิทธิของชาติ (the treaties of princes cannot governthe rights of nations)”1011 ฝรั่งเศสใหม “จะไมพายแพถายังคงรวมกันอยูได”“ดวยทาส 400,000 คน พระเจาหลุยสที่ 14 สามารถตานทานมหาอํานาจทั้งหมดของยุโรปไดดงั นั้น ควรหรอื ไมส าํ หรบั เรา ที่ดวยกําลังทัพเปนลานของเรา ที่จะตองกลัวชาติเหลานั้น?”1112และฝร่ังเศสใหม มีภารกิจที่มากมาย ซึ่ง “ชาวฝร่ังเศสไดกลายเปนประชาชนท่ีควรคา ตอการจดจําท่ีสุดในสากล การกระทําของชาวฝรั่งเศสจึงตองตอบสนองตอชะตากรรมใหมของตนในปจ จบุ นั ”1213 โดยภายนอกสงครามอาจเปน “การชวยใหอยูรอดท้ังของฝร่ังเศสและของเผาพันธุมนุษย” ซ่ึงสงครามปฏิวัติโลกของ “ประชาชนตอกษัตริย” โดย“ประชาชนฝร่ังเศสเพียงแคตองเรียกรองออกมาประชาชนอื่น ๆ ทั้งหมดก็จะตอบสนอง 10Brissot, 29 December 1791, Archives Parlementaires de 1789 d 1860,première série (Paris, 1867-1980), vol. 36, หนา 607, 608; และดู(ในกลมุ ขอสังเกตทค่ี ลา ยกันอืน่ ๆ) Gensonné, ibid. vol. 37, หนา 412 (14 January 1792). 11Merlin de Douai, 28 October 1790, ibid, vol. 20, หนา 83. 12Isnard, 5 January 1792, ibid, vol 37, หนา 85; Dubois-Du Bais,22 October 1791, ibid, vol. 34, หนา 348. 13Brissot, 29 December 1791, ibid, vol. 35, หนา 441. การเมอื งภาคประชาชนและลัทธิชาตนิ ิยมในการปฏิวตั ทิ างการทหาร: การปฏวิ ตั ิฝรงั่ เศสและหลงั จากน้ัน

112การเรียกรองนั้น และโลกก็จะตอบสนองดวยกําลังรบ และเพียงวูบเดียวขาศกึ ทีเ่ ทยี บเทา กนั ก็จะถูกทาํ ลายลา งออกจากคล่นื ของชวี ติ ”1314 สงครามอาจเปนทั้งหมด “ชาวฝร่ังเศสคือราชสีห และจะปองกันตนเองในลักษณะท่ีอาจไมมีใครเหลือรอดอยูหรือคงอยู ชาวฝรั่งเศสจะฝงตัวเองภายใตซากปรักหักพังของคฤหาสนใหญโตและบานเล็ก ๆ โกโรโกโสแบบชาวชนบทของตน... แผนดินของฝร่ังเศสอาจตกเปนทาส แต (ชาวฝรั่งเศส) อาจตาย โดยสูญเปลาพรอมกับภรรยา(ของตน), ลูก (ของตน), และกลมุ (ของตน) (ไชโย)”1415 และสงครามก็ยังอาจเปนเรื่องภายใน ตอ “กับดักและการทรยศ”ของศตั รูของพรรคปฏวิ ัติ ซ่ึง “ไมมี ประชาชน, นักบวช, แมทัพ, เสนาบดี, กษัตริยหรือใครอื่น จะหลอกลวงเราดวยการนิรโทษ การตายเปนการหลุดพนเราแกปญหาความเสมอภาคแมวาเราจะหาส่ิงนั้นไดเฉพาะในหลุมศพ แตกอนท่ีเราจะตกลงไปถงึ จดุ นน้ั ดวยตวั เราเอง เราก็ควรกระชากผูตระบัตรสัตยท้ังหมดลงมา”1516สงครามนี้ ในฐานะผูนําและ ผูปราศรัยที่สําคัญท้ังสองของกลุมการเมืองชีรงแด็ง(Girondin) ซึง่ ไดรวมทง้ั สองสิง่ เขา ดวยกันเปนทั้งเรื่อง ในประเทศและนอกประเทศพรอมกันสงครามเปน “สง่ิ จําเปน ยง่ิ สําหรับความสําเร็จของการปฏิวัต”ิ 1617 14Cloots, 13 December 1791; Isnard, 29 November and 5January 1792, ibid, vol. 35, หนา 412, vol. 37, หนา 87. 15Cloots, 13 December 1791 vol.36, หนา 79. 16Isnard, 6 March, 20 January 1792, ibid, vol 39, หนา 416, vol.37, หนา 547. 17Isnard, 5 January 1792;Brissot, 17 January 1792 (“la guerre …consommé la révolution”), ibid, vol. 37, หนา 85, 471 สําหรับอนาคตของกรอบแนวคิดน้ีดู MacGregor Knox, Common Destiny: Dictatorship,Foreign Policy, and War in Fascist Italy and Nazi Germany(Cambridge, 2000), โดยเฉพาะหนาท่ี 1-4 และบทท่ี 2. นอกซ

113 ภูมิปญญาท่ีเพ่ิมข้ึนของประชาธิปไตยยุคอุตสาหกรรมในชวงการเปลี่ยนผานของศตวรรษท่ี 21 มี แนวโนมที่จะไมเช่ือโวหารเพื่อปลุกระดมของกลุมคนตามท่ีไดกลาวไปขางตน การโฆษณาชวนเช่ือสําหรับมวลชน และแนวคิดหลังจากยุคสมัยใหมสําหรับผูมีการศึกษา จะอยูระหวาง“การใชโวหาร” หรือ “การใชวาทกรรม”ที่ลดความเขมขนลง ซ่ึงชีวิตข้ึนอยูกับโทรทัศนท้ังหมด แตในป 1792-94 (พ.ศ.2335-37)นายทหารของกองทัพปรัสเซียและออสเตรียท่ีมีความรูความเขาใจมากขึ้นไดตระหนักวาวาทกรรมของฝรั่งเศส ไดกําหนดสภาพที่เปนจริงของสนามรบเคลาสวิทซ ท่ีไดเห็นการปฏิบัติในป 1793 (พ.ศ.2336) เปน คร้ังแรกเม่ืออายุ 12 ปแทบไมมีขอสงสัยเลยเก่ียวกับธรรมชาติของความสัมพันธวา “มวลชนฝร่ังเศสท่ีมหาศาลทง้ั หมด ทถี่ ูกปลกุ ระดมดวยความบาคลัง่ ทางการเมือง ไดโถมเขาบดขยเ้ี รา”1718 ในสงครามที่ย่ิงใหญคร้ังแรกของยุคการเมืองภาคประชาชนนี้ ความคล่ังชาติไดลบลางขอจํากัดที่คาดท้ังหมดตอเปาหมายและวิธีการตาง ๆ ของสงครามการดําเนินการของการปฏิวัติและการพัฒนาของ การปฏิวัติโดยนโปเลียนเปนตัวอยางที่มีชีวิตจริงสําหรับกรอบทฤษีแบบคานตของเคลาสวิทซของสงครามท่ีแทจริง คือ“สงครามคือการใชกําลัง และไมมีขอจํากัดในการใชกําลังนั้น (war is an act offorce, and there is no logical limit to the application of that force)”1819เปาหมายของการปกครองแบบปฏิวัติของ การปฏิวัติโลกไดลิขิตอาณาจักรหนึ่งท่ีครอบคลมุ ไปถึงแมนํ้าไรนและเลยออกไป การผานไปของคล่ืน การคล่ังการปฏิวัติในป1794 (พ.ศ.2337) ไมมีผลท่ีรุนแรง และความกระหายท่ีมากขึ้นของโบนาปารตในการมีอํานาจเหนือสากลท้ังหมดหลังป 1799 (พ.ศ.2342) ก็เปนเพียงลักษณะเฉพาะของภารกจิ การปฏิวตั ิ ในการชวยเหลือมนุษยชาติดวยการใชกําลังโดยชาติฝรั่งเศสในนามของปต ุภมู ิ (Patrie) รว มกัน 18On War, หนา 518 (emphasis added). 19On War, หนา 582-4, 75-7; รวมทง้ั 217, 592-3. การเมืองภาคประชาชนและลัทธิชาตินยิ มในการปฏวิ ตั ิทางการทหาร: การปฏวิ ัติฝรง่ั เศสและหลังจากนั้น

114 การเมืองใหมไดลบลางขอจํากัดท่ีคาดทั้งหมดเกี่ยวกับการกระทําของรัฐพรอมกับสังคมแหงความเปนระเบียบ(Society of orders) ทรัพยสินและการดํารงชีวิตของแตละคนข้ึนอยกู ับการบรหิ ารของประเทศโดยไมมเี ง่อื นไข การตระเวนตรวจตราของตํารวจท่ีกระจายอยูทั่วไป, การประหารและ การขุดรากถอนโคนขาศึกที่แทจริงและที่คาดตามระดับและดวยความทารุณโหดรายไมปรากฏใหเห็นอีกใน ยุโรปจนถึงป1917-45 (พ.ศ.2360-88) และการรบั ราชการทหารกงึ่ สากลก็เปนคําส่ังของยุคนั้นภายนอกประเทศกเ็ ชน เดยี วกันการรับรูเก่ียวกับการปฏิวัติไมมีจํากัดทั้งของธรรมเนียมปฏิบัติหรือความเห็นอกเห็นใจ ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงประเทศอยางรวดเร็วและรุนแรงตอเพือ่ นบา นท้งั หมดของฝรง่ั เศส ซงึ่ ออ มแอม “ปฏิเสธที่จะยอมรับเสรีภาพและความเสมอภาคและประกาศไมรับเร่ืองดังกลาว โดยหวังที่จะ รักษาไว, ฟนฟู, หรือเจรจากับกษัตริยของตนหรือชนช้ันอภิสิทธิ์” จน ก.ย.1793 (พ.ศ.2336) ฝรั่งเศสไดแสดงความจริงจัง “ประกาศเลิกตั้งแตน้ันซ่ึงแนวคิดของการเปนผูให (Philanthropic idea)ที่ประชาชนฝรั่งเศส ไดรับมาใชกอนหนาน้ีท้ังหมด เพ่ือทําใหรัฐตางชาติพึงพอใจในคุณคาและขอดีของเสรีภาพ” ฝรั่งเศสตามท่ีกีแบร (Guibert) ไดกลาวเตือนไววาการปลุกผีกาโตผูอาวุโส (Cato the Elder นักการเมืองโรมัน เม่ือประมาณสองรอยปกอ นครสิ ตกาล) อาจ “สนบั สนนุ สงครามดว ยสงคราม (Nourish war by war)”1920ตอไปในภายหนา ซึง่ รฐั ฝร่งั เศสอา งสทิ ธโิ ดยไมจาํ กดั ของการไดช ยั ชนะ และประกาศอยา งเปนทางการวา การปลน สะดมเปนระบบการสงกาํ ลังบาํ รงุ ของตน สดุ ทาย การปฏิวัติไดทําลายลางขอจํากัดของสงครามท่ีมีอยูในลักษณะของกองทัพในระบอบการปกครองแบบเกา ณ ตอนน้ันทหารยังไมถูกตัดออกจากสังคมแตเ ปน “สหาย, มติ รรว มชาติ, ประชาชน, และทหารหาญของปตุภูมิ (Patrie) ของเรา”การโฆษณาชวนเช่ือผูรักชาติในการปฏิวัติไดดําเนินการตามความคิดของตนในการปองกันประเทศและระหวางประเทศของปตุภูมิ (Patrie) นั้น และ 20National Convention decrees, 15 December 1792 and 15September 1793, Archieves parlementaires, vol. 55 หนา 74-6 และvol. 74, หนา 231; Guibert, Essai, vol. I, หนา xiii, vol. 2, หนา 184. นอกซ

115อาศัยพลังกระตุนความรูสึกนึกคิดของทหารหาญท่ีรุนแรงย่ิง ซ่ึงเปาหมายดังกลาว คือการเชื่อฟงที่มีวิจารณญาณตามคํากลาวของรัฐมนตรีกระทรวงสงครามของพรรคปฏิวัติที่วา “ไมใชการเชื่อฟงของทาส แตเปนของเสรีชน”2021เมื่ออยูในสนามรบเหลาทหารใหมนี้หนีทัพนอยกวาทหารในระบอบการปกครองเกาและการหนีทัพก็เปนเร่ืองเปนราวนอยลง สําหรับบรรดาชายฉกรรจที่ ณ ตอนน้ีมีมากมายและไมตองเสียคาใชจายมาก ทหารเหลานี้เผชิญหนาขาศึกอยางเต็มใจและสรู บอยา งสรางสรรคแ ละเหนยี วแนน นอกจากนี้ ผูบ งั คบั บญั ชาของทหารเหลานี้ก็ยังเปนคนรุนใหม สําหรับการพังทลายของสังคมแหงความเปนระเบียบในป1789-90 (พ.ศ.2332-33) และการขยายตัวของการปฏิวัติ ทําใหบรรดานายทหารในระบบคณาธปิ ไตยของกองทัพแบบเกาสวนใหญจํานวนมากอพยพออกนอกประเทศซึง่ ชว งสุญญากาศทเี่ กิดข้ึนอุดมคติแหงความเสมอภาค และความเรารอนของการปฏิวัติและความหวาดระแวงท่ีทาํ ใหเ กดิ การประหารสิบเจด็ นายพลในป 1793 (พ.ศ.2336)และอีกหกสิบเจ็ดในป 1794 (พ.ศ.2337) ทําใหเกิด “การเปดโอกาสกาวหนาตามความสามารถ” ในสงคราม และนายพลตาง ๆ ซ่ึงเม่ือไมก่ีปกอนน้ีเปนพลทหารหรือนายสิบ หรือรอยตรีรอยโท (เชน โบนาปารต) ซ่ึงเกือบคร่ึงหน่ึงของนายทหารของฤดูรอนของป 1794 (พ.ศ.2337) ไมเคยปฏิบัติหนาที่แมแตเปนพลทหารภายใตการปกครองระบอบเกา2122 ซึ่งโอกาสที่จะไดรับการเลื่อนยศสูงข้ึนผสมผสานกับพลังในการอุทิศตนแกฝรั่งเศสและความหวาดกลัวตอกิโยติน “ดาบแหงความเสมอภาค(Sword of equality)” กระตนุ นายทหารเหลา น้ี และทหารของตนใหเ ขา สูส นามรบ 21Camille Desmoulins and Jean-Baptiste Bouchotte, อางใน JohnA. Lynn, Bayonets of the Republic: Motivation and Tactics in theArmy of Revolutionary France, 1791-94 (Champaign, II, 1984), หนา 64, 100. 22Lynn, Bayonets, หนา 75. การเมอื งภาคประชาชนและลัทธิชาตินิยมในการปฏิวตั ิทางการทหาร: การปฏิวัตฝิ ร่ังเศสและหลงั จากน้ัน

116 ในดานยุทธศาสตรการเติบโตและเปาหมายท่ีไมจํากัดของการปฏิวัติหมายถึง กําลัง 750,000 คน ในสนามรบในกลางป 1794 (พ.ศ.2337) ท่ีตองใชเพื่อการทําลายกองทัพศัตรูดวยการรบ และแลวกองทัพฝร่ังเศสใหม ก็ไดพิสูจนวามีความเปนปกแผน แมในการเอาชนะเพ่ือประกันความเสี่ยงอยางย่ิงเพ่ือชัยชนะในดานยุทธการ ทหารรุนใหมทําใหการเคลื่อนท่ีท่ีไมคาดคิดสามารถเปนไปไดความเปนชาตินิยมทําใหการสงกําลังบํารุงดวยการปลนสะดมเปนไปไดดวยดีทหารออกหาเสบียงดวยความสบายใจตามปกติโดยไมหนีทัพ2223 สิ่งน้ีทําใหกองทัพท่ีมีเสรีในการกระจายกําลังและออมผานปอมตาง ๆ ทั้งหลายท่ีสรางขึ้นเพื่อยันกําลังท่ีร้ังรอของระบอบการปกครองแบบเกา บรรดาแมทัพท่ีไมตองผูกติดกับฐานที่อยูกับที่และเสนทางสงกําลังตาง ๆ อีกตอไป สามารถเปลี่ยนทิศทางและความเร็วของหนวยขนาดใหญไดอยางรวดเร็ว และเคลื่อนที่ไดระยะทางไกลเขาสูสวนหลังของขาศึกที่ไมค าดคิด ความสับสนในรูปขบวนเดินไมทําให หนวยตองกระจัดกระจายอีกตอไปภูมิประเทศท่ีเปนเนินสลับกันไป (Broken terrain) ไมใชอุปสรรคอีกตอไป และการสงกาํ ลังบํารุงแบบใหม เมอื่ รวมกับการจดั หนวยแบบกรมและกองพล ในระเบยี บกองทัพบกของป 1791 (พ.ศ.2334) และในสงครามหลังป 1792 (พ.ศ.2335)อาํ นวยตอ การเคลือ่ นท่ีแบบกระจายและการรวมกําลังในสนามรบไดด ว ยตวั เอง ในทางยุทธวิธี ทหารรุนใหมไดใหสนามรบใหมแกเรา จํานวนคนที่เพ่ิมขึ้นทําใหอํานาจการยิงรุนแรงมากข้ึน โดยกําลังพลแตละนายกระจายกําลังกันออกไปแทนที่จะเปนรูปขบวนที่ชิดกัน ซ่ึงประการแรกสวนใหญจะมาจากการดําเนินการทีไ่ มไดเตรยี มการไวม ากอ น ตอ มาจึงไดม ีการวางแผนกองทัพฝร่งั เศสของป 1792-95(พ.ศ.2335-38) ใชกลุมหนวยระวังปองกันนําหนาการรุกของตนตอจากกําลังดังกลาวเปนรูปขบวนแบบผสม (Ordre mixte – ออดัวร มิกซท) สําหรับเคลื่อนท่ีไดโดยรวดเร็วและแถวของการยิงในการรบซึ่งคิดขึ้นโดยกีแบร และนํามาใสไวในระเบียบที่โดงดังของป 1791 (พ.ศ.2334) แมทัพตาง ๆ สามารถสลับหนวยระวังปองกัน,แถวตอน, หรือแถวหนากระดานไดโดยเสรีข้ึนอยูกับภูมิประเทศ และ สถานการณ 23ดภู าพสําหรับ Armée du Nord ใน Lynn, Bayonets, หนา 110-13. นอ กซ

117ปนใหญที่มีความคลองแคลวในการเคล่ือนที่ของกรีโบวั่ล (Gribeauval) ใหการยิงสนับสนุนโดยใกลชิด และสามารถไววางใจทหารราบไดเพียงพอสําหรับการไลติดตามท่ีสามารถเปล่ียนการระสํ่าระสายของขาศึกไปเปนการพายแพ และการทาํ ลายโดยสน้ิ เชิง สังเคราะหก ารปฏิบัตขิ องนโปเลยี น การตอบโตของปรสั เซีย (Napoleonic Synthesis, Prussian Response) การปฏวิ ัติเปล่ียนแปลงสงคราม และสงครามกเ็ ปลยี่ นแปลงการปฏิวัติปลายป 1790 (พ.ศ.2333) เกียรติภูมิที่ยิ่งใหญของชัยชนะและความพึงพอใจของการปลนสะดมทาํ ใหกองทัพฝรัง่ เศสคอนขา งทีจ่ ะเปน เครอ่ื งมอื ทางการเมืองในการขยายประเทศฝร่ังเศสและการปลกู ฝง ความเปน ชาตนิ ยิ มของชาวฝรง่ั เศส ภาพที่เดนชัดท่ีสุด โบนาปารต นายพลหนุม เสริมเฉพาะดวยการชวงชิงสวนตัวเล็กนอยตอ ส่ิงสืบทอดทางการเมือง, การจัดหนวย, และหลักนิยมของตนหลังจากการเขายึดอํานาจสูงสุดในป 1799 (พ.ศ.2342) ในฐานะทหารปนใหญโบนาปารตใหสิทธิพิเศษแกเหลาของตนและใชมันอยางมากเพ่ือชดเชยความบอบบางทางยุทธวิธีที่เพิ่มข้ึนของทหารราบของตนเมื่อเวลาผานไปหลาย ๆ ป และการไมไดใชมา ในการเคลื่อนที่ โบนาปารตสรางความสมบูรณแบบของระบบกองพลโดยจัดกลุมกองพลและหนวยอ่ืน ๆ อยางออนตัวตามภารกิจที่ไดรับ เขาเปนกองทัพนอยท่ีมีทุกเหลา กองทัพขนาดใหญที่มีกําลัง 150,000 นายถึง 500,000 นาย ถูกแบงออกเปนกองทัพนอยที่สามารถเคลื่อนที่ดวยขบวนทยอยหางกันหน่ึงหรือสองวัน เช่ือมตอดวยทหารมาที่เปนสวนระวังปองกันและสวนระวังหนา แตละกองทัพนอยมีขนาดเล็กเพียงพอที่จะไมยากตอการสงกําลังบํารุง แตก็มีกําลังเพียงพอที่จะเผชิญกับกองทัพขาศึกวันหรือสองวันจนกวากองทัพนอยที่เหลือของฝรั่งเศสจะสามารถเขาประชิดขาศึกทางปกหรือทางดา นหลงั ภายใตก ารผลกั ดนั ที่ดเุ ดือดของนโปเลียน เพอื่ ควบคมุ หนวยตาง ๆ การเมอื งภาคประชาชนและลทั ธิชาตนิ ยิ มในการปฏวิ ตั ทิ างการทหาร: การปฏิวัตฝิ ร่ังเศสและหลังจากนั้น

118ท่ีกระจายหางกันอยางกวางขวางนโปเลียนไดสรางระบบฝายเสนาธิการและกองบัญชาการท่ีแมจะไมมีอํานาจการตกลงใจและการขาดแคลนองคประกอบหลายอยาง ซึ่งมีขนาดและความซับซอนที่ไมเคยพบมากอน โดยในป 1812(พ.ศ.2355) มนี ายทหาร 3,500 นาย และ กําลงั พล 10,000 นาย รวมท้ังกาํ ลังปองกันในที่สุดจักรพรรดินโปเลียนก็ไดรับเอกภาพในการบังคับบัญชาในสนามรบในระดับหนึ่งและที่ระดับสูงสุดของรัฐที่เทียบไดเฉพาะพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราช ในอดีตเมื่อไมนานมานี้ และความสามารถในการยุทธพลังการขับเคล่ือน และความรวดเร็วในการปฏบิ ัติ ดวยพระองคเองทงั้ หมด2324 ต้ังแตป 1800 (พ.ศ.2343) เปนตนไป นโปเลียนไดทําใหการเกณฑกําลังจํานวนมากและความรูสึกชาตินิยมท่ีรุนแรงของกองทัพปฏิวัติเปนระเบียบแบบแผนและเปนการถาวร เปนสิ่งที่เหลือเช่ือที่บางคร้ัง ก็เกิดความแตกตางของความคิดระหวางความพรอมรบของชาติ (Nation-in-arms) ของป 1793 (พ.ศ.2336)ท่ีขับเคล่ือนดวยศรัทธาของการปฏิวัติและทหารอาชีพของปลายป 1790 (พ.ศ.2333)กับจักรวรรดินโปเลียน ที่ขับเคลื่อนดวยเกียรติยศและความสามัคคี (Esprit de corps)เพียงอยางเดียวหรือสวนใหญ2425 ทหารแบบอาสาสมัครของป 1793 (พ.ศ.2336)มีความเปนทหารอาชีพเพียงพอที่จะเอาชนะทหารที่ดีท่ีสุดของการปกครองระบอบเกาดวยความชาํ นาญการ รวมทัง้ ความศรัทธาทหารอาชีพท่ีเอาสเตอรลิทซ (Austerlitz)และท่ีเจนา - เออรสเตดท (Jena-Auerstädt) และหลังจากนั้นเปนการเกณฑตามอาํ นาจของกฎหมายการเกณฑประจําปแบบกึ่งสากลของนายพลโจดัง (Jourdan)ของป 1798 (พ.ศ.2341) และนํามาพัฒนาโดยนโปเลียน ทําใหกองทัพฝรั่งเศส 24ดูสรุปท่ีดีย่ิงใน Chandler, Campaigns, หนา 133-201 (operation),332-78 (tactics and command technique). 25ดู Lynn, “Army of Honor,” โดยเฉพาะหนา 159-60; Jean-PaulBertaud, La vie quotidienne des soldats de la Révolution 1789-1799(Paris, 1985), หนา 115. นอกซ

119เพมิ่ ทหารขน้ึ 2 ลานนาย ระหวางป 1800 (พ.ศ.2343) กับป 1814 (พ.ศ.2357)2526ซึ่งตัวจักรพรรดินโปเลียนเองไมมีขอสงสัยเกี่ยวกับความสําคัญของระบบน้ีตอฝร่ังเศสโดยในเรื่อง “Without conscription (ถาไมเกณฑกําลัง)” ซ่ึงไดทรงเขียนเมื่อป 1804 (พ.ศ.2347) วา “พลังอํานาจของชาติหรือเสรีภาพ ของชาติอาจเปนไปไมได ...ชัยชนะของเราและกําลังทหารในการเตรียมตัวของเรา ข้ึนอยูกับการมีกองทัพแหงชาตขิ องเรา เราตองใสใ จเพอ่ื ดาํ รงรกั ษาความไดเ ปรยี บนไ้ี ว” 2627 ทหารของกองทัพฝรั่งเศสเขาสูสงครามเพ่ือฝรั่งเศสรวมทั้งเพ่ือหนวย,แมทัพนายกอง, และจักรพรรดิ ของตน และเพื่อเกียรติยศและรางวัลที่จะไดรับเพ่ือเสริมสรางความเขมแข็ง นโปเลียนมักสรางความชอบธรรมที่ลอแหลมของตนดวยการปลุกเราสัญลักษณของความรักชาติ-การปฏิวัติอยางตอเนื่อง โดยใชเพลงสงครามที่โดงดังท่ีสุด “Chant du départ (ช็องดูดีพารท - เพลงเดินทัพ)”ของตน ป 1790 (พ.ศ.2333) นอกจากเพลงมารแ ซเยซ (Marseillaise – เพลงแหงเมืองมารแซยเพลงชาติสาธารณรัฐฝร่ังเศสที่ใชอยูในปจจุบัน) บรรเลง เพ่ือจุดประกายไฟทหารหาญในตอนเชาท่ีเอาสเตอรลทิ ซ (Austerlitz)2728 ซึง่ คาํ กลาวของเคลา สวิทซเก่ียวกับกองทัพนโปเลยี นทว่ี า “พระกฤษณะแหง สงครามนข้ี นึ้ อยกู ับความเขมแข็งของประชาชนท้ังหมด” ไมใ ชคาํ กลา วทเี่ กนิ จรงิ 2829 26 สําหรับภาพ, Lynn, “Army of Honoe,” หนา 158. 27 อางใน Marcel Baldet, La vie quotidienne dans les armeés deNapoléon (Paris, 1964), หนา 32. 28 Numbers: Jean Morvan, Le soldat impérial (Paris, 1904), vol. 1,หนา 120; Imperial motivation by revolutionary-patriotic song: MauriceChoury, Les grognards et Napoléon (Paris, 1968), หนา 145-6. 29 On War, หนา 592. การเมืองภาคประชาชนและลัทธชิ าตินยิ มในการปฏวิ ตั ิทางการทหาร: การปฏิวตั ิฝร่งั เศสและหลงั จากน้นั

120 ความสําเร็จทยี่ ั่งยนื ทส่ี ุดของนโปเลียนมีสองสว น คอื การทําใหกองทัพฝร่ังเศสเปนกองทัพของชาติ (Nation) โดยถาวร และการสรางความยั่งยืนดวยการสรางความเปนทหารเปนบางสวนแกชาติ แนนอนวา มีการตอตานจากชาวชนบทและรัฐยอมรบั อยา งไมเ ต็มใจเวนแตผทู ร่ี าํ่ รวยเพียงพอทจี่ ะจายภาษีและส่ิงทดแทนซ่ึงการหลีกเล่ียงการเกณฑทหารคอย ๆ ลดลงจนถึงระดับตํ่าอยางนาท่ึงในป 1811-13(พ.ศ.2354-56)2930 นโปเลียนได “ใหเกียรติยศ ในการเรียกเกณฑพลทหาร เนื่องจากเปน หนา ที่ทตี่ องกระทํา”3031 ซง่ึ นโปเลียนไมตองการท่ีจะปลอยใหมีการหลบหนีมากมายดวยศรัทธาท่ีสนับสนุนกองทัพ นโปเลียนพยายามทําใหบรรดานายทหารเปนสวนสําคัญในกลุมชนช้ันนําหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส และเพื่อดึงดูดใจหรือกระตุนใหบุตรหลานของผมู ชี ่อื เสียงชาวฝรง่ั เศสใหเ ขาเปนทหาร การจายเงินที่สูงและเงินรางวัลที่มากมายอยางนาตกใจ โดยเพิ่มสูงข้ึนอยางมากสําหรับนายพลและจอมพล เปนสวนหนึ่งในแผนการปรับเปลี่ยนสังคมนี้ อีกประการหน่ึงคือ การจัดใหมีพิธีการทางทหารกอน ในพิธีการเฉลิมฉลองตาง ๆ ในทุกระดับต้ังแตหมูบานถึงมณฑล ไปจนถึงกรุงปารีสเอง บรรดาทหารและนายทหารที่ไดรับชยั ชนะในการรบตาง ๆ จะไดรบั เครื่องราชอิสริยาภรณเชิดชูเกียรติ (Legion of Honor)ตามคําสั่งของจักรพรรดิ นักเรียนชั้นมัธยมปลายสวนสนามในเครื่องแบบ“สงครามกาวเขามา เสียงกลองกองในหูของขาพเจา และเสียงของครูปกครอง”ตามความทรงจําของอัลเฟร็ด ดี วิกน่ี (Alfred de Vigny)3132 ซึ่งแรก ๆ ก็การปฏิวัติและตอมาก็นโปเลียน ชัยชนะของนโปเลียน, สถาบัน, และการสดุดีตาง ๆ ทําใหฝรง่ั เศสในศตวรรษตอ ไปและตอ ๆ ไป เปน ชาติแหง ความเปน ทหาร (Military nation)ในแบบที่ไมเ คยเปน มากอ นในระบอบการปกครองแบบเกา 3233 30 ดู Isser Woloch, “Napoleonic Conscription: State Power andCivil Society.” Past and Present III (1986), หนา 122-5. 31 Morvan, Le soldat impérial, vol. 1, หนา 120. 32 Servitudes et grandeurs militaires (Paris, 1959 [1835]), หนา 26. 33ในการสรา งสงั คมใหมีความเปน ทหาร ดู Jean-Paul Bertaud, La Révolution นอกซ

121 ศัตรูของฝรั่งเศสจําเปนตองตอบโตแบบเดียวกัน แตมีเพียงหน่ึงเดียวที่รับคําทาทายอยางเต็มที่ในยุค ของการปฏิวัติ “สงครามของประชาชน (Peoples’ war)”ที่กระทําตอฝร่ังเศสผูรุกรานโดยกองโจรของแควนคาลาไบร (Calabrian banditi),กองโจรสเปน, ชาวแควนภูเขาไทโรลีส (Tyrolese mountaineers), และผูรักแผนดินรัสเซีย(Russian serfs) และนักรบคอสแซคฺ (Cossacks) ก็ยังไมนับออสเตรีย แมวาจะมีการปลุกระดมของ “ชาติเยอรมัน” ในป 1809 (พ.ศ.2352) โดยโครงสรางแลวไมสามารถปฏิบัติตามตัวอยางของฝรั่งเศสไดมากนัก แมจะมีอารคดุก ชารลส(Archduke Charles) ผูนําทหารที่มีความสามารถและประสบความสําเร็จมากที่สุดซ่ึงท่ีเปนที่คาดหวัง3334 ระดับการระดมกําลังคนที่มากกวาจนเทียบไมไดของอังกฤษในป 1812-14 (พ.ศ.2355-57) และการใชจายดานกําลังทางเรือและทางทหารของอังกฤษทีเ่ หนือกวาฝรัง่ เศสถึงเกือบหาเทา ชวยสรางความรูสึกของความเปนชาติในบรรดาประชาชนท่ีแตกแยกกัน แตการดําเนินการน้ันไมตองใชการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติไมวาทางการเมือง หรือการทหารตอระบอบการปกครองแบบเกาที่ดํารงอยูมาจนถึงบัดนั้น3435 ซ่ึงเพียงมหาอํานาจเดียวจริง ๆ แลวคือสถาบันเดียวทร่ี ับคาํ ทาทายของฝร่งั เศสดวยสิ่งทีแ่ ทบจะเปนความตองการของกลุมหัวรุนแรงฌากอแบ็ง(Jacobins) คอื กองทัพปรสั เซียarmée: les soldats-citoyens et la Révolution française (Paris, 1979),หนา 342-5, และ “Napoleon’s Officers,” Past and Present 112 (1986) หนา 91-111. 34 ดู Gunther E. Rothenberg, “The Archduke Charles and the Question ofPopular Participation in War.” Consortium on Revolutionary EuropeProceedings (1982), หนา 214-24. 35 ในการสรา ง “ชาติ” อังกฤษ ดู Linda Colley, Britons: Forging the Nation,1707-1837(New Haven, CT, 1992); ในการดําเนินสงคราม Chapter 10 ของ Geoffrey Best,War and Society in Revolutionary Europe (London, 1982) เปนบทสรปุ ท่ดี เี ยีย่ ม. การเมอื งภาคประชาชนและลทั ธิชาตนิ ิยมในการปฏวิ ัติทางการทหาร: การปฏิวัติฝร่ังเศสและหลงั จากน้ัน

122 การปฏิรูปของปรัสเซียไดดําเนินการหลังชัยชนะอยางเด็ดขาดของนโปเลียนตอกองทัพปรัสเซียท่ี เยนา - เตดทสอรเอ (Jena-Auerstädt) เมื่อ ต.ค.1806(พ.ศ.2349) และเปนสวนหนึ่งท่ีมีผลตอลักษณะเฉพาะ ของปรัสเซียในภายหลังสงครามเปนเหตุผลของปรัสเซียสําหรับการดํารงอยู และแมแตกลุมทหารช้ันสูงหัวอนุรักษนิยมซ่ึงดื้อร้ันหรือข้ีขลาดท่ีสุดของปรัสเซียก็ไดตระหนักหลังป 1806(พ.ศ.2349) วา ปรัสเซียตอง เรียนรูเพ่ือเอาชนะในการรบอีกคร้ัง หรือลมสลายไปแตการปฏิรูปของปรัสเซียก็ยังเปนผลของพลวัตของความเปนชาตินิยมซ่ึงฝรั่งเศสไดลวงหนาไปกอนแลว และดินแดนท่ีพูดภาษาเยอรมันไดกลายเปนเหย่ือลําดับแรกของฝรั่งเศส กลุมติดอาวุธของฝรั่งเศสไดกระทําทารุณตอประชาชนท่ีเปนปญญาชนที่สนับสนุน อยางยิ่งตอทฤษฎีชาตินิยมเชนเดียวกับชาวฝรั่งเศสเองสําหรับลัทธิสากลนิยม (Cosmopolitanism) ท้ังหมด ท่ีอาจสรุปไดตอเรื่องดังกลาวนักประพันธสมัยใหมชาวเยอรมันที่เกิดหลังศตวรรษท่ี 18 ซ่ึงเปนชนช้ันกลางนิกายโปรเตสแตนตเล็ก ๆ ของบาทหลวงและขุนนางตาง ๆ เปนสวนหน่ึงของการตอบโต การเลียนแบบ หนังสือตาง ๆ ของฝร่ังเศสและมีลักษณะแบบชนช้ันสูงของเยอรมันตะวันตกวา “ถมเสมหะท่ีเนาเหม็นของชาวเซน (Seine)/ชนท่ีพูดเยอรมัน ชาวเยอรมันท้ังหมาย ! (Spew out the ugly slime of theSeine / Speak German, O you German!)” เปน เสียงขทู ก่ี กึ กองของเฟร็ดดริกกอททลิบ เฮอรเดอร (Friedrich Gottlieb Herder) นักคิดท้ังทฤษฎีชาตินิยมแบบชาตพิ ันธ-ุ ภาษา และของกลมุ เยอรมันชาตนิ ิยมตาง ๆ3536 การพิชิตของฝร่ังเศสตอชายแดนเยอรมันในป 1790 (พ.ศ.2333) และใจกลางของเยอรมันในป 1800-06 (พ.ศ.2343-49) ไดเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนไหวทางวรรณกรรมไปเปนศาสนาเชิงการเมือง ผูพยากรณตาง ๆ ของชาติเยอรมันตงั้ แตนกั เขียนบทกวคี วามรักชาติ เชน อน๊ั ดท (Arndt) ไปจนถึงนักปรัชญา เชน ฟคเตอ(Fichte) รวมทั้งนักเขียนเร่ืองละคร เชน ไฮนริก วอน ไคลสท (Heinrich von Kleist)ไดสรางความรักชาติดวยเรื่องทางศาสนาโปรเตสแตนต, เรื่องจินตนาการท่ีมีสีสันอยางย่ิง 36 อา งใน Elie Kedourie, Nationalism (London, 1966), หนา 59. นอ กซ

123เกี่ยวกับเผาพันธุเยอรมัน และจักรวรรดิยุคกลางท่ีผานมา, ทัศนะของรุสโซเกี่ยวกับการปฏิวัติฝร่ังเศสของชาติท่ีสรางใหมของประชาชนที่ทําใหไมสามารถขัดขืนเจตนารมณท ัว่ ไป, และแนวโนม ของภารกิจโลกท่ีทําใหสมาชิกกลุมหัวรุนแรง ฌากอแบ็ง(Jacobins) ดเู หมอื นจะคลอ ยตามความเปนศตั รทู ี่ไรความปราณีตอฝร่งั เศสเปนเรอ่ื งทั่วไปที่เลวรายท่ีสุด โดยไคลสท (Kleist) ไดเขียนในบทกวีกระหายเลือดของตนตอการทําลายลางโรมัน ผูบุกรุกของอารมีนีอุส (Arminius) ในปคริสตศักราชท่ี 9 (9 A.D.)แสดงความรูสึกของอารมีนีอุสที่ไดส่ังการทําลายลางขาศึกในนัยของศาสนาวา“โจมตีขาศึกใหตาย: การพิพากษาคร้ังสุดทายของพระเจาในวันส้ินโลกจะไมถามเหตุผลของทา น! (Strike him dead: the Last Judgment will not ask your reasons!)”3637 ความคดิ เหลา นไ้ี ดห ลอมรวมกับธรรมเนียมปฏบิ ตั ิของกองทัพและรัฐปรัสเซยีหลังป 1806-07 (พ.ศ. 2349-50) ซ่ึงสามารถเขาใจไดแมจะไมสมบูรณนักโดยเคร่ืองมือดําเนินการคือกลุมเครือขายนักปฏิรูป ซึ่งหลายคนไมใชชาวปรัสเซียหรือชนชั้นสูงโดยกําเนิด โดยพระเจาเฟร็ดริค วิลเลียม (Frederick William) ที่ 3ไดเปล่ียนแปลงอยางไมเต็มพระทัยหลังจากการรบที่เยนา (Jena) เชน ไฮรริชวอน อุนด ซัม สไตน (Heinrich von und zum Stein) สําหรับพลเรือนสวนกองทัพไดแก เกอรฮารด วอน ชารนฮอรสท (Gerhard von Scharnhorst),ออกุสท วอน ไกเซนเนา (August von Gneisenau), เฮอรมานน วอน โบเยน(Hermann von Boyen), คารล วอน โกรลแมน (Karl von Grolman) และคารล วอน เคลา สว ทิ ซ ( Carl von Clausewitz) (ในฐานะผูช ว ย ของชานฮอ รส ท)3738 37 ดู Gordon Craig, “German Intellectuals in Politics, 1789-1815: The Case ofHeinrich von Kleist.” Central European History 2:1 (March, 1969), หนา 8-10. 38 ความเปนชาตินิยมของนักปฏิรูป แมวาจะถูกเสริมเกินกวาความจริงโดยนักชาตินิยมตอ ๆ มาชาวเยอรมัน แตก็เปนความจริงและไดผล ดูตัวอยางความรูสกึ รนุ แรงและความสับสน “Professional of Faith (ความเปนผูเชี่ยวชาญดานศรัทธา)” การเมอื งภาคประชาชนและลทั ธิชาตนิ ิยมในการปฏิวัตทิ างการทหาร: การปฏิวตั ิฝร่ังเศสและหลงั จากนัน้

124 นกั ปฏิรปู การทหารมีคําตอบในการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของนโปเลียนสองคําตอบ คือ ทหารที่เปนนักคิดซึ่งเฉพาะผูท่ีปฏิบัติงานทางทหารมาท้ังหมดแลวเทาน้ันที่จะสามารถทําได และระบบฝายเสนาธิการและเหลานายทหารสัญญาบัตรทเ่ี ปน นกั คดิ ซึง่ ไดรับการฝก ฝนดว ยการศกึ ษา (Bildung - บิลดุง) ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อความเปนทหารอาชีพท่ีเปน ระบบและการฝก ฝนความชาํ นาญการในการทําขอตกลงใจ (Decision-making skill) เพอื่ ใหสามารถปฏิบัติงานทหารไดครอบคลุมบรรดานักปฏิรูปไดเสนอเรื่องที่แปลก และใหมโดยรวมตอระบอบสมบูรณาญาธิราชปรัสเซีย คือ “ความรวมมือของผูปกครองกับประชาชน (Alliance of governmentand people)”3839 รัฐไดออกกฎหมายเลิกทาสในป 1807 (พ.ศ.2350) และกองทัพไดเลิกการลงโทษทางกายในป 1808 (พ.ศ.2351) ในป 1813 (พ.ศ.2357) หลังจากนโปเลียนพายแพในรัสเซีย ทําใหปรัสเซียตัดสัมพันธกับฝรั่งเศส นักปฏิรูปไดจัดต้ังหนวยทหาร และหนวยทหารราบเบาอาสาสมัครสําหรับชนช้ันกลางรว มกบั แถวทหารราบ3940 ปตอมา หลังจากกองทัพปรัสเซียท่ีฟนคืนใหมดวยกําลังเกือบ 300,000 นาย ไดชวยขับไลนโปเลียนออกจากเยอรมันและบัลลังกของพระองค บรรดานักปฏิรูปก็ไดออกกฎหมาย การเปนทหารแบบสากลที่แทจริงครั้งแรกของยุโรป คือ กฎหมายทหาร (Wehrgesetz - เวียรกีเซ็ทซ) ซึ่งกฎหมายน้ีหลังจากไดแกไขเพิ่มเติมพื้นฐานของขอบเขตในป 1860-67 (พ.ศ.2403-10)ก็ยังคงมีผลบังคับใชจนถึงป 1918 (พ.ศ.2461) โดยไดประกาศสรางลักษณะ(Bekenntnisdenkschrift) of February 1812, ของ Clausewitz ใน Carl vonClausewitz, Schriften-Aufsätze-Studien-Briefe, ed. Werner Hahlweg(Göttingen, 1966), โดยเฉพาะ almost Fichtean disparagement of theFrench ของ Clausewitz, หนา 735. 39 ดู Höhn, Scharnhorsts Vermächtnis, หนา 18xff. 40 ดู Dennis E. Showalter, “The Prussian Landwehr and itscritics, 1813=1819,” Central European History 14:3 (1971), หนา 4-12. นอ กซ

125แบบทหารของสังคมโดยละเอียดที่ยังมีชองวางจากของนโปเลียน โดยกองทัพใหมตองเปน: “โรงเรียนหลักของชาติสําหรบั การสงคราม (Chief school of the nation for war)” ตางจากฝรั่งเศส ปรัสเซียแทบจะไมตกใจตอความไมอยากเปนทหารของชนช้ันกลางในชั้นยศตาง ๆ ซ่ึงส่ิงนี้ไมใชการนํามาทดแทน แตระยะเวลาหนึ่งปของการเขาเปนทหารและโอกาสที่จะเปนนายทหารประทวน หรือนายทหารสัญญาบัตรกองหนุน เปน ขอผอ นปรนหลกั ของปรัสเซียตอความมั่นคง (Wealth) และ สถานภาพ(Status) และขอผอนปรนน้ีใหหลักประกัน และสุดทายแลวจะไดชนชั้นกลางท่ีมีจิตใจเปนทหารมากที่สุดโลก สําหรับกลุมนายทหารก็เปล่ียนแปลงไปมากเชนเดียวกับทหาร เพ่ือปองกันความพายแพและเปดทางแกผูที่มีความสามารถนกั ปฏิรปู ไดด าํ เนินการ ดวยการชําระมาตรการที่แข็งตัวเกินไปท่ีไมเปนผลดีตอกองทัพดวยสถาบันราชการ - ทหารสมัยใหมที่มีขนาดที่เหมาะสม ซ่ึงนโปเลียนไดชวยโดยกําหนดใหลดขนาดกองทัพลงจํานวนมาก สุดทายเกือบไมเกินครึ่งของนายทหารสัญญาบัตรของป 1806 (พ.ศ.2349) ที่รบในสงครามของป 1813-15(พ.ศ.2356-58)4041 พรอ มกันนี้ นักปฏิรูปไดยกเลิกการเปนนายทหารกึ่งผูกขาดของชนชน้ั สูงทหี่ วงแหน ท่ีพระเจาเฟร็ดเดอรกิ มหาราชทรงยนื กราน ซึ่งตัง้ แต ส.ค.1808 41 Rainer Wohlfeil, “Vom stehenden Heer des Absolutismus zurallgemeinen Wehrpflicht (1789-1814),” Militärgeschichtliches Forschungsamt,Handbuncf der deutschen Militärgeschichte 1648-1939 (Frankfurt amMain and Munich, 1964-81), vol. 2, หนา 141 ใหจํานวนยอดท่ีไดสัดสวนท่ีสุดโดยนายทหาร 1,791 นาย (หรือรอยละ 23) ของนายทหาร 7,096 นาย ของป 1806(พ.ศ.2349) ยังคงประจําการอยู ณ ก.ย. 1808 (พ.ศ.2351) และเพียง 3,898 นาย(หรอื รอ ยละ 54) ของนายทหารท่สี ูรบในป 1813-15 (พ.ศ.2356-58). การเมอื งภาคประชาชนและลัทธิชาตนิ ิยมในการปฏวิ ัตทิ างการทหาร: การปฏวิ ัตฝิ รั่งเศสและหลังจากน้นั

126(พ.ศ.2351) กลุมช้ันยศนายทหารสัญญาบัตรไดเปดโอกาสใหแกทุกคนท่ีมี “ความรูและการศึกษา (Bildung - บิลดุง) ในยามปกติ…และวิจารณญาณทางทหารและความกลาหาญที่โดดเดนในยามสงคราม” ซึ่ง ณ ตอนน้ันผูที่จะเปนนายทหารในอนาคต จะเขาในหนว ยตา ง ๆ ในฐานะผสู มัครเขา รับการคัดเลอื กเปนนายทหารและตองผานการสอบแขงขันเปนขอเขียนกอนไดรับเลือก โดยบรรดานายทหารของกรมของตน โดยตองไดรบั พระราชานมุ ตั ิกอน4142 การศึกษา (Bidung - บิลดุง) จะมุงท่ีพ้ืนฐานของยุทธวิธีและวิธีการทางยุทธการใหมทรี่ วมเอา แกนแทท ไี่ ดก ลั่นกรองสิ่งที่ดีที่สุดในการปฏิบัติของฝร่ังเศสดวยผลจากการวิเคราะหและทดลองใช และในท่ีสุดก็ทําใหกองทัพปรัสเซียของป1813-15 (พ.ศ.2356-58) เทียบเทาหรือเหนอื กวาขาศึกของตน ในการดําเนินกลยุทธ,ความออนตัว, การริเริ่ม, และอํานาจการรบ ระเบียบของป 1812 (พ.ศ.2355)เปาหมายของการฝกทบทวนของกองทัพหลังการรบที่เยนา (Jena) ทําใหยุทธวิธีของทหารราบเบาเปนคุณลักษณะทั่วไปของหนวยทหารราบท้ังหมด ซึ่ง ณ ตอนนั้นไดฝกในการแปรรูปขบวนโดยรวดเร็ว และเปลี่ยนไปมาไดของการระวังปองกัน,หนากระดาน และแถวตอน และการใชท หารมา และปนใหญสนบั สนนุ 4243 การศึกษา (Bidung - บิลดุง) ยังเปนหัวใจของการปฏิรูปใหญครั้งที่ 4หลังการปฏิวัติในการเกณฑทหาร, การคัดเลือกนายทหาร, และวิธีการทางยุทธวิธีและยุทธการที่เปนของการบังคับบัญชาระดับสูง คํากลาวของชานฮอรสท(Scharnhorst) เก่ียวกับการปฏิบัติการยุทธของนโปเลียน และประสบการณดวยตัวชานฮอรสทเอง ในความพยายามของปรัสเซียที่ไมมีพระเจาเฟร็ดเดอริกมหาราชในป 1806 (พ.ศ.2349) ที่เปนแรงจูงใจชานฮอรสทวา กองทัพตองหา 42 Ernst Rudolf Huber, Deutsche Verfassungsgeschichte seit1789 (Stuttgart, 1957-90), vol. 1, หนา 232-8 . 43 ดู Paret, Yorck, หนา 181-9, และ Dennis E. Showalter,“Manifestation of Reform: The Rearmament of the Prussian Infantry,1806-1813,” Journal of Modern History 44:4 (1972), หนา 364-80. นอ กซ

127วิธีทางท่ีจะกระทําโดยไมมีอัจฉริยะบุคคลที่ระดับบน4344 คําตอบของชานฮอรสท คือระบบฝายเสนาธิการที่ไดรับการปฏิรูปตามการศึกษาทางทหารเฉพาะ สําหรับนายทหารระดับตนและระดับกลางที่หลักแหลมที่สุด หัวใจของการศึกษาน้ีคือความคิดที่สําคัญยิ่งท่ีตั้งอยูบนความรูความเขาใจในประวัติศาสตรทหาร และความเปนทหารอาชีพอยางเต็มที่ ซึ่งเปาหมายของการศึกษาน้ี คือ สมรรถนะและความกระตือรือรนสําหรับการปฏิบัติโดยเสรี ชานฮอรสทมีเปาหมายท่ีจะทําใหนายทหารฝายเสนาธิการ ไมเพียงแคเปนผูชวยของผูบังคับบัญชาเทานั้นแตยังเปนกลุมของระบบประสาทสวนกลาง สําหรับการวางแผนยุทธศาสตร และการควบคุมทางยุทธการที่จะควบคุมภูมิปญญาที่สั่งสมของความคิดที่ดีท่ีสุดที่กองทัพจะสามารถหาได ดังนั้น กองทัพมวลชนที่สรางขึ้นในการปฏิวัติการทหารของฝรั่งเศส จึงดํารงไวซ่ึงเคร่ืองมือท่ีไววางใจได, ไมขึ้นอยูกับอัจฉริยะบุคคลเฉพาะ เพื่อประกันวากําลัง 100 นาย ใน 1,000 นาย จะ “รบในตําบลที่เหมาะสม ณ เวลาท่เี หมาะสม (Fight in the right place at the right time)”4445 สรุป: สาํ หรบั ป 1941 (พ.ศ.2484) เปนตน ไป ผูชนะของป 1814-15 (พ.ศ.2357-58) ไมสามารถยับย้ังไดนาน ทั้งการปฏิวัติชาตินิยมหรือการปฏิวัติการทหารที่ไดเร่ิมข้ึน ไมมีใครสามารถ “ยับยั้ง”การเมืองภาคประชาชน (Mass politics) หรือสงครามมวลชน (Mass warfare) 44 สําหรับจุดเริ่มของชนชั้นสูงน้ีมีมาเปนเวลานานกอนการรบท่ี Jenaดูแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ของ Charles Edward White, The English Soldier:Scharnhorst and the Militärische Gesellschaft in Berlin, 1801-1805(New York, 1989), หนา 64ff. 45 Clausewitz on the aim of “the whole of military activity,” OnWar, หนา 95. การเมอื งภาคประชาชนและลทั ธิชาตนิ ยิ มในการปฏิวัติทางการทหาร: การปฏวิ ตั ิฝรัง่ เศสและหลังจากนัน้

128ไดรัฐบาลและกองทัพตาง ๆ ไมสนใจความจําเปนเรงดวน สําหรับนักรบที่เปนนักคิดตอภยันตรายของตน พายุท่ีรุนแรงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมไดเพ่ิมพื้นที่สนามรบของหนวยตาง ๆ, ลดชวงการควบคุม (Span of control) ของผูนําหนวยขนาดเล็กเหลือเพียงกําลังพลเพียงไมก่ีคนที่ผูนําหนวยเหลาน้ีสามารถเขาถึงไดเพียงแคเอ้ือมและการเพิ่มข้นึ ของประชากรไดเพ่ิมขนาดของกองทัพอยางตอเน่ือง และความจําเปนของการควบคุมบังคับบัญชาที่มีความซับซอนมากข้ึน ซ่ึงเฉพาะบางอยางที่เทยี บเคียงไดข องระบบฝายเสนาธกิ ารของปรัสเซยี เทา นัน้ ท่ีจะสามารถใหได ชานฮอรสทและผูรวมงานไดปรับรูปแบบรัฐ-กองทัพปรัสเซียใหม สําหรับยุคสมัยของการเมือง ภาคประชาชน ซ่ึงบางทีอาจตรงกันขามกันกับเจตนารมณเสรีนิยมบางสวนของชานฮอรสทกับพวก โดยชานฮอรสทกับพวกและกลุมผูสืบทอดที่มีความเสรีนิยมนอยกวาไดสรางสังคมทหารท่ีสมบูรณที่สุด และกองทัพมวลชนท่ีเปนทหารอาชีพที่สุดของยุโรป ความรุนแรงที่ไมเคยปรากฏมากอนของชาตินิยมเยอรมัน และความตองการท่ีไมมีขีดจํากัดซ่ึงตอมาผสมผสานกับการสรางหลักประกันของตนเองทางทหาร เพื่อชัยชนะใหมของประชาชนเยอรมันเพื่อนําพาความคลั่งยุทธศาสตร-อุดมการณ ใหไปไกลกวามาตรฐานท่ีสูงทก่ี ลุม ฌีรงแด็ง (Girondins), ฌากอแบ็ง (Jacobins) และโบนาปารตไดกําหนดไวสิ่งสบื ทอดโดยตรง ประการสดุ ทา ยของกองทัพปรัสเซียท่ีไดปฏิรูปของป 1813-15(พ.ศ.2356-58) คือ “กองทัพประชาชน สังคมนิยมแหงชาติ (National Socialistpeople’s army)” ของป 1939-45 (พ.ศ.2482-88) ที่รบในสงครามที่ยิ่งใหญท่ีสุดในประวตั ิศาสตรเ พื่อใหบรรลโุ ดยสมบูรณซ ง่ึ การปฏวิ ัตโิ ลกทีแ่ บง แยกชนช้นั และทาํ ใหบ รรลุ ซ่งึ แนวทางของนกั ปฏริ ูปปรัสเซียสําหรับความกาวหนาของทหารอาชีพที่เปดโอกาสตอผูท่ีมีความสามารถในวิธีทางตาง ๆ ท่ีอาจเติมเต็ม ไดดวยความนาหวาดกลวั 4546 46 ดู Knox, “The ‘Prussian Idea of Freedom’ and the Careeropen to Talent: Battlefield Initiative and Social Ascent from PrussianReform to Nazi Revolution, 1807-1944.” ใน Knox, Common Destiny; นอกซ

129 อํานาจการยิงอัตโนมัติท่ีเพิ่มข้ึนของการปฏิวัติวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีย่ังยืนเปนการสิ้นสุดยุคของกลุมชนติดอาวุธที่เร่ิมขึ้นในป 1792-94 (พ.ศ.2335-37)แตศาสนาเชิงการเมืองของรัฐชาติ (Nation-state) ยังคงมีอํานาจตอบริเวณขอบของยุโรปและในหมูมหาอํานาจที่เกิดข้ึนของเอเชียตะวันออก การผสมผสานท่ีนากลัวของการปฏิวัติเยอรมันในการจัดหนวยทหารอาชีพและความเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีเขากับความบาคล่ังของมวลชน โดยกองพลยานเกราะ (Panzerdivisionen),จรวด V-2, และการกําจัดอยางขุดราก ถอนโคนตามอุดมการณเชื้อชาติ (racial-ideological) เตือนใหทราบถึงการประเมินคาท่ีสูงย่ิงซ่ึงผลชี้ขาดทางทหารของเทคโนโลยีเพียงอยางเดียว หรือความสามารถท่ีจะกําหนดลักษณะของสงคราม(Nature of warfare)รวมทัง้ ดู Knox, “1 October 1942: Adolf Hitler, Wehrmacht OfficerPolicy, and Social Revolution,” The Historical Journal 43:3 (2000),หนา 801-25. การเมืองภาคประชาชนและลทั ธิชาตินยิ มในการปฏวิ ัติทางการทหาร: การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศสและหลังจากนั้น

5 การดาํ เนินตอ ไปของการปฏวิ ัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมริกา มารค กรมิ สล ยี่  (Mark Grimsley) ผูบังคับบัญชาท้ังหลายตางก็พยายามหาทางควบคุม ซ่ึงยิ่งสมบูรณเพียงใดก็ยิ่งดีเพียงน้ัน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดท่ีจะบรรลุซึ่งการควบคุมดังกลาวคือ เพื่อใหไดมาซ่ึงชัยชนะเด็ดขาด ซ่ึงเปนความไดเปรียบท่ีไมสามารถโตแยงได โดยเคลาสวิทซไดใสไวในวาทะแหลมคมที่ใชประจําของตนวา “ยุทธศาสตรที่ดีท่ีสุด (The best strategy)”โดยเขียนวา “ตองเขมแข็งอยางย่ิงเสมอ (is always to be very strong)”01รัฐตาง ๆ ที่ทําสงครามไดเขายึดถืออยางละโมบและใชอาวุธ วิธีการ หรือเทคโนโลยีใด ๆ อยางไรเมตตาปรานี ท่ีนํามาซึ่งชัยชนะเด็ดขาด ซ่ึงเปนไปตามคําท่ีวา อํานาจสูงสุดเปนจอกศักดิ์สิทธ์ิของการสงคราม (Supremacy is the HolyGrail of warfare) แมจะมีการคนหาท่ีไมหยุดย้ัง แตความไดเปรียบท่ีสรางชัยชนะท่ียั่งยืนก็แทบจะไมเคยปรากฏมาเลย ในประวัติศาสตรการสงคราม และเมื่อปรากฏสวนใหญจะมีลักษณะอสมมาตร (Asymmetry) ซึ่งเปนความจริงท่ีวา ฝายหน่ึงมีสวนอีกฝายหนึ่งไมมี และจะหายไปอยางรวดเร็ว ประเทศที่กระหายสงครามไดรับเอานวัตกรรมตาง ๆ มาใชตามความกลัวของตน การพัฒนาใหม ๆกระจายไปอยางรวดเร็วจนความไมสมดุลของสนามรบมักเปนไปสั้น ๆการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงท่ีแทจริงอันเปรียบไดกับแผนดินไหวในสงครามมีความแตกตางกันท้ังหมด และสวนใหญไมข้ึนกับปจจัยทางทหารเพียงอยางเดียวแตจะเปนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ, การเมือง, และสังคมมากกวาซง่ึ เปลีย่ นแปลงแบบปฏวิ ตั ิโดยรวดเร็วท่ีสุด คลายกับการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกขนาดใหญตอสงครามในทุก ๆ แงมุมของสงคราม ตั้งแตอาวุธ และยุทธวิธีไปถึงวิธีการตาง ๆ ในการจัดหาเลี้ยงดูกําลังคน และไปจนถึงเปาหมายหลักที่รัฐนั้นตองการดวยสงคราม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ในระดับดังกลาวเปนการปฏิวัติการทหารอยางแทจริง และมีนอยมากในความอสมมาตรทาง 1Carl von Clausewitz, On War, eds. And trans. Michael Howardand Peter Paret (Princeton, NJ, 1976), หนา 204 (book 3, Chapter 11).

131เทคโนโลยีในประเทศที่สามารถพยากรณได ซ่ึงที่ปรึกษาของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯดวยการเสริมดานแนวคิดบางอยางจากนักทฤษฎีชาวโซเวียต ไดเรียกวา“การปฏิวัตใิ นกจิ การทหาร (Revolutions in military affairs)” ซง่ึ แตล ะการปฏิวัติในกิจการทหารหรือกลุมการปฏิวัติในกิจการทหารไมไดควบคุมการปฏิวัติการทหารแตเ พียงแคพยายามทีจ่ ะทําใหก ารปฏวิ ตั ิการทหารดําเนนิ ตอ ไป สงครามกลางเมืองสหรัฐฯ เปนตัวอยางอธิบายไดตัวอยางหนึ่ง ซึ่งตางจากสงครามปรัสโซ-เยอรมัน ของป 1866 (พ.ศ.2409) และ 1870-71 (พ.ศ.2413-14)ที่ลดท้ังระยะเวลาและขนาดของการดําเนินการปฏิวัติการทหารสงครามดังกลาวเกิดขึ้นในบริบทของการปฏิวัติที่ไมใชการทหารสองประการ โดยทั้งสองประการนี้ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติในลักษณะ (Nature) และวัตถุประสงคของสงครามซึ่งทั้งฝายสหภาพ (Union) หรือฝายสมาพันธรัฐ (Confederacy) ตางก็ไมเขาใจอยางแทจริงถึงการเปล่ียนแปลงเหลาน้ี ดังเชน ลินคอลนในบทกวีเกี่ยวกับเกียรติประวัติของสตีเฟน วินเซนท เบเนท (Stephen Vincent Benét) ช่ือ John Brown’s Bodyซึง่ ประชาชนของฝา ยเหนือและฝา ยใต อาจสามารถกลา วไดอยางแทจริงวา ฉนั ไมเ คยควบคุมสภาพตา ง ๆ ไดสกั คร้งั สภาพเหลานนั้ กลบั ควบคุมฉนั แตดว ยการควบคุมนน้ั สภาพเหลานน้ั ทําใหฉันเตบิ โตหรือตาย และฉนั กไ็ ดเ ติบโต12 สงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ ไดรวมการเมืองภาคประชาชนและความรุนแรงของสงครามตาง ๆ ของการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากับเทคโนโลยี,ความสามารถในการผลิต, และวิธีการบริหารจัดการของการปฏิวัติอุตสาหกรรมท่เี กดิ ข้ึน ผลก็คอื “ความพยายามในการเปลย่ี นแปลงแบบปฏิวัติทีไ่ รความปรานี” 2Stephen Vincent Benét, John Brown’s Body (New York, 1990[1928]), หนา 191. การดําเนนิ ตอไปของการปฏิวัติการทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมรกิ า

132ตามการคาดการณข องลนิ คอลนเมอื่ ธ.ค.1861 (พ.ศ.2404) ซ่ึงแสดงลวงหนา ถงึสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 รวมท้งั ลดความสามารถในยคุ นนั้ ทจี่ ะคาดการณถงึ ขอบเขต,ระยะเวลา และผลทจ่ี ะตดิ ตามมาตา ง ๆ23 กองทัพสนามของฝา ยสหภาพและฝา ยสมาพนั ธรฐั ท่ีไดลดการจัดต้ังหนวยทหารท้งั หมดตามที่ไดเห็นมากอนแลวในโลกใหม กองทัพเหลาน้ีเลี้ยงดูทหารท่ีมีจํานวนมากเหลาน้ีดวยอาหาร, กระสุน, และ ยุทโธปกรณ ท่ีขนสงดวยทางรถไฟและเรือไอน้ํา กองทัพเหลานี้เชื่อมตอหนวยตาง ๆ ที่อยูหางกันเปนรอยๆ ไมลดวยเครือขายสายโทรเลข และปลุกเราทหารและพลเรือนตาง ๆ ดวยการโฆษณาประชาสมั พนั ธอ ยา งตอเนื่อง เมือ่ จําเปน กองทพั เหลาน้ีจะควบคุมการคัดคานดวยการขู,การจับกุมโดยไมผานขั้นตอนทางกฎหมาย และการประหารชีวิตในบางครั้งกอ นผานพน ครึ่งหนง่ึ ของสงคราม ทั้งสองฝายไดละท้ิงความคิดที่ยึดม่ันเกี่ยวกับเสรีภาพสวนบุคคล และไดเกณฑผูชายเขาเปนทหารเปนคร้ังแรกในประวัติศาสตรอเมริกาในการหาเงินสนับสนุนของทั้งสองฝายตอการดําเนินการดังกลาว ทั้งสองฝายไดยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติท่ีจัดเก็บภาษีโดยจํากัดและการงบประมาณท่ีเท่ียงธรรมและในปที่ 3 ของสงคราม ทั้งสองฝา ยกไ็ ดเ รมิ่ ใชก ารโจมตีตอประชาชนและทรัพยสินของฝายศัตรูตามความจําเปนและแมจะผิดจริยธรรม ทั้งสองฝายไดระดมทรัพยากรและประชาชนของตน ถึงระดับสูงสุดของความสามารถในศตวรรษที่ 19 ของตนและเมื่อถึงขีดสูงสุดของความสามารถนั้นก็พยายามหาทางตาง ๆ เพื่อขยายความสามารถออกไป กลาวโดยสรุป กองทัพสหภาพและกองทัพสมาพันธรัฐไดใชจายเงินในสงครามเบ็ดเสร็จ (Total war) ซึ่งเปนสงครามหน่ึงที่ทั้งสองฝายใชอ ํานาจทาํ ลายลา งอยา งเต็มท่ขี องตนตออกี ฝา ยหนึ่ง34 3“Annual Message to Congress,” 3 December 1861, Roy P.Basler, ed., The Collected Works of Abraham Lincoln, 8 vols. (NewBrunswick, 1953), vol. 5, หนา 49. 4“สงครามเบ็ดเสร็จ (Total war)” เปนคําท่ียืดหยุน ยังไมนาพอใจท่ีตองมี กริมสล ยี่ 

133 พลวัตที่สําคัญเหลานี้กาวไกลไปกวาเดิม ซึ่งความคิดจากการสํารวจทางการศึกษาพบวาสงคราม กลางเมืองนี้เปนการขัดแยงของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติดวยลักษณะของยุทธวิธีหรือเทคโนโลยีของการเปลี่ยนแปลงน้ีซ่ึงความคิดดังกลาวเปนการเขาใจผิดและบางครั้งก็ผิดอยางชัดเจน ตัวอยางเชนหนังสืออางอิงตาง ๆ บอกเราวาปนคาบศิลาแบบลํากลองเกลียว (Rifled musket)แบบใหม ไดเพม่ิ อาํ นาจสงั หารและระยะยิงของทหารราบอยางมาก และนวัตกรรมนี้ไดเปลย่ี นแปลงสนามรบแบบปฏิวตั ิ45 ที่จรงิ แลว การคน ควาเร่ืองระยะยิงในทกุ การรบท่ีสําคัญระหวางการรบที่บุลรัน (Bull Run) คร้ังแรก (21 ก.ค.1861 (พ.ศ.2404))การกําหนดความชัดเจน โดยทั่วไปจะใชในหน่ึงของสองวิธี คือ เพ่ือแสดงความขัดแยงที่ไรขอจํากัดที่กําหนดเปาหมายพลเรือนตาง ๆ วาเปนทหาร หรือเพื่อกลาวถึงสงครามท่ีฝายหนึ่งหรือท้ังสองฝายระดมประชากรและรายไดตาง ๆ ของตนในระดับสูงและทําการโจมตีขนาดใหญตอทรัพยากรสงครามของฝายตรงกันขามของตน ซ่ึงสงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ ตรงกับความหมายที่สอง แตไมใชความหมายแรก การทําลายลางของสงครามนี้แมจะเปนจํานวนมาก แตก็ไมขยายไปถึงการสังหารพลเรือนจํานวนมาก สําหรับการทบทวนผลงานทางประวัติศาสตรที่เกี่ยวของ ดู Mark Grimsley, “Modern War/Total War,” ใน Steven E.Woodworth, ed., The American Civil War: A Handbook of Literatureand Research (Westport, CT, 1996), หนา 379-89. 5ดูสําหรับกรณีประกอบ “Why Did So Many Soldiers Die?,”ใน James L. Roark et al., The American Promise: A History of theUnited State (Boston, MA, 1997), หนา 594 การศึกษาท่ีดีท่ีสุดเพ่ือยืนยันผลกระทบของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของปนคาบศิลาแบบลํากลองเกลียวในการรบของสงครามกลางเมืองคือ Grady McWhiney and Perry D. Jamieson,Attack and Die: Civil War Military Tactics and the Southern Heritage(Tuscaloosa, AL, 1982). การดําเนินตอ ไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรฐั อเมรกิ า

134และการรบที่วิลเดอรเนสส (Wilderness) (5-6 พ.ค.1864 (พ.ศ.2407)) พบวาโดยเฉล่ียหนวยทหารราบเริ่มยิงขาศึกของตนท่ีระยะ 116 หลา ซ่ึงพัฒนาข้ึนจาก80-100 หลา ของการรบดวยปนลํากลองเรียบ ซ่ึงนับเปนการพัฒนาการเพิ่มระยะยิงท่ีดีท่ีสุด56 เชนเดียวกับปนเล็กยาวแบบสั้นบรรจุซํ้าที่ทายลํากลอง (Breech-loading repeating carbines) ซึ่งอาวุธดังกลาวเปนการปฏิวัติศักยภาพของท้ังสองฝายแตแมท้ังสองฝายตางจะมีปนแบบดังกลาว เฉพาะฝายสหภาพเทาน้ันท่ีใชปนบรรจุทายลํากลองในปริมาณท่ีมากพอที่จะมีผลกระทบตอสนามรบอยางมีนัยยะสําคัญ 6ตัวอยางนี้ถูกสรางข้ึนโดยใช keyword วา “yards” ในการคนหาคําในคอมพิวเตอรของ War of the Rebellion: A Compilation of the OfficialRecords of the Union and Confederate Armies, 128 vols.(Washington, DC, 1880-1901) (henceforth OR) ใน The Civil War CD-ROM 1.0(Carmel, IN, 1997) การคนหาดังกลาวใหหลักฐานจํานวนมากเกี่ยวกับระยะยิงตอสูตาง ๆ โดยการรบตาง ๆ ที่ไดตรวจสอบคือ ท่ี Bull Run ครั้งแรก (หลักฐานระยะยิงไมชัดเจน 2), ท่ี Bull Run ครั้งท่ีสอง (8), Antietam (21), Fredericksburg (10),Chancellorsville (16), Gettysburg (25), Bristoe Station และ Mine Run(รวมกัน 7) ไมวาจะเปนระยะใด ระยะยิงจริงจะใกลกวา เนื่องจากระยะยิงหาระยะที่ไกลที่สุด มาจากการประมาณของฝายโจมตีสําหรับ ระยะที่แรกที่ตนถูกยิงจากปน คาบศลิ าและปนใหญ (ไมแ นใ จวา ผทู ่ีถกู ยงิ ดังกลา วจะสามารถแยกความแตกตางระหวางการยิงของปนท้ังสองแบบไดหรือไม) ไมวาอยางไร การคนพบดังกลาวเปนการยืนยันการคนพบของ Paddy Griffith, Battle Tactics of the Civil War(New Heaven, CT, 1987), หนา 144-150 ซึ่งจากการคนควาของเขาเองเก่ียวกับระยะยิงตอสขู องสงครามกลางเมือง Griffith สรุปวา ระยะเฉลี่ยสําหรับการยิงปนคาบศิลาคือ 127 หลา ซึ่งคําอธิบายหนึ่ง สําหรับระยะที่คอนขางใกลคือ ผูบัญชาการของสงครามกลางเมืองสวนมากตองการผลการทําลายขวัญของการระดมยิงระยะใกลน ดั เดียวตอ ความไดเ ปรยี บของอาํ นาจการยิงหลาย ๆ นดั ท่ีระยะไกลกวา. กรมิ สล ่ยี 

135ซ่ึงกองพลนอยทหารราบหนวยหน่ึง ที่ใชปนแบบปอนกระสุนซํ้าของสเปนเซอร(Spencer) เชน “กองพลนอยสายฟา (Lightning Brigade)” ที่โดงดังของจอหนที. ไวลเดอร (John T. Wilder) ไดใชอํานาจการยิงของกองพลที่ไดรับการเสริมกําลังขณะท่ีทหารมาฝายสหภาพที่ใชปนบรรจุทายลํากลองยิงทีละนัด (Single-shotbreech-loaders) สามารถหยุดยั้งฝายตรงกันขามที่มีกําลังเหนือกวาอยางมากไดดังท่ีกําลังพลลงรบเดินเทาของจอหน บิวฟอรด (John Buford) ไดพิสูจนใหเห็นในการรบวันแรกที่เกตตี้สเบิรก (Gettysburg)67 แตกองทัพสหภาพก็ไมไดแจกจายอาวุธเหลานี้ไดมากพอที่จะบรรลุความไดเปรียบแบบอสมมาตรไดเชนเดียวกับปนคาบศิลาแบบลํากลองเกลียวผลกระทบของปนแบบบรรจุทายลํากลองตอการรบคอย ๆ เพ่ิมขน้ึ มากกวาทีจ่ ะมผี ลโดยทนั ท7ี8 ลักษณะ “สมัยใหม” ที่สําคัญประการท่ีสองของสงครามกลางเมืองนี้ คือการใชเรือรบหุมเกราะ, การขนสงดวยเคร่ืองจักรไอน้ําและราง, โทรเลข, และส่งิ ประดษิ ฐอ น่ื ๆ ของการปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมที่ได เผยแพรจ ากอังกฤษสสู วนตา ง ๆ 7Peter Cozzens, This Terrible Sound: The Battle of Chickamauga (Urbana, IL, 1992), หนา 393, ไดกลาวถึง ส่ิงที่ประทับใจอยางชัดเจนของผลกระทบของอํานาจการยิงโดยกองพลนอยของ Wilder วา “การยิงอยางหนักยิ่งจากSpencer ของ Wilder ที่ Longstreet (นายพลเจมสของฝายสมาพันธรัฐ(Confederation)) ไดย นิ เสยี งกระทบกันจากเกือบคร่ึงไมลออกไป โดยคิดในขณะน้ันวากองทัพนอยใหมข องฝาย สหพันธรัฐ (Federal) ไดเคลื่อนเขาบดขย้ีทางปกซายของตน”สาํ หรบั การตา นทานของ Buford ทส่ี ันเนนิ ทางตะวันตกของ Gettysburg, ดู David G. Martin, Gettysburg, July 1 (Conshohocken, PA, 1995), หนา 59-88. 8เร่ืองเหลาน้ีไดมีกลาวไวใน Carl L. Davis, Arming the Union: SmallArms in the Civil War (Port Washington, NY, 1973); รวมท้ังดู Robert V.Bruce, Lincoln and the Tools of War (Indianapolis, IN, 1956). การดําเนนิ ตอ ไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมรกิ า

136ของทวีปอเมริกา และเปนการเจริญกาวหนาอยางรวดเร็วที่อเมริกาในชวงกอนสงครามกลางเมืองสามารถควาไวได ซึ่งขอสังเกตนี้นับวาใกลเคียงสําหรับการที่ไดกลาวคราว ๆ ถึงหนึ่งในสองของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติที่ไมใชการทหารที่ไดกลาวไปแลวขางตน แตเนื่องจากทั้งสองฝายไดใชเทคโนโลยีใหมเหลานี้อยางกวางขวาง การอสมมาตรที่เพิ่มข้ึนของการปฏิวัติในกิจการทหาร(RMA) ในแบบของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ จึงยังไมชัดเจนเทคโนโลยีตาง ๆเปนเพยี งปรากฏการณรองท่ีเปนผลพลอยไดจากปรากฏการณหลัก (Epiphenomena)ซ่ึงนวตั กรรมทสี่ าํ คญั ทีจ่ ะเร่ิมชดั เจนตอ ไป ยังคงอยู ณ ท่ีใดที่หน่งึ อยู ลักษณะ “สมัยใหม” ประการที่สาม การทําลายทรัพยสินจํานวนมากโดยเจตนาโดยมีเปาหมายท่ีจะแยงชิงทรัพยากรตาง ๆ ของขาศึกและทําลายขวัญประชาชนพลเรือนของขาศึก ซึ่งเปนการดําเนินการที่เกาแกมาก ๆ การโจมตีเปนกลุมกอนของวิลเลียม ที. เชอรแมน (William T. Sherman) และ ฟลิป เฮชเชอริแดน (Philip H. Sheridan) ผานจอรเจีย, คาโรไลนาส และ หุบเขาเชนานโดห(Shenandoah) ดูเหมือนเปนการคาดการณถึง “สงครามเบ็ดเสร็จ (Total war)”ของศตวรรษท่ี 20 ท่ีจริงแลวการปฏิบัติน้ีใกลเคียงกับการใชกองทหารมาบุกโจมตี(Chevauchées) ที่นาสะพรึงกลัวท่ีกองทัพอังกฤษกระทําในระหวางสงครามรอยป,การทําลายลางที่รุนแรงเกือบไมนอยกวากันตอพาแลททิเนท (Palatinate) โดยทหารของพระเจาหลยุ ส ที่ 14 ในป 1688-89 (พ.ศ.2231-32), และ “สงครามเสบียงอาหาร(Feed-fights)” ท่ีถึงแกชีวิตท่ีกระทําโดยชาวอาณานิคมผิวขาวตอชาวพื้นเมืองอเมริกาที่พยายามตอตานตน ซึ่งเชอรแมน (Sherman) นักศึกษาประวัติศาสตรทหารผูหน่ึงรเู ร่ืองนีด้ 8ี9 9เร่ืองนี้ ดู Mark Grimsley, The Hard Hand of War: Union MilitaryPolicy Toward Southern Civilians, 1861-1865 (Cambridge, 1995). กรมิ สล ีย่ 

137 แตละสวนเหลาน้ี ปนคาบศิลาแบบลํากลองเกลียว, ปนเล็กสั้นแบบบรรจุทายลํากลอง, เทคโนโลยีดานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้น และการโจมตีทําลายเปนลกั ษณะสาํ คัญของชัยชนะในทส่ี ดุ ของฝายเหนอื ตอฝายสมาพันธรัฐ แตก็ยังมีปจจยั แปรผนั อกี สองประการ คือ การเมอื งทเ่ี ปล่ยี นแปลงไดงา ยของประชาธิปไตยมวลชนและแรงกระตุนอยางมากครั้งแรกของแนวคิดบรรษัทนิยม (Corporatist order)ซึ่งเปนการผสมผสานกันของบรรษัทเอกชน (Private enterprise) กับภาคการบริหารราชการ (Public administration) ที่มีอิทธิพลตอสังคมอเมริกาในระหวางศตวรรษท่ี 20 ซึ่งถาเคล็ดลับของชัยชนะของฝายเหนือตองข้ึนอยูกับสิ่งใดส่ิงหน่ึง สิ่งน้ันก็คือการมีความสามารถที่เหนือกวาของฝายสหภาพท่ีจะควบคุมปจจัยท้ังสองน้ีแตการใชประโยชนจากปจจัยท้ังสองน้ีก็ไมใชเรื่องงาย โดยฝายเหนือใชเวลา 3 ปเพ่ือเคนจากปจจยั ทงั้ สองน้ใี หไดมาซึ่งความไดเปรียบแบบอสมมาตร (Asymmetricadvantage) ทจี่ าํ เปนตอ การเอาชนะฝายใต อาจเห็นลักษณะของการปฏิวัติการทหารท่ีแฝงอยูไดดีที่สุดก็โดยการตรวจสอบเหตุการณตอนหน่ึงของสงครามกลางเมือง โดยตัวเลือกที่เหมาะสมคือการรบที่โอเวอรแลนด (Overland Campaign) ซึ่งเปนการรบกันครั้งแรกระหวางผูบัญชาการทัพท่ีประสบความสําเร็จมากท่ีสุดของคูตอสูทั้งสองฝายคือยูลิซซิส เอส. แกรนท (Ulysses S. Grant) และโรเบิรต อี. ลี (Robert E. Lee)แ ล ะ เ ป น ก า ร ร บ ที ่ทั ้ง ส อ ง ฝ า ย ตั ้ง ค ว า ม ห ว ัง ห ล ัก สํ า ห ร ับ ช ัย ช น ะ ข อ ง ต น 9 10โดยเมื่อเริ่มสงครามใน พ.ค.1864 (พ.ศ.2407) การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของสงครามกลางเมืองมีผลอยางเต็มที่ ท้ังนี้ เหตุการณของการรบนี้แสดงถึง 10ดู Brook D. Simpson, “Great Expectations: Ulysses S. Grant,the Northern Press, and the Opening of the Wilderness Campaign,”และ Gary W. Gallagher, “‘Our Hearts Are Full of Hope’: The Army ofNorthern Virginia in the Spring of 1864,” ซ่ึงท้ังสองอยูใน Gallagher, ed.,The Wilderness Campaign (Chapel Hill, NC, 1997), หนา 1-35, 36-65. การดาํ เนินตอไปของการปฏิวัติการทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรฐั อเมรกิ า

138ความยุง ยากและอุปสรรคของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติตาง ๆ ไดมากพอ ๆ กับขอดีของการเปลย่ี นแปลงแบบปฏิวตั ิ ตัวอยางเชน การเมืองภาคประชาชน เปนท่ีใจวาแกรนทไดเร่ิมทําการรบโดยมีกําลังเหนือกวาอยางเพียงพอ ซ่ึงในพื้นที่การรบดานตะวันออกมีกําลังประมาณ165,000 นาย สําหรับปฏิบัติการในสนามรบ ขณะที่ฝายตรงกันขามมี 90,000 นายท่ีฝายสมาพันธรัฐจะสามารถระดมกําลังได1011 ขอไดเปรียบน้ีไมใชการอสมมาตรท่ีสําคัญ(จริง ๆ แลว ชาวผิวขาวของฝายใตถูกเกณฑเปนรอยละท่ีสูงกวากําลังพลของฝายเหนือ)อยางไรก็ตาม เฉพาะการมีสวนรวมในการเมืองภาคประชาชนเทานั้น ท่ีจะสามารถสรางกองทัพท่ีมีขนาดดังกลาวได ซึ่งท้ังฝายสหภาพหรือฝายสมาพันธรัฐ ไมมีหนวยหรือกําลังบังคับท่ีจะสรางกองทัพขนาดใหญไดดวยหนทางอื่นใด กอนป 1860(พ.ศ.2403) รัฐบาลสหรัฐฯ ไดดําเนินการแบบเรียบ ๆ ดวยการ “เพิ่มทีละเล็กนอย(Little more)” ตามท่ีนกั วชิ าการทางการเมืองผูหน่ึงเขียนไว “จากเรื่องขัดแยงหน่ึงซึ่งกําลังในการรบ และการรวมกันทางเศรษฐศาสตรการเมืองของชาติอยูเหนือการตัดสินใจตาง ๆ เกี่ยวกับนโยบายตางประเทศ และการปกครองของสบิ สามรัฐอาณานิคมอเมริกา”1112 แมวาจะตรงกับเง่ือนไขข้ันตํ่าของ “รัฐ” หนึ่งรัฐบาลก็ยังขาดท้ังระบบราชการท่ีเหมาะสม และ “ชนช้ันนําของรัฐ (State elite)”ที่มีผลประโยชนแตกตางจากชนชั้นอื่น ๆ และกลุมผลประโยชนตาง ๆในสังคมอเมริกา ซึ่งรัฐตาง ๆ ของฝายสมาพันธรัฐก็มีความ ขาดแคลนสิ่งเดียวกันคือ การที่ตองมีผูนําระดับสูงที่เทาเทียมกันเมื่อฝายสมาพันธรัฐไดจัดตั้งรฐั บาลของตน ขนึ้ เมือ่ ก.พ.1861 (พ.ศ.2404) 11การประเมนิ นี้ไดม าจากสรุปยอดใน OR, vols. 33 และ 36/1. 12Richard Franklin Bensel, Yankee Leviathan: The Origins ofCentral State Authority in America, 1859-1877 (Cambridge, 1990), หนา 2. กรมิ สลยี่ 

139 ผลที่เกิดท้ังฝายสหภาพและฝายสมาพันธรัฐตองอาศัยการเริ่มตนจากรฐั ตาง ๆ ในเครอื เพอ่ื จดั กองทพั ท่ีตอ งใชรบในสงครามกลางเมอื ง และอาศัยอาสาสมัครเพอื่ บรรจุในกองทพั เหลานน้ั ส่งิ ดังกลา วเปนวธิ กี ารของชาวอเมรกิ าท่ีสืบทอดกนั มาและเปนเพียงแนวคิดเดียวในสังคมตาง ๆ ท่ีเคารพตอเสรีภาพสวนบุคคล และรัฐบาลที่ไมแทรกแซง โดยกระทรวงสงครามของฝายสหภาพและฝายสมาพันธรัฐเพียงแคขอใหผูวาการรัฐตาง ๆ เพิ่มจํานวนของกรมทหารตาง ๆ ซ่ึงผูวาการรัฐตาง ๆจะจัดตั้ง, รวบรวม และ ติดอาวุธกําลังที่ถูกระดมที่จําเปน โดยมุงตอไปยังผูนําชุมชนตาง ๆ, กําลังเตรียมพรอมที่จัดตั้งไวที่สามารถชักชวนคนอื่น ๆใหเขาเปนทหารในบังคับบัญชาของตน ซึ่งรายละเอียดจริง ๆ จะแตกตางกันไปอยา งกวา งขวาง แตก็มักอยใู นลกั ษณะเฉพาะพ้ืนทท่ี ส่ี ามารถปรับไดของสังคมอเมรกิ า ผลก็ คือ ความมากกวาจนเทียบไมได กองทัพสหภาพและกองทัพสมาพันธรัฐมีกําลังพลเขาสูสนาม อยางนอย 2.1 ลานนาย และ 880,000 นายตามลําดับ และเกือบครึ่งของทหารเหลาน้ีเขารวมกับหนวยในสองปแรกของสงคราม1213สําหรับฝายเหนือการระดมกําลังอาสาสมัคร 3 ป เมื่อ ก.ค.1861 (พ.ศ.2404) ไดทหาร658,000 นาย ซ่ึงการระดมกาํ ลงั ครัง้ ตอ ไปเดือน ส.ค. ไดทหารกวา 421,000 นายการระดมกําลังอีกเล็กนอยทําใหไดทหารอีก 145,000 นาย สําหรับระยะเวลาการเปนทหารระหวา ง 3 เดอื น ถึง 2 ป1314 สวนการคน ควาจากบนั ทึกของฝา ยใต 13James M. McPherson, Battle Cry of Freedom: The Civil War Era(Oxford, 1988), หมายเหตุหนา 306-07แสดงภาพเหลานห้ี ลังทบทวน โดยสรุปของขอมูลท่มี ี. 14การประเมินน้ีไมรวมถึงอาสาสมัคร 90 วัน จํานวน 92,000 นาย ท่ีเรียกพลเม่ือ เม.ย.1861 (พ.ศ.2404) เน่ืองจากสวนใหญของทหารเหลาน้ี ขยายเวลาการเกณฑของตนออกไป 2 หรือ 3 ป และถารวมทหารเหลาน้ี ท่ีจะทําใหยอดรวมผิดไปอยางมากภาพการเกณฑกําลังอ่ืน ๆ ยังมีการเหลื่อมกัน เนื่องจากจํานวนกําลังท่ีเกณฑสําหรับการเปนทหารในรอบหนึ่งตอมา ก็จะถูกเกณฑใหมอีก แตความคลาดเคลื่อนแทบจะไมม ากนัก. การดําเนินตอ ไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรฐั อเมรกิ า

140กน็ าสนใจไมน อยกวา กัน1415 ท้งั นี้ จํานวนชาวอเมรกิ าทเี่ ขา เปนทหารในสงครามกลางเมอื งเกือบเปน หา เทาของในสงครามของอเมรกิ ากอนหนานี้ท้งั หมดรวมกัน1516 ในวิถีแบบเรียบงายของอเมริกา ชาวอเมริกากําลังควบคุมส่ิงเดียวกับที่ไดจุดประกายการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของชาวอเมริกา คือ อํานาจอธิปไตยซึ่งเปนแนวคิดท่ีประชาชนไดสรางรูปแบบของแหลงสูงสุดของอํานาจทางการเมืองและความชอบธรรมตามกฎหมาย ซึ่งไมมีที่ใดในโลกของศตวรรษที่ 19ที่แนวคิดนี้จะมีพลังมากกวาในอเมริกา เนื่องจากสิ่งนี้ทั้งฝายเหนือและฝายใต 15การทําลายบันทึกของฝายสมาพันธรัฐ (Confederation) จํานวนมากทําใหไมสามารถคิดยอดขอ กองทัพไดถูกตอง อยางไรก็ตาม เม่ือ 1 มี.ค.1862(พ.ศ.2405) ฝายสารบรรณของสมาพันธรัฐ (Confederation) ไดรายงานวากองทัพของตนมีกําลัง 340,250 นาย สามเดือนตอมา สรุปยอดไดเปน 328,049 นายตาม “สรุปยอดที่รวบรวมของกําลังฝายสมาพันธรัฐ (Confederation) เม่ือหรือประมาณ 30 มิ.ย.1862 (พ.ศ.2405)” รวบรวมโดย กระทรวงสงครามสหรัฐฯและพิมพไวใน OR, Series IV, vol. 1, หนา 1126 เนื่องจากผูรวบรวมไมสามารถหายอดที่สงของหนวยบัญชาการหลักสามหนวยได และเน่ืองจากจํานวนของสงครามนองเลือดที่เกิดระหวาง มี.ค. กับ มิ.ย. แมจะมีการเกณฑเพิ่มเติมเขาสูกองทัพจะเปนการดีท่ีจะสรุปวาจํานวนทหารที่เกณฑ เขาเม่ือ มิ.ย.1862 (พ.ศ.2405)สูงกวา มาก. 16การเขารวมในสงครามที่เปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ, สงครามของป 1812(พ.ศ.2355) และสงครามเม็กซิโก รวมประมาณ 603,000 นาย ตาม Allan R.Millett และ Peter Maslowski, For the Common Defense: A MilitaryHistory of the United States of America (New York, rev. ed., 1994),หนา 653 ตัวเลขของสงครามกลางเมืองที่ Millett และ Maslowskiใชตางจากของ McPherson เล็กนอย คือ 2 ลานกวานาย สําหรับสหภาพ และ750,000 นาย สําหรบั สมาพันธรัฐ (Confederation). กริมสล ย่ี 

141รูถึงเอกลักษณท่ีลึกซึ้ง พรอมกับเปาหมายของรัฐบาลของตน ซึ่งเอกลักษณดังกลาวไดสรางกระแสของอาสาสมัครท่ีมีไหวพริบ, มีความสํานึกทางการเมือง, มีแรงจูงใจสูงท่ีมุงม่ันท่ีจะเผชิญกับความยากลําบาก, การเจ็บปวย, และ สภาพการรบท่ถี งึ แกชีวติ ใด ๆ ที่ชาวอเมริกาเคยพบพานมา1617 กระแสของทหารที่อุทิศตนหลั่งไหลมาจํานวนหนึ่ง ซ่ึงวัฒนธรรมความเช่ือเดียวกันในประชาธิปไตยที่ผูกมัดทหารเหลาน้ีเขากับเปาหมายของชาติของตนทําใหทหารเหลานี้ปฏิเสธที่จะอยูนิ่งเฉย และการเชื่อฟงที่ไรเหตุผล เม่ือประชาชนที่เท่ียงตรงเขาเปนทหารชั่วคราว คนเหลานี้ก็มักจะทาทายวินัยของกองทัพประจําการ,ยืนกรานที่จะเลือกนายทหารของตนเอง, และตอตานนโยบายตาง ๆ ที่ตนไมเห็นดวย ตัวอยางเชน ในสิบหาเดือนแรกของสงคราม ขณะท่ีรัฐบาลของฝายสหภาพไดปฏิบัติตามอยางจริงจังสําหรับนโยบายเคารพสิทธิตามรัฐธรรมนูญของชาวฝายใตที่แปรพักตรและการปองกันทรัพยสินของประชาชนเหลานั้นรวมทั้งทาส ซึ่งทหารฝายเหนือปฏิเสธแนวทาง “ไขในหิน (Kid glove)” น้ีอยางกวางขวาง โดยยังคงมีการลักขโมยร้ัวไม (Fence rails) และอาหารจากพลเรือนฝายใตแมวาจะพยายามทุกทางที่จะหยุดยั้งบุคคลเหลานี้17 18ซึ่งความคิดของคนเหลานี้ตอประเด็นที่ละเอียดออนของการเลิกทาสกอใหเกิดปญหาท่ีไมมีที่ส้ินสุดแกรัฐบาล กรมทหารบางกรมซอนตัวทาสท่ีหลบหนีณ เวลาเมื่อนโยบายทางการกําหนดใหบังคับใชกฎหมายทาสที่หลบหนี 17การประพันธในเร่ืองน้ีมีกวางขวางและพัฒนาขึ้น แตดูเปนพิเศษใน EarlJ. Hess, The Union Soldier in Battle: Enduring the Ordeal of Combat(Lawrence, KS, 1997); James M. McPherson, For Cause andComrades: Why Men Fought in the Civil War (Oxford, 1997); และJoseph Allen Frank, With Ballot and Bayonet: The PoliticalSocialization of American Civil War Soldiers (Athens, GA, 1998). 18Grimsley, The Hard Hand of War, หนา 39-46. การดําเนนิ ตอไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมรกิ า

142(Fugitive Slave Act) ตอไป นอกจากน้ี ยังมีบุคคลอื่น ๆ คัดคาน เม่ือรัฐบาลของลนิ คอลนประกาศเลิกทาส (Emancipation Proclamation) ซึ่งมีอยางนอยหนึ่งหนวย คือ กรมทหารอิลลินอยสท ี่ 128 มที หารหนที งั้ หมด1819 การเกณฑกําลังชาวอเมริกาเช้ือสายแอฟริกา ทาํ ใหเกิดความไมพอใจเปนวงกวาง ทหารผิวขาวหลายนายมองวาเปนการดูถูกอยางรายแรงท่ีมีชาวผิวดําท่ีถูกยัดเยียดใหพวกตนในฐานะเพ่ือนรวมรบ สวนการที่ใหชาวผิวดําเปนทหารในกรมทหารที่แยกตางหากแทบจะไมไดชวยลดความไมพอใจของชาวผิวขาวที่สงสัยในการพิจารณาของรัฐบาลในการแตงต้ังผูท่ีมีเผาพันธุ “ดอยกวา” ในตําแหนงท่ีไววางใจและรับผิดชอบ (ตัวแกรนทเองก็สงสัยบางเกี่ยวกับการใชทหารผิวดําโดยในระหวางการรบท่ี โอเวอรแลนด เมื่อแกรนทตองใชคนที่มีอยูทุกคนในแนวรบกองพลชาวผิวสีของสหรัฐฯ ท้ังกองพลซ่ึงมี กําลัง 4,000 นาย ทําหนาที่คุมครองเสน ทางคมนาคมนอ ยมาก) ความออนไหวของประชาชน-ทหารที่ไดรับผลกระทบ ไมใชอุปสรรคเพยี งประการเดยี วของการเมืองภาคประชาชน การพยายามใหทหารคงอยูในสนามรบเม่ือระยะเวลาการเขาเปนทหารของทหารเหลานี้ส้ินสุดลงก็เปนปญหาเชนกันฝายสมาพันธรัฐจะใหทหารที่ผานการรบเหลานี้อยูประจําการตอ โดยการขยายระยะเวลาเพียงฝายเดียวสําหรับทหารที่เกณฑมาของตนสําหรับชวงระยะเวลาของสงคราม สวนรัฐบาลฝายสหภาพพบวาแนวปฏิบัตินี้ไมประสบความสําเร็จทางการเมืองตงั้ แตเรม่ิ ตน โดยรัฐบาลฝายสหภาพรูสึกวาจําเปนที่จะตองใหความเ คารพสัญญาการเกณฑทหารของกําลังพลของตน และเม่ือเขาสูป 1864 (พ.ศ.2407)ก็ไดรูอยางแทจริงวาระยะเวลาสามปของอาสาสมัครในป 1861 (พ.ศ.2404) ของตน 19James M. McPherson, What They Fought For, 1861-1865(Baton Rouge, LA, 1994), หนา 47-70; Bruce Catton, Glory Road: TheBloody Route From Fredericksburg to Gettysburg (Garden City, NY,1952), หนา 227. กริมสล่ีย

143โดยทหารท่มี ปี ระสบการณท่ีสุดในกองทัพของกองทพั สหพันธรัฐ (Federal army)จะตองพน ประจาํ การในเดอื นทจี่ ะถึง การผสมผสานขอเรียกรองในความรักชาติ,เงินตอบแทน และการลาพัก 30 วัน ทําใหทหารผานศึก 136,000 นายขยายระยะเวลาประจําการตอ (รวมท้ัง 27,000 นาย ในกองทัพโปโตแม็ก)) แตก็มีอีกมากที่เลือกที่จะกลับบาน ซ่ึงรัฐบาลก็ยินยอมผลที่เกิดคือ กรมทหารทั้งกรมเดินแถวออกจากสนามรบ ในระหวางการรบที่โอเวอรแลนดเปนหนวยหนึ่งหลังจากท่ีอกี หนว ยหน่งึ ครบระยะเวลาการเปน ทหารของตน ซึ่งปรมิ าณที่หล่ังไหลน้ีครั้งหน่ึง โรเบิรท อี. ลี ไดเตือนผูบัญชาการกองทัพนอยคนหนึ่งไมใหเขาใจผิดถึงการออกเดินทางที่จะมีมาของกําลังหนุนเพนซิลวาเนีย ซ่ึงเขาไดอานเร่ืองราวในหนงั สอื พมิ พฟ ล าเดลเฟย สาํ หรับกลอุบายของฝา ยขา ศึก1920 ทั้งสองฝายพยายามที่จะสงเสริมกองทัพแบบอาสาสมัครของตนดวยการเกณฑ แตแนวคิดทางการเมืองซ่ึงเปนความเชื่อที่วาบุคคลหน่ึง ๆ อาจเลือกที่จะรับใชรัฐบาลของตนไดแตไมควรมีใครถูกบังคับ แทบจะไมไดชวยในการเกณฑทหารเลย เริ่มแรกการเกณฑทหารทําหนาที่หลักในการกระตุนตอบรรดาอาสาสมัคร กฎหมายเกณฑทหารของสมาพันธรัฐท่ีออกเมื่อ เม.ย.1862(พ.ศ.2405) ยอมใหทหารที่เกณฑเปนเวลา 12 เดือนแลว สามารถกลับบานไดแตถาทหารเลือกกระทําเชนน้ัน ก็อาจตองเกณฑ โดยไมมีทางเลือกวา จะตองเปนทหารที่ใด ถาเปนการอาสาสมัคร ทหารสามารถเลือกท่ีจะอยูกับเพื่อนและสหายในหนวยปจจุบันของตนได แตเมื่อเวลาผานไป ฝายสมาพันธรัฐก็ไดเปล่ียนไปใชรูปแบบท่ีเปนการบังคับมากขึ้น แตแมกระนั้นก็ตาม ระบบดังกลาวสามารถจัดหาคนไดเพียงรอยละ 11 ของความตองการกําลังคนของกองทัพ และในขณะเดียวกันก็ทาํ ลายการสนับสนนุ ของประชาชนตอรัฐบาลอยางมากมาย 20Charles Marshall [นายทหารคนสนิทของ Lee] ถงึ Richard S. Ewell,7 May 1864, OR vol. 36, part 2, หนา 67. การดาํ เนินตอไปของการปฏวิ ัติการทหาร: สงครามกลางเมืองสหรฐั อเมรกิ า

144 รัฐบาลกลางติดอยูกับวิธีการใหคุณใหโทษ (Carrot-and-stick) ท่ีย่ังยืนมายาวนาน แมวาเจตนาในการเกณฑคนจะเปนวิธีสุดทาย แตก็เหมาะท่ีจะใชเพ่ือขูวาจะมีการเกณฑเพื่อกระตุนประชาคมตาง ๆ ใหทวีการดําเนินการเพ่ือจัดหากําลังคนแบบอาสาสมัคร ตอมารัฐและรัฐบาลทองถ่ิน ก็ไดเสนอใหเงินรางวัลเปนเงินสดสูงถึง 1,000 ดอลลาร แกผูท่ีตั้งใจจะเขาเปนทหาร ซ่ึงการดําเนินการน้ีมผี ลตอ การเพิ่มจํานวนอาสาสมัคร แตก็ทําใหเกิด “นักฉกเงินรางวัล (Bounty jumper)”คือ นักหลอกลวงที่เขาเปนทหารรับเงินรางวัลแลวหนีทหารในโอกาสแรกรวมท้ังแมแตบรรดาผูที่เปนนักพนัน, คนลักขโมย, ผูที่เสแสรงทํา เพ่ือหลีกเล่ียง,และผูรังเกียจการอาสาสมัคร ผูที่รับเงินรางวัลตองถูกจับตามองเหมือนเหยี่ยวเพื่อดํารงใหคนเหลานี้อยูในกองทัพ บุคคลเหลานี้ไมสามารถไดรับความไววางใจใหปฏิบัติงานใด ๆ ที่ตองใหทํางานโดยไมมีการกํากับดูแล ซึ่งการทําหนาท่ีเวรยามหรือการทําหนาที่จุดตรวจการณ เปนส่ิงที่ไมตองคิดถึงเลย “ถาบุคคลเหลาน้ีไดรับความไววางใจใหทําหนาที่ยาม” ทหารเมสสะจูเสทส ผูหนึ่งกลาวประชด“กองทัพก็จะตองตกนรกในไมชา ”2021 ทหารผา นศึกสว นมากคิดวาผูทีร่ บั เงนิ รางวลัเปนความหายนะมากกวาแหลงกําลังรบเพ่ิมเติม กองทัพของโปโตแม็คไปถึงการรบที่โอเวอรแลนด ดวยกําลังพลดังกลาวเปนพัน ๆ ในหนวยตาง ๆ รวมทั้ง“กําลังสับเปลี่ยน (Substitutes)” ซ่ึงเปนผูท่ีไดรับการจางตามกฎหมายการเกณฑเพื่อปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงของตน ซ่ึงทหารตาง ๆ จับตาดูกําลังสับเปลี่ยนดวยความสงสัยวา จะเปน กําลังประเภทฉกเงินรางวลั หรือไม 21Charles E. Davis, Jr., Three Years in the Army: The Story ofthe 13th Massachusetts Volunteers (Boston, MA, 1893), หนา 270รวมทงั้ ดู Martin T. McMahon, “From Gettysburg to the Coming ofGrant.” ใน Charence C. Buel and Robert U. Johnson, eds., Battlesand Leaders of the Civil War, 4 vols. (New York, 1887), vol. 4, หนา 91-3. กรมิ สลย่ี 

145 อปุ สรรคของประชาธิปไตยที่ไมจํากัดไมไดหมดเพียงเทานี้ ตรงกันขามกับท่ีเลาตอกนั มาในทางประวัติศาสตรท ี่เช่ือวาลินคอลน ในที่สุดก็ “แตงต้ังนายพลผูหน่ึง”ภายใตการบังคับบัญชาของยูล๊ิซซ๊ีส เอส. แกรนท ซ่ึงไดรับอนุญาตใหทําการรบในสงครามน้ีโดยไมมีการเมืองสอดแทรก ซึ่งความตองการของการเมืองภาคประชาชนไดครอบงําการรบที่โอเวอรแลนดมากกวาการปฏิบัติการท่ีสําคัญอ่ืนใดของสงครามกลางเมืองนี้ ซึ่งการรบนี้มีความสําคัญยิ่ง โดยมาจากความพยายามของแกรนทที่จะโจมตีริชมอนด ผานเสนทางโอเวอรแลนดจากตอนเหนือของเวอรจิเนียรแทนท่ีจะใชกองทัพหน่ึงข้ึนบกใกลกับเมืองหลวงของฝายสมาพันธรัฐ เนื่องจากปากแมน้ําเจมสที่สามารถใชเรือได และความไดเปรียบที่เหนือกวาอยางยิ่งของฝายเหนือในอํานาจทางทะเลอํานวยใหอยูแลว โดยถาปลอยใหเปนการตัดสินใจของแกรนทเอง แกรนทคงไมเลือกเสนทางโอเวอรแลนด ซ่ึงความตองการเดิมของแกรนท คือ โจมตีดวยกําลังหนึ่งกองทัพ จากชายฝงนอรธคาโรไลนาตอทางรถไฟที่เชื่อมศูนยกลาง (Heartland) ของฝายใตกับริชมอนดและแนวปองกันตาง ๆ ซ่ึงคือกองทัพของเวอรจิเนียเหนือ ภายใตการบัญชาการของโรเบิรท อี. ลี ขอพิจารณาจากฝายการเมืองยังไมใชครั้งสุดทายที่เปนอุปสรรคตอแกรนทป 1864 (พ.ศ.2407) เปนปการเลือกตั้งใน ทางเหนือ และรัฐบาลของลินคอลนไมส ามารถรับความเสยี่ งตอ ความไมแนน อนทางยุทธศาสตรข องลี (Lee) ในการโจมตีสรางความเสียหายทางการเมืองตอผืนดินของฝายเหนือ พรอมกันนี้ทหารของฝายรัฐบาลกลาง 60,000 นาย ก็ไดทําลายเสนการคมนาคมของลี (Lee)ในทางลึกของฝายใต ดังนั้น รัฐบาลจึงยืนกรานใหแกรนทตรึงกองทัพอยูระหวางวอชงิ ตันกบั กองทัพสมาพันธรัฐ ทาํ ใหแกรน ทต อ งใชเ สน ทางโอเวอรแลนด2122 22Grant to Halleck, 19 January 1864, OR, vol. 33, หนา 394;Halleck to Grant, 17 February 1864, OR, vol. 22, part 2, หนา 412 รวมทั้งดูBrooks D. Simpson, Let Us Have Peace: Ulysses S. Grant and the Politicsof War and Reconstruction, 1861-1868 (Chapel Hill, NC, 1991), หนา 54-5. การดาํ เนนิ ตอไปของการปฏิวัติการทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมรกิ า

146 นอกจากน้ี การเมืองยังจํากดั แกรน ทในทางอนื่ ๆ ในการตัดสินใจเพ่ือใหลินคอลนพอใจ แกรนท ไดจัดหนวยรองเพ่ือการรบสองหนวยเพ่ือสนับสนุนการรุกหลักทางใตขามแมนํ้าแรพพิแดน (Rapidan) ประธานาธิบดี ซ่ึงเลขานุการสวนตัวของลินคอลนบันทึกไว ใชเวลาหลายปขอใหคนกอนหนาแกรนท ใชนโยบายการโจมตีพรอมกันในยทุ ธบริเวณท่ีแยกกนั “เพื่อนําไปสูการปฏิบัติที่ไดเปรียบของเราที่มีจํานวนกําลังพลมากกวาอยางมาก” เปนที่นายินดีที่ในที่สุดผูบัญชาการระดับสูงนายหน่ึงก็ไดใชแนวทางนี้ ประธานาธิบดีที่ยึดมั่นแนวคิดหลักเกี่ยวกับความเปนมนุษยวา “ผูท่ีไมผอมจนไรเร่ียวแรง จะสามารถยืนหยัดอยูได (Thosenot skinning can hold a leg)”2223 โดยลินคอลนพอใจ แตก็ไมไดหยุดใหตนเรียกรองเงียบ ๆ ให แกรนทใหนายพลการเมืองสองนายเขายึดจุดสําคัญในเวอรจิเนียคือ การรุกในหุบเขาเชนันโด (Shenandoah) และการยกพลข้ึนบกที่เบอรมิวดาฮันเดร็ด (Bermuda Hundred) ที่แมน้ําเจมส ประมาณ 15 ไมล ทางใตของรชิ มอนด โดยผูไดรับแตงต้ังคนแรก ฟรานซ ซีเกิ้ล (Franz Sigel) อพยพไปจากเยอรมันและเนื่องจาก อิทธิพลของเขาในหมูผูอพยพชาวเยอรมันซึ่งจะประกันวาลินคอลนจะไดรับการสนับสนุนจากกลุมผูอพยพ ชาวเยอรมัน2324 และคนท่ีสองเบนจามิน เอฟ. บ๊ัตเลอร (Benjamin F. Butler) รับผิดชอบการเคลื่อนที่ไปยังเบอรมิวดา ฮันเดร็ด ที่สําคัญกวา เนื่องจากเปนตัวแทนผูมีอํานาจที่สําคัญและผูสมัครรับเลือกต้ังเปน ประธานาธิบดีท่ีมีศักยภาพ ซ่ึงหาทางเติบโตทางกองทพั ท่ีลินคอลน ไมสามารถขดั ขืนได 23Entry for 30 April 1864, Michael Burlingame and John R.Turner Ettlinger, eds., Inside Lincoln’s White House: The CompleteCivil War Diary of John Hay (Carbondale, IL, 1997), หนา 193-4. 24Stephen D. Engle, Yankee Dutchman: The Life of Franz Sigel(Fayetteville, AR), หนา 169-70. กริมสล ี่ย

147 การรบที่โอเวอรแลนดและการรุกที่สนับสนุนการรบนี้เริ่มในตน พ.ค.กองทัพโปโตแม็ก 120,000 นาย ขามแมนํ้าแรพพิแดน เม่ือ 4 พ.ค. ในวันตอมาบ๊ัตเลอ รพรอมกําลัง 25,000 นาย ข้ึนฝงที่เบอรมิวดา ฮันเดร็ด ดวยการเคล่ือนที่ตามการเดินทัพที่ไมมีการตอตานไปยังสตราสเบิรก (Strasburg) เวอรจิเนียตอมา 9 พ.ค. ซีเกิ้ลไดเริ่มทําการรุกของตน ซึ่งทุกอยางดูเหมือนจะเปนไปดวยดีในสองสัปดาหแรก โดยนายพลแกรนทและนายพลลียังทําการรบกันไมรูผลเด็ดขาดในไวลเดอรเนสส (Wilderness) และที่อาคารศาลสปอทซิลวาเนีย (SpotsylvaniaCourt House) แตแกรนทเช่ือวากองทัพของตนไดเปรียบ ไมวาจะเปนอยางไรกต็ าม นายพลแกรนทสูรบกับการตานทานของนายพลลีโดยรูวากําลังเผชิญหนาของซีเก้ิลและบั๊ตเลอรคือกองทัพเวอรจิเนียเหนือท่ียากลําบากท่ีตองการการทดแทนกําลัง ขณะที่กองทัพของตน ไดรับการทดแทนกําลังอยางตอเนื่องเพื่อชดเชยการสูญเสียหนัก ซ่ึงเฉพาะการสูญเสียอยางเดียวในไมชาก็จะทําลายกองทัพของนายพลลี แมวาจะไมมีการปฏิบัติการโจมตีท่ีไดผล เหตุผลดังกลาวสนับสนุน คํายืนยันท่ีมีชื่อเสียงของแกรนทที่วา “รบใหชนะ ณ แนวนี้ไมวาจะตองใชฤดูรอน ทั้งหมด (to fight it out on this line if it takes all summer)”2425 ตอ มาเม่อื 18 พ.ค. ความลมเหลวก็เกิดขึ้นอยางฉับพลัน มีขาวดวนมากจากเสนาธิการของกองทัพ สหภาพ เฮนร่ี ดับเบ้ิลยู. แฮลเล็ค (Henry W. Halleck)แจงถึงการลมเหลวของแผนการรบของแกรนท “[ซีเกิ้ล] พรอมท่ีจะถอนกําลังท้ังหมดท่ีสตราสเบิรก” แฮลเล็คเขียนวา “ถาทานคาดหวังส่ิงใดจากเขา นับวา ทานผิดพลาดเขาจะไมทําอะไรเลยนอกจากหนี เขาไมเคยทําสิ่งอ่ืนใดเลย...บ๊ัตเลอรไดถอยทัพแลววันนี้อยาไดไววางใจเขาเลย”2526 ทั้งน้ี นายพลการเมืองลมเหลวและลมเหลวอยางยอยยับโดยไมเปนทน่ี า กลัว ตอฝา ยสมาพนั ธรฐั เลย 25Grant to Halleck, 11 May 1864, OR, vol. 36, part 2, หนา 627. 26Halleck to Grant, 17 May 1864, OR, vol. 36, part 2, หนา 840-1. การดาํ เนนิ ตอ ไปของการปฏวิ ัติการทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมรกิ า

148 ความหมายโดยนัยของขาวนี้เปนที่ชัดเจน แกรนทบอกฝายเสนาธิการของตนวา “แนนอนวา นายพลลีจะเสริมกําลังกองทัพสวนใหญดวยการนํา...ทหารมาจากริชมอนด ที่ตอนนี้บั๊ตเลอรถูกผลักดันออกมา และจะนําทหารจากหุบเขาที่หนวย ที่พายแพของซีเกิ้ลไดถอนตัว” แกรนทพบกับสถานการณใหมซึ่งความสงบนิ่งในการแกไขปญหาของแกรนทเปนท่ีเลื่องลือ ซ่ึงโดยทันทีไดเขียนคําส่ังใหกองทัพ โปโตแม็กออกจากสปอทซิลวาเนีย เน่ืองจากไมมีประโยชนท่ีจะยังอยูถานายพลลีจะไดรับการเสริมกําลัง แตควรที่ฝายรัฐบาลกลางจะโอบปกขวาของนายพลลีแทน และพยายามแสวงหาการรบในภูมปิ ระเทศ ท่ดี กี วา2627 น่ีเปนครั้งท่ีสองท่ีแกรนทออกคําสั่งลักษณะดังกลาว โดยคร้ังแรกออกหลังจากการรบคุมเชิงกันที่ ไวลเดอรเนสส และในสามสัปดาหตอไปแกรนทก็ใชการดําเนินกลยุทธเดียวกันอีกสองคร้ัง มีแมน้ําที่สามารถใชเรือแลนไดส่ีสายตัดชายฝงของเวอรจิเนีย คือ โปโตแม็ก, แรพพาฮันนอค (Rappahannock),ยอรค และเจมส ตองขอบคุณในความไดเปรียบของฝายเหนือดานอํานาจทางทะเลแกรนทสามารถใชแมนํ้าใด ๆ ในแมน้ําเหลานี้เปนเสนการคมนาคมท่ีปลอดภัยซึ่งแกรนทไดใชแมน้ําเหลาน้ีท้ังหมดหน่ึงครั้งหรือมากกวา โดยแทบจะไมมีท่ีการรบที่ไวลเดอรเนสสส้ินสุดลงโดยแกรนทท้ิงเสนทางสงกําลังขั้นตนของตนดวยทางรถไฟของออเรนจ (Orange) กบั อเล็กซานเดรีย และสัง่ ตง้ั ฐานใหมที่เบล เพลน (Belle Plain)ริมแมน้ําโปโตแม็ก เปนเวลาสิบวันท่ีทาขึ้นฝงของแมนํ้าที่สงบเงียบน้ี ไดกลายเปนทาเรือท่ีวุนวายท่ีสุดในโลก เมื่อจํานวนเรือท่ีตอเนื่องไปถึง พรอมเสบียงอาหารและกระสุนสาํ หรบั กําลังพลมากกวา 100,000 นาย และ กําลังเสริม 15,000 นายเรือท่ีเดินทางกลับไดบรรทุกทหารบาดเจ็บอยางนอย 14,000 นาย และเชลยศึกฝายสมาพันธรัฐ 7,000 นาย จากนั้นแกรนทก็เคลื่อนตอไป เบล เพลน กลับสูสภาพเดิมอยางรวดเร็วอีกคร้ังและศูนยกลางท่ีวุนวายเทากันแหงใหมก็เกิดขึ้นท่ีพอรท รอแยล 27Horace Porter, Campaigning With Grant (Bloomington, IN,1961 [1897]), หนา 124. กริมสล ่ยี 

149(Port Royal) ริมฝงแมน้ํา แรพพาฮันนอค; ไวทเฮาสแลนดิ้ง (White House Landing)ทพ่ี าม๊งั ก้ี (Pamunkey) (สาขาของแมน า้ํ ยอรค) และซติ พ้ี อ ยนทท ี่ แมน าํ้ เจมสต อ ไปซ่งึ เปน ฐานของแกรนทที่คงอยแู หงสดุ ทายสําหรับชวงที่เหลอื ของสงคราม ความสําเร็จในการสงกําลังบํารุงนี้เปนท่ีนาประทับใจ แตความสําเร็จดานงบประมาณที่สนับสนุนก็สําคัญไมแพกัน ซ่ึงสงครามตาง ๆ ที่สุดแลว ก็ตองมีการใชจายแตล ะครัง้ ทแ่ี กรน ทโอบปกของฝายสมาพันธรัฐ แกรนทไมเพียงแตตองพึ่งความสามารถที่นาท่ึงของฝายเหนือในการเคล่ือนยายกําลังพลและ สิ่งอุปกรณตาง ๆ ทางน้ําแตรวมถึงความสามารถของรัฐบาลกลางที่จะจายสําหรับเรือและสินคาท่ีตองการซึ่งฝายสหภาพสามารถสรางความไดเปรียบแบบอสมมาตรตอฝายสมาพันธรัฐแมวาการมีสวนรวมของ การเมืองภาคประชาชนจะกระทบตอแหลงทรัพยากรกําลังคนของทั้งฝายเหนือและฝายใต แตฝายเหนือเพียงฝายเดียวท่ีพบวิธีที่จะระดมแหลงทรพั ยากรของตนโดยไมส งผลเสยี หายตอการเมืองและเศรษฐกจิ ตามมา เหมือนกับปนคาบศิลาแบบลํากลองเกลียว ประเด็นความเหนือกวาดานวัตถุของฝายเหนือตอฝายใต ก็เปนปจจัยในการวิเคราะหทั่วไปของสงครามกลางเมือง ฝายเหนือเริ่มสงครามดวยประชาชนผิวขาว 22.1 ลานคน และคนผิวดําเสรี 344,000 คน สูกับฝายใตที่มีคนผิวขาว 5.4 ลานคน ทาส 3.5 ลานคนและคนผิวดํา เสรี 133,000 คน ป 1860 (พ.ศ.2403) ฝายเหนือต้ังโรงงานกวา110,000 โรงงาน สวนฝายใต 18,000 โรงงาน ฝายเหนือผลิตเหล็กรอยละ 94ของประเทศ, รอยละ 97 ของถานหิน และรอยละ 97 ของอาวุธปน ฝายเหนือมีเรือพานิชยระวางขับนํ้าเปนตันรอยละ 90 ของประเทศ และมีทางรถไฟ 22,000 ไมลสวนฝายใตที่มี 9,280 ไมล ฝายเหนือมีผลผลิตทางการเกษตรดีกวาฝายใตโดยคิดพน้ื ที่การเกษตรเปนเอเคอร รอยละ 75 ของประเทศ รอยละ 60 ของปศุสัตว,รอยละ 67 ของขาวโพด, และรอยละ 81 ของขาวสาลี โดยรวมแลวฝายเหนือมผี ูทสี่ ามารถชาํ ระภาษีรอยละ 75 ของชาติ2728 28สถิติเหลาน้ีและอ่ืน ๆ มีอยูใน E. B. Long, The Civil War Day By การดําเนนิ ตอ ไปของการปฏวิ ัติการทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมรกิ า

150 เหลาน้ีเปนขอไดเปรียบที่สําคัญ แตก็เปนศักยะแฝงที่ไมไดแปลงไปเปนพลังอํานาจทางทหารโดยตรง บรูซ แคททัน (Bruce Catton) นักประวัติศาสตรที่เฝาติดตามไดใหความเห็นวา “โรงงานท่ีกระจายออกไป และรถไฟที่ใชงานขนสงตลอดเวลา และนาขาวสาลีท่ีไรขอบเขต จะไมปรากฏอยูบนแนวยิงตอสูและอยูบนแนวยิงตอสู ที่ (สงคราม) นี้ตองเกิดข้ึนในที่สุด” แคททันไดเขียนตอไปวา ในท่ีสุดแลว “ชายหนุมที่ไมมีชื่อเสียงในเครื่องแบบสกปรกท่ีชุมเหง่ือเปนพัน ๆ คน”จะทําใหไดรับชัยชนะในสงคราม2829 ซึ่งก็นับวามีเหตุผล แตความจริงนอกจากน้ีก็คือยังตองใชความมานะพยายามของนักการเมือง, นักกฎหมาย, นักการเงินการคลัง,นักอุตสาหกรรม และผูรับจางตามสัญญาตาง ๆ ที่ไดรับการเลี้ยงดูและขัดเกลามาอยางดีเย่ียม เพื่อควบคุมบรรดาโรงงาน, รถไฟ และนาขาวสาลี ใหดําเนินการไปโดยราบร่ืนไปกบั การปฏบิ ตั กิ าร สงคราม และไมก อบโกยเงนิ เพื่อตนเอง อเมริกาในชวงกอนสงครามกลางเมืองมีประเพณีปฏิบัติที่ถูกกําหนดข้ึนอยางเขมแข็งในการจัดเก็บภาษีที่ต่ํา นอกจากภาษีสรรพสามิตเพียงเล็กนอยจากสุรา,ยาสูบ และท่ีคลายกันจํานวนหนึ่ง ประชาชนก็ปลอดจากการเก็บภาษีโดยตรงของรัฐบาลมากวา 40 ป นอกจากนยี้ ังเสรีจากกฎเกณฑของรัฐบาล เรื่องปริมาณเงิน(Money supply) สําหรับชาติท่ีไดทดลองและยกเลิกธนาคารกลางแหงชาติซึ่งไมใชเพียงคร้ังเดียวแตถึงสองคร้ัง แมวาจะถูกตําหนิอยางมากที่ไมมีธนาคารในลักษณะดังกลาว ซ่ึงสวนใหญจะเปนพรรควิก (Whig) ท่ีมีช่ือเสียง จนกระทั่งธนาคารสิ้นสุดลงอยางฉับพลันในกลางป 1850 (พ.ศ.2393) ชาวอเมริกาสวนใหญรวมแสดงความสงสัยของแอนดรู แจคสัน เกี่ยวกับสถาบันดังกลาว เนื่องจากดูเหมือนวาจะเปนประโยชนตอผูมีอํานาจปกครองทางการเงิน (Plutocrats) ตอการใชจายของคนท่ัวไปผลที่เกิดขึ้นรัฐบาลกลางดําเนินการดานการเงินการคลังในลักษณะที่ไมตางจากคนตระหนี่สะสมเหรียญทองไวใตฟูก รัฐบาลบริหารการเงินทั้งหมดของตนDay: An Almanac, 1861-1865 (Garden City, NY, 1971), หนา 721-6. 29Catton, Glory Road, หนา 242. กริมสล่ยี 

151ดวยเงินเหรียญ (Specie) เงินฝาก (Deposits) จะเขาสูคลังเสรี (IndependentTreasury) ตามหลักการ แตในทางปฏิบัติประกอบดวยคลังยอยจํานวนหนึ่งที่กระจายอยูท่ัวประเทศ เงินฝาก (Deposits) เหลาน้ี อาจถูกเก็บอยูในตูนิรภัยธนาคารเพ่ือใหงายตอการปองกัน แตไมไดเปนสวนหน่ึงของทรัพยสินของธนาคาร ซ่ึงเงินฝากเหลานี้ไมไดรับดอกเบ้ียและจะเปนความผิดอาญารายแรงถานําไปใช เพ่ือวัตถุประสงคอื่นใดนอกเหนอื จากการจายตามขอกําหนดของรัฐบาล เบรย แฮมมอนด (Bray Hammond)นักประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงดานการเงินการคลังของอเมริกา ใหความเห็นท่ีเหมาะสมวา สิ่งน้ีเหมือนกับการกําหนดใหลําเลียงทรัพยสินของรัฐบาลดวยวัวเทาน้ันสําหรับการเคล่ือนยายเปนทางการท่ีทําไดเฉพาะดวยมาเพียงอยางเดียว หรือสําหรับสํานักงานของรัฐบาลท่ีตองใหแสงสวางดวยแสงเทียนเทานั้น “เพ่ือรักษาความสัมพันธระหวางรัฐบาลกับเศรษฐกิจ ‘แตเพียงอยางเดียว’ และความปลอดภัย” แฮมมอนดกลา วตอไปวา “ทองเปนตัน ๆ ถูกขนไปและกลับในตูบรรทุกของรถมาดวยมาและคนงานขนสงสนิ คา ทที่ าํ งานเปนชั่วโมงในส่ิงทีเ่ สมยี นบัญชสี ามารถทําไดในชัว่ พริบตา”2930 แมวาทุกคนจะรูวาสงครามอาจตองเปล่ียนแปลงจากส่ิงที่เคยปฏิบัติมาในยามปกตินี้ แตทัศนะที่มีอิทธิพลดังกลาวก็ยังคงอนุรักษไวอยางมั่นคงแนวคิดดานการเงินตามธรรมเนียมปฏิบัติตั้งแตสมัยของ เจฟเฟอรสันเปนตนมากําหนดใหรัฐบาลควรสนองการใชจายปกติดวยการจัดเก็บภาษี และจายงบประมาณเพ่ือการสงครามดวยการกูยืมเงินเปนสวนใหญ ซึ่งรัฐบาลกลางไดสนับสนุนเงินในสงครามเม็กซิโก ดวยวิธีนี้โดยมีความยุงยากเพียงเล็กนอย แตการรบขนาดเล็กส้ันและประสบความสําเร็จสูง ก็ตางจากการรบที่ใหญขึ้นและขยายออกไปหากเปรียบเทียบสงครามในระยะเวลาที่ใกลเคียงกับสงครามกลางเมือง คือสงครามของป 1812 (พ.ศ.2355) รัฐบาลของเมดิสัน (Madison) ก็ไววางใจในระบบการกูยืมเงินเชนกัน แมวาในป 1813 (พ.ศ.2356) จะไดเร่ิมโครงการ 30Bray Hammond, Sovereignty and an Empty Purse (Princeton,NJ, 1970), หนา 23. การดาํ เนนิ ตอ ไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมรกิ า

152จัดเก็บภาษีสรรพากรที่ไดเงิน 11.5 ลานเหรียญ เมื่อส้ินสุดการขัดแยงดังกลาวซึ่งผลรวมมากกวารายไดจากภาษีอากรรวมของรัฐบาลในป 1812 (พ.ศ.2355)รอยละ 12 แตก็เปนเพียงรอยละ 8 ของคาใชจายรวมของสงครามดังกลาวภาษีศุลกากร, การซ้ือขายที่ดินของรัฐ, และรายไดเบ็ดเตล็ด จะครอบคลุมประมาณรอยละ 12 สวนที่เหลืออีก 120 ลานเหรียญ มาจากการกูยืม ซึ่งมักจะเปนสัญญาที่เสียเปรียบ (Unfavorable term) แมวาจะไมเปนที่นาพอใจนักแตนโยบายการเงินเหลานี้ก็ใชไดดี ซ่ึงท้ังฝายสหภาพและฝายสมาพันธรัฐไดเริ่มสงครามกลางเมอื งดว ยระบบทค่ี ลา ยกนั การดําเนินการดานงบประมาณของรัฐบาลฝายสมาพันธรัฐเปนแบบอนุรักษอยางย่ิง สําหรับ 2 ป แรกของสงคราม รัฐบาลฝายสมาพันธรัฐจํากัดการเก็บภาษีเปนสองแหลง คือ ภาษีศุลกากร (Tariff) แบบพอประมาณ และภาษีอสังหาริมทรัพยและทรัพยสินสวนตัวรอยละ 0.5 การขัดขวางของรัฐบาลกลางปองกันไมใหภาษีศุลกากร ทําไดมากไปกวา 3.5 ลานเหรียญ สวนภาษีอสังหาริมทรัพยและทรัพยสินสวนตัว ดวยเหตุผลทางรัฐธรรมนูญท่ีเปนปญหา จึงไดยกเวนองคประกอบทีม่ อี ทิ ธพิ ลสองประการของทรพั ยส นิ คอื ท่ีดินและทาส นอกจากน้ีรัฐสภาของฝายสมาพันธรัฐยังกําหนดใหรัฐตาง ๆ เก็บภาษีดังกลาว ซ่ึงเฉพาะเซาทคาโรไลนาเทานั้นที่ทําเชนนั้น เท็กซัสยึดทรัพยสินที่ประชาชนฝายเหนือเปน เจา ของเพอื่ จายภาษี สวนรัฐอน่ื ๆ สว นใหญจะกูยืมเงินในจํานวนท่ีประเมินของตนหรือไมก็พิมพใบรับรองการจายเงิน (Note) ของรัฐใหเพียงพอเพื่อชดเชยภาษีดงั กลาว ซ่ึงทส่ี ดุ แลวทําใหไ ดเงินเกือบ 17.5 ลานเหรียญ ในกลางป 1863 (พ.ศ.2406)3031 31คําวิจารณเก่ียวกับเรื่องนี้และหัวขอตอไปมาจาก Douglas B. Ball,Financial Failure and Confederate Defeat (Urbana, IL, 1991); Paul A.C. Koistinen, Beating Plowshares into Swords: The Political Economyof American Warfare, 1606-1865 (Lawrence, KS, 1996); McPherson,Battle of Freedom, หนา 437-42, 615-17; Emory M. Thomas, The กริมสลี่ย

153 รัฐบาลสมาพันธรัฐพยายามสนับสนุนเงินในการสงครามของตนสวนใหญดวยการขายพันธบัตร (Bond) แตก็ประสบผลนอยเทา ๆ กัน โดยการเสนอครั้งแรกไดขายไปอยางรวดเร็ว 5 ลานเหรียญ แตหลังจากนั้น ประชาชนฝายใตที่ขาดแคลนเงินสดก็ไดหลีกเลี่ยงพันธบัตรดังกลาว ซึ่งแมวาหลังจากที่รัฐบาลจะไดเสนอแลกเปลี่ยนกับพืชผลการเกษตร รวมทั้งที่ยังไมไดเก็บเกี่ยวรัฐบาลสมาพันธรัฐขายพันธบัตรได 115 ลานเหรียญ แตก็สามารถไดเงินก็เฉพาะสวนนอยที่เปนเหรียญหรือเปนสิ่งของ ซ่ึงผูซื้อสวนใหญซ้ือพันธบัตรท่ีมีใบรับรองการจายเงินของกระทรวงการคลงั (Treasury notes) จากการท่ีไดเผชิญกับการจายเงินจํานวนมากในการทําสงครามและไมสามารถจายเงินไดดวยหนทางอื่นใด รัฐบาลสมาพันธรัฐจึงไดหันไปสูการพิมพใบรับรองการจายเงิน (Note) อื่น ๆ แบบเดียวกัน ซ่ึงจะใชเหมือนเงินสดไมใชต๋ัวเงินท่ีใชชําระหน้ีไดตามกฎหมาย (Legal tender) โดยไมสามารถบังคับเจาหน้ีใหยอมรบั วา เปน การชําระหน้ีได ผลกค็ ือ ต๋ัวเงินดงั กลา วเปน เพียงหลกั ฐานการยืมเงิน(IOU) ของรัฐบาลที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดซ่ึงสัญญาวาจะจายมูลคาตามตราสารเปนเหรียญภายในสองปหลังการสงบศึกระหวางฝายสมาพันธรัฐกับสหรัฐฯ สิ้นป1861 (พ.ศ.2404) กระทรวงการคลังของฝายสมาพันธรัฐไดออกใบรับรองการจายเงิน(Note) เหลานไ้ี ป 311 ลา นเหรยี ญ ปตอมามูลคารวมก็ไดเพ่ิมข้ึนเปน 580 ลานเหรียญและวันกอนการรบท่ีโอเวอรแลนดก็มีมูลคา 1.1 พันลานเหรียญ โดยท่ี 851.6 ลานเหรียญยังคงหมุนเวียนอยู ซ่ึงถึงแมวาถาฝายสมาพันธรัฐจะชนะสงคราม ยอดเงินรวมท่ีมากมายจนนาตกใจนี้ก็มากเกินกวาที่จะสามารถชดใชคืนไดเปนเหรียญ และถา แพส งคราม ใบรบั รองการจายเงิน (Note) เหลานิ้ ก็จะไรคาอยางแนนอน ผลท่ีเกิดขึ้นอยางหลีกเล่ียงไมไดก็ คือ การเกิดเงินเฟออยางรุนแรง (Galloping inflation)Confederate Nation: 1861-1865 (New York, 1979); และ Richard C.Tod, Confederate Finance (Athens, GA, 1954). การดําเนนิ ตอไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมรกิ า

154โดยเงินดอลลารของฝายสมาพันธรัฐมีคาเทากับ 91 เซนต ในทองคําเมื่อ พ.ค.1861(พ.ศ.2404) และสามปตอมาก็ไดตกลงเปน หา เซนตและยังตกลงตอ ไป ในฤดูใบไมผลิของป 1863 (พ.ศ.2406) จากการเผชิญกับอัตราเงินเฟอท่ีบั่นทอนเศรษฐกิจของฝายใต, สรางความยากจนแกประชาชนฝายใต, และกอใหเ กดิ ความไมพอใจอยา งกวางขวาง รฐั บาลสมาพนั ธรัฐจึงไดพ ยายามบีบบังคับผูถ อื ใบรบั รองการจายเงินของกระทรวงการคลัง (Treasury note) ใหแลกเปล่ียนเปน พันธบตั ร (Bond) และจดั ทาํ แผนการเกบ็ ภาษที ีก่ วางขวางมากขึน้ กฎหมายใหมน้ีกําหนดการเก็บภาษีรายไดตามลําดับขั้น, ภาษีสรรพสามิตบางประการ, และภาษีพืชผลการเกษตรและปศุสัตวที่จายเปนรูปสินคาแทนตัวเงิน (Tax in kind)รอยละ 10 ซงึ่ โครงการท่ดี เู หมือนจะมีพลังนี้มีจุดออนสามประการ คือ ยังคงยกเวนท่ีดินและทาส (ทรัพยสินที่สุดทายก็ยังไมไดเก็บภาษีจน ก.พ.1864 (พ.ศ.2407),ภาษีรายไดและภาษีสรรพสามิตซง่ึ ยากทีจ่ ะบังคบั เก็บ และภาษีท่ีจายเปนสินคาทดแทนทไ่ี มเ ปน ทนี่ ิยมทวั่ ไป แตม าตรการเหลาน้ีไมสามารถหยุดเงินเฟอได โดยยังคงพุงสูงถึงรอยละ 600 เมื่อสิ้นป 1863 (พ.ศ.2406) แตกลับสรางบรรยากาศความไมสงบในสมาพันธรัฐที่ทําใหเกิดความไมสงบในการดําเนินชีวิตในหลาย ๆ เมือง, ทําใหชาวนาปลูกพชื ผลนอ ยลง, และเพิม่ การหนที หารจากกองทพั สมาพนั ธรฐั เรมิ่ แรกรัฐบาลกลางไดด ําเนินการในวิธีการเดียวกัน เมื่อส้ินปงบประมาณ30 มิ.ย.1861 (พ.ศ.2404) รายไดจากภาษีรวม 41.5 ลานเหรียญ ซ่ึงรอยละ 95มาจากภาษีศุลกากร งบประมาณท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง แซลมอน พี. เชส(Salmon P. Chase) ต้ังไวสําหรับปงบประมาณ 1862 (พ.ศ.2405) มองภาพการเพิ่มของภาษีแตพอประมาณโดยคาดไวสําหรับ 80 ลานเหรียญ (ตามความเปนจริงแลว ไดนอยกวามาก) และวางแผนออกพันธบัตร 240 ลานเหรียญเพ่ือสนับสนุนเงินในการทําสงคราม ซ่ึงรัฐสภาอนุมัติเงินจริง 250 ลานเหรียญและกระทรวงการคลังจาย 50 ลานเหรียญ สําหรับใบรับรองการใชหน้ีที่ไมมีดอกเบี้ย (Noninterest-bearing demand note) และ 200 ลานเหรียญสําหรับพันธบัตร ซึ่ง 150 ลานเหรียญ ของเงินน้ีไดขายใหแกธนาคารสําคัญ ๆ กรมิ สลีย่ 

155ของฝายเหนือท่ีไดขายตอใหแกนักลงทุนเอกชน โดยธนาคารตองซื้อในราคาตามมลู คาที่ตราไว (Par value) และจายเปนเงินเหรียญ ซึ่งนโยบายท่ีมีเหตุผลน้ีอาจใชสําหรับรัฐบาลเพื่อใหธนาคารถือ 150 ลานเหรียญไว แลวเขียนเช็คตามที่ตนตองการ แตตามสมัยนิยมท่ีดีของ “การพิมพเงินโดยมีทองคําค้ําประกัน (Hardmoney)” ซึ่งเชส (Chase) ยืนยันวาการดําเนินการน้ีเปนการจายเงินเต็มจํานวนดวยการผอนชําระเงินเปนกอนใหญสองสามกอน ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวไมใชการกระตุนที่คํานวณมาอยางดีเพ่ือสรางความตองการสําหรับพันธบัตรท่ีขายไดชา ทําใหเกิดความออนแอแกธนาคารท่ีซื้อพันธบัตรโดยความเชื่อมั่นในเงินทุนสํารองของธนาคารลดลงอยางมาก เม่ือเกิดวิกฤตการทูตใน ธ.ค.1861(พ.ศ.2404) กรณีพิพาทเรือเทรนท (Trent affair) ทําใหเกิดความหวาดกลัวตอสงครามที่จะเกิดขึ้นกับอังกฤษ ลูกคาท่ีกังวลแหกันถอนเงินฝากของตน ทําใหธนาคารตองชะลอการจายเงนิ ที่แยไ ปกวา นนั้ คาใชจายในการรบกับสมาพันธรัฐซ่ึงรูกันอยูแลววามากมายย่ิง มากย่ิงกวาท่ีคาดไว ในขณะท่ีรายไดจากภาษีตกตํ่าลงซ่ึงในวนั ปใ หมข องป 1862 (พ.ศ.2405) รฐั บาลก็หมดเงิน และไมกี่วันตอมา ลินคอลนแจงตอมอนทโกเมอรี่ ซี. ม๊ีกซ (Montgomery C. Meigs) นายพลฝายพลาธิการของกองทัพวา “ทานนายพล ขาพเจาจะสามารถทําอยางไร? ประชาชนหมดความอดทนเชส ไมมเี งนิ แลว และทานบอกขาพเจาวาไมสามารถหาเงินมาไดอีกแลว... เรียกไดวาหมดเกลย้ี งคลัง (The bottom is out of the tub)”3132 ในการฟนฟูคลังอีกคร้ังตองการแนวคิดใหม ๆ ซ่ึงถาเชสไมมีคนอื่น ๆก็ไมมีเชนกัน กลุมนักธุรกิจ, นายธนาคาร และนักกฎหมายท่ียอดเย่ียมกลุมหน่ึงท่ีรูลึกซ้ึงในระเบียบคําส่ังดานการเงิน การคลังและอุตสาหกรรม ไดออกมาใหคําแนะนํา ซ่ึงทั้งรัฐสภาและเชสใหความสนใจ ผลก็คือ นักวิเคราะหผูหนึ่งเขียนวาเปน “การปฏิวัติ งบประมาณการทหาร (Fiscal-military revolution)” 32“General M. C. Meigs on the Conduct of the Civil War,”American Historical Review 26(January 1921), หนา 292. การดาํ เนินตอ ไปของการปฏวิ ัติการทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรัฐอเมรกิ า

156ที่ขึ้นอยูกับสมดุลที่ซับซอนระหวางการกูยืม (Loan), เงินตรา (Currency)และการเก็บภาษสี รรพากร (Internal taxation)3233 ยุทธศาสตรการกูยืมเงินเพ่ือสนองความตองการของสงครามไดจัดทําข้ึนตามความตองการท่ีวา รัฐบาลตองจายคาใชจายสวนใหญของตนทั้งเปนเหรียญหรอื ตราสารทีส่ ามารถไถถอนคืนเปนเหรียญได กฎหมายเงินตราที่ชําระหน้ีไดตามกฎหมาย (Legal Tender Act) เม่ือ ก.พ.1862 (พ.ศ.2405) ไดตัดความยุงยากโดยการอนุญาตใหจัดพิมพหนังสือสัญญาใชเงินของ กระทรวงการคลัง (Treasury note)150 ลานเหรียญ แมวาโดยผิวเผิน วิธีการของฝายสหภาพจะคลายกับฝายสมาพันธรัฐมาตรการนี้บังคับการยอมรับของหนังสือสัญญาใชเงินเหลาน้ีสําหรับหนี้ท้ังหมดท้ังสาธารณะหรือสวนตัว โดยมีขอยกเวนสองประการ คือ ภาษีศุลกากร และดอกเบยี้ พันธบตั รของรัฐบาล โดยขอยกเวนแรก จะประกันการไหลท่ีตอเน่ืองของเงินตรา (Specie) เขา รฐั บาล สวนขอยกเวนที่สอง ทําใหพันธบัตรของรัฐบาลกลางดงึ ดูดการลงทุนไดมากกวาฝา ยสมาพันธรัฐ พันธบัตรถูกขายไปอยางรวดเร็วหลังจากนั้น ซ่ึงไมเพียงแคตอธนาคารและนักลงทุนท่ีร่ํารวย ประชาชนทั่วไปยังสามารถซ้ือพันธบัตรเหลาน้ี โดยสามารถครอบครองไดตาํ่ ถงึ 50 เหรียญ และกลไกตลาดมหาชนท่ีไมคาดคดิ น้ี ไดประกัน ในสง่ิ ทรี่ ัฐบาลไดดําเนินการไป ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวเปนผลงานจากความคิดท่ีสรางสรรคของเจย คุก (Jay Cooke) นักลงทุนอายุ 31 ป ซึ่งโดยสวนตัว ไดขายพันธบัตรถึงรอยละ 20 ของพันธบัตรทงั้ หมดที่ขายในตลาด ในป 1861 (พ.ศ.2404) และไดก ลายเปนตัวแทนรัฐบาลแตเพียงผูเดียวและท่ัวไป สําหรับการขายพันธบัตรใน ต.ค.1862 (พ.ศ.2405)คกุ (Cooke) ไดจัดตงั้ กจิ การหนึ่งขน้ึ ซ่ึงประกอบดวยตัวแทนจําหนายยอย 2,500 สาขาทีเ่ ขาถึงทุกซอกทกุ มุมของฝายสหภาพ โดยเมื่อ ม.ค.1864 (พ.ศ.2407) บริษัทของคุก(Cooke) ไดขายพนั ธบตั รไป 362 ลา นเหรยี ญ และไดกาํ ไรสทุ ธิ 220,000 เหรียญ 33Bruce D. Porter, War and the Rise of the State: The MilitaryFoundations of Modern Politics (New York, 1994), หนา 258. กริมสล ี่ย

157 กระน้ันก็ตาม การจายคาใชจายในการสงครามยังตองมีการออกธนบัตร(Paper money) เพ่ิมขึ้น โดยมีมูลคา 450 ลานเหรียญ ในตนป 1863 (พ.ศ.2406)กฎหมายธนาคารแหงชาติ (National Banking Act) ท่ีออกในเดือน เม.ย.ชวยควบคุมกระแสเงินตรา แตแผนการจัดเก็บภาษีสรรพากรใหมที่ครอบคลุมท่ีไดกลายเปนกฎหมายเม่ือ ก.ค.1862 (พ.ศ.2405) เปนการตอบสนองท่ีไดผลมากท่ีสุดตอแรงกดดันดานเงินเฟอของสงคราม โดยแผนงานนี้กําหนดใหมีการจัดเก็บภาษีตาง ๆ ของภาษีสรรพสามิต, ภาษีสินคาฟุมเฟอย, ภาษีมรดก, และภาษีมูลคาเพ่ิม พรอมกับปรับปรุงภาษีรายไดพอประมาณที่ออกเมื่อ ส.ค.1861(พ.ศ.2404) แผนงานใหมนี้ยกเวนรายไดที่ตํ่ากวา 600 เหรียญ แตกําหนดภาษีรอยละ 3 ของรายไดระหวาง 600 เหรียญ ถึง 10,000 เหรียญ และรอยละ 5ของรายไดที่สูงกวา ซ่งึ อตั ราตาง ๆ เหลานี้ ไดถกู เพ่ิมใหสูงข้ึนในป 1864 (พ.ศ.2407)เปนรอยละ 5 ของรายไดระหวาง 600 เหรียญ ถึง 5,000 เหรียญ, รอยละ 7.5ของรายไดระหวาง 5,000 เหรียญ ถึง 10,000 เหรียญ, และรอยละ 10 ของรายไดท ี่สงู กวาท้งั หมด ซง่ึ การยกเวนภาษีแสดงถึงความตองการท่ีจะวางภาระของภาษีรายไดตอผูท่ีสามารถแบกรับภาษีไดดีท่ีสุด และอยางนอยไมนาจะเขาเปนทหารดว ยตวั เองในกองทพั ทง้ั น้ี ภาษีอ่ืน ๆ กม็ เี ปาหมายทผ่ี ทู ี่รํา่ รวยเชนกนั การเฉลี่ยที่ยุติธรรมและการบังคับใชท่ีสอดคลองกันทําใหกฎหมายภาษีสรรพากร (Internal Revenue Act) ของป 1862 (พ.ศ.2405) มีความเหมาะสมท้งั ทางการเงินและเปน ทพ่ี อใจทางการเมอื ง ภาษีสรรพากรกระโดดจากไมมีอะไรเลยในปงบประมาณ 1862 (พ.ศ.2405) เปน 3.7 ลานเหรียญ ในปงบประมาณ 1863(พ.ศ.2406) และเกือบ 11 ลานเหรียญ ในปงบประมาณ 1864 (พ.ศ.2407)เม่ือส้ินสุดสงคราม ภาษีนี้คิดเปน รอยละ 63 ของรายไดรัฐบาล และเปนรอยละ 16ของรายจาย ซ่ึงชวยใหรัฐบาลสหรัฐฯ สามารถใชจายสําหรับการทําสงครามโดยไมเกิดเงินเฟอถึงข้ันลมจม เม่ือสิ้นสุดสงครามกลางเมือง ราคาสินคาก็ยืนอยูท่ีเกือบรอยละ 80 สูงกวาระดับของป 1861 (พ.ศ.2404) เทียบกับการเพ่ิมขึ้นรอยละ 84 ในสงครามโลกครั้งที่ 1 และรอยละ 70 ในผลตอมาของสงครามดังกลาว การดําเนนิ ตอไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมอื งสหรฐั อเมรกิ า

158การดํารงชีวิตของประชาชนฝายเหนือในระหวางปตาง ๆ ของสงครามไมมีการนําอาหารไปรับประทานกลางแจงนอกบาน (Picnic) ซ่ึงราคาสินคาไดเพิ่มข้ึนเกินกวาคาจาง เปนการใสเชื้อเพลิงตอความไมพอใจในหมูชนช้ันกรรมาชีพและกอใหเกิดการประทวงและการกอความวุนวายในบางคร้ัง แตก็นาระอาเล็กนอยคลายคลึงกับความขาดแคลนในการดํารงชีพท่ีประชาชนฝายใตสวนใหญไดเผชิญที่จริงแลวนโยบายการเงินการคลังของฝายเหนือตอดุลยภาพของรายรับรายจายนี้เพ่ิมการสนับสนุนมากกวาการลดการสนับสนุนในการดําเนินสงคราม ซ่ึงชางกลชาวโอไฮโอรายหนึ่ง ซ่ึงไดรับดอกเบ้ียรอยละ 6 จากพันธบัตรรัฐบาล เปนภาพท่ีแตกตางจากชาวไรชาวจอรเจีย ที่เฝาคอยการมาถึงของตัวแทนดําเนินการเก่ียวกับภาษีท่ีจายในรูปสิ่งของ (Tax-in-kind) ของฝายสมาพันธรัฐ ซึ่งการรองเพลง“The Battle Hymn of the Republic (เพลงสรรเสริญการสงครามของฝายเหนือ)” เบา ๆ ในลําคอ ในขณะที่ไดดอกเบ้ียจะงายกวาการผิวปากเพลง“Dixie (เพลงเกยี่ วกบั รัฐทางใตของสหรัฐฯ)” ในขณะที่รัฐบาลยึดวัว หน่ึงในสิบตัวของแตละคน ความแตกตางระหวางการบริหารจัดการดานเศรษฐกิจในยามสงครามท่ีราบรื่นของฝายเหนือ กับการดําเนินการดานการเงินที่ดอยกวาของรัฐบาลริชมอนดเปนเร่ืองท่ีโจษจันกันในชวงนั้น โดยบางคร้ังอาจจะมากเกินไปที่จะกลาวอางซึ่งตามที่นักวิเคราะหในปจจุบันผูหนึ่งกลาววา ฝายสมาพันธรัฐแพสงครามเนื่องจากนโยบายดานงบประมาณท่ไี รประสทิ ธิภาพ แตก ็เปนที่แนนอนวานโยบายเหลานั้นไดเพิ่มปญหา ตาง ๆ ในกองทัพของฝายสมาพันธรัฐพรอม ๆ กับการเพิ่มความตึงเครียดขึ้นอยางรุนแรงภายในสังคม ของฝายสมาพันธรัฐ พอล ดี.เอสสกอทท (Paul D. Escott) นักประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงของฝายใตกลาววาความแตกตางที่เห็นไดจากภาระบนบาของชนช้ันเกษตรกรกับทหารอาสาสมัคร(Yeoman - โยแมน) มีผลให เกิด “การจลาจลเงียบ” ของประชาชนธรรมดา กริมสล ่ีย

159โดยถอนการสนับสนุน ซึ่งเพิ่มอุปสรรคในการทําสงครามของ ฝายสมาพันธรัฐ3334ซง่ึ พอล คอยสเิ นน (Paul Koistinen) นกั เศรษฐศาสตรการเมอื งสรปุ วา “การบริหารจัดการดานการเงินในยามสงครามที่ผิดทิศทาง อาจเปนสาเหตุสําคัญท่ีสุดประการเดียวของความพายแพของฝา ยสมาพันธรฐั ”3435 เปนที่แนนอนวานายพลแกรนทสามารถมองเห็นความแตกตางนี้เมื่อไดเปรียบเทียบทหารท่ีมีเสื้อผาเคร่ืองนุงหมดีกวา, มีอาวุธยุทโธปกรณดีกวา, มีการเลี้ยงดูดีกวาของตน กับเชลยศึกฝายสมาพันธรัฐที่คอนขางผอมซูบ แตงกายดวยเส้ือผาซอมซอและนายพลลีก็สามารถเห็นไดเม่ือเผชิญกับปญหายุงยาก ในการพยายามใหกองทัพของตนไดรับการเล้ียงดู หรือความกังวลใจตอการหนีทหารที่เพิ่มขึ้น ในวันกอนการรบท่ีโอเวอรแลนด ที่ตนไดแจงเจฟเฟอรสัน เดวิด วา กําลังพล 5,500 นายหน่ึงในสิบของกําลังของตนไดหนีทหารไป3536 โดยจดหมายของนายพลลี ระหวาง 34Paul D. Escott, After Secession: Jefferson Davis and theFailure of Southern Nationalism (Baton Rouge, LA, 1978), หนา 104. 35Koistinen, Beating Plowshares into Swords, หนา 265 CharlesW. Ramsdell เรียกนโยบายดานการเงินนี้วา “จุดออนที่สุดจุดเดียวของฝายสมาพันธรัฐ” (Behinds the Lines in the Confederacy [Baton Rouge,LA, 1944], หนา 85) Douglas B. Ball ไดกลาววานโยบายดังกลาวเปนจุดออนที่สามารถหลีกเลี่ยงได “รัฐบาลสมาพันธรัฐดําเนินการไดดีในอํานาจของตนเพื่อบรรเทาการตอตานไปจนถึง จุดท่ีอาจสามารถมีรายไดท่ีพอเล้ียงปากเล้ียงทอง)หรืออยางนอยท่ีสุดก็อาจบรรลุซ่ึงความสงบ โดยการตกลงกันได” ซ่ึงในมุมมองของ Ball ความลมเหลว ในการดําเนินการดังกลาวสะทอนถึง ความลมเหลวอยางนาตําหนิของผูนํา (Ball, Financial Failure and Confederate Defeat,หนา 17). 36Lee to Davis, 13 April 1864, Douglas Southall Freeman, ed., Lee’sDispatches: Unpublished Letters of General Robert E. Lee, C.S.A. to การดาํ เนนิ ตอ ไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรฐั อเมรกิ า

160ฤดูหนาวของป 1863-64 (พ.ศ.2406-07) เปนการระบายความในใจที่ยาวฉบับหนึ่งเกี่ยวกับการขาดแคลนการสงกําลังตาง ๆ ซ่ึงเปนความรายแรงที่ตนไมสามารถแกไขไดอยางมีพลังเพียงพอ ในเรื่องการขาดแคลนอาหารของกําลังพล และอาหารของสัตวท เี่ พยี งพอ เปนผลจากการบริหารจัดการที่ผิดพลาดของพันโทลูเชียสนอรทรอพ (Lucius Northrop) ฝายเสบียงท่ีไรขีดความสามารถที่รูจักกันทั่วไปของฝายสมาพันธรัฐ ซึ่งพยายามเสนอใหนายพลลีสรางความผิดพลาดดวยการยึดทรัพยสินใหเปนสาธารณประโยชน (Impressment) ซ่ึงเปนการเปล่ียนแปลงทางทหารเก่ียวกับภาษีท่ีจายในรูปส่ิงของ (Tax in kind) แตนายพลลีก็เช่ือวาการเกณฑส นิ คา ตา ง ๆ โดยกองทัพเปนเพียงการเพิ่มเติมปญหาเทาน้ัน “การยึดทรัพยสินใหเปนสาธารณประโยชนเปนจํานวนมาก จะชวยปลดภาระในปจจุบันของเราแตขาพเจาเกรงวาการดําเนินการดังกลาว จะสงผลเสียตอการสงกําลังตาง ๆในอนาคตของเรา” เน่ืองจากอาจทําใหเกษตรกรซุกซอนพืชผลของตน หรือไมป ลูกพืชผลเหลา น้ี ซึง่ “ขาพเจา ไดย นิ มาวาประชาชนในพืน้ ท่ีเวอรจิเนียนอนอยูเฉย ๆเนอื่ งจากสาเหตุน้”ี 3637 แมจะมีปญหายุงยากท้ังหมดของตน กองทัพเวอรจิเนียเหนือก็ไดรับผลดีเทาท่ีจะทําไดในระหวางการรบที่โอเวอรแลนด โดยใหขาวลวงซํ้า ๆ ตอความเชื่อม่ันอยางย่ิงของนายพลแกรนท วา “กองทัพของนายพลลีไดถูกเอาชนะเด็ดขาดไปอยางราบคาบ”3738 ตามการปฏิบัติที่ฝายสมาพันธรัฐใชบอยครั้งอยางมากการตานทานท่ีรุนแรงของกองทัพสมาพันธรัฐทําใหฝายสหภาพสูญเสียมากกวา50,000 นาย เมื่อส้ินการรบดังกลาว และยังสะทอนภาพการตานทานที่เขมแข็งของฝายใตที่คลายกันในแนวรบอื่น ๆ ซึ่งไมมีใครในป 1861 (พ.ศ.2404)Jefferson Davis and the War Department of the Confederate Statesof America 1862-1865 (Baton Rouge, LA, 1994 [1915]), หนา 156-7. 37Lee to James L. Kemper, 29 January 1864, OR, vol. 33, หนา 1128. 38Grant to Halleck, 26 May 1864, OR, vol. 36, part 3, หนา 206. กรมิ สล ีย่ 

161ท่ีจะสามารถนึกภาพการนองเลือดในระดับท่ีดูเหมือนวาจะเกินกวาเปาหมายทางการเมืองที่สมเหตุสมผลใด ๆ “ถาไดนําภาพดังกลาวมาเสนอตอขาพเจาไดกอนการรบ” เฮนร่ี วิลสัน (Henry Wilson) วุฒิสมาชิกของเมสสะจูเสทตผูสนับสนุนการเลิกทาสอยางเขมแข็งกลาว “ขอกังวลของขาพเจาสําหรับการปกปองฝายสหภาพ ขาพเจาควรกลาววา ‘ตนทุนสูงเกินไป เปนการทําบาปตอบรรดาพี่นองสตรี ควรทจี่ ะสงบศกึ (The cost is too great; erring sisters, go in peace)’”3839 ความจริงที่วาชาวอเมริกาท่ีไดรับความเจ็บปวดและรับภาระการสูญเสียดังกลาวมาเปนเวลาสี่ป นาจะเปนปรากฏการณเดียวท่ีย่ิงใหญท่ีสุดของธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของการขัดแยง ความแตกตางทางภูมิภาคระหวางฝา ยเหนอื กับฝายใตเปน สงิ่ ทเี่ ดนชัดตัง้ แตการกอ สรางชาติ และ นักการเมืองอเมริกาไดมีการถกเถียงเร่ืองการดําเนินการเก่ียวกับทาสในสหรัฐฯ โดยยอนหลังไปถึงต้ังแตส มยั ยงั เปน สภาแหง ทวปี (Continental Congress) จนกระท่ังเม่ือป 1860(พ.ศ.2403) จึงไดพบทางที่จะแกปญหาขอถกเถียงของตนดวยระบบทางการเมืองตามธรรมเนียมปฏิบัติของชาวอเมริกาท่ีไดผลและนาภาคภูมิใจในดานการประนีประนอมแลวมสี ิ่งใดที่ทาํ ลายธรรมเนยี มปฏบิ ตั ดิ ังกลา ว? ในหนังสือ The Destructive War (สงครามที่อันตราย) ของชารลสรอยสเตอร (Charles Royster) ที่ ไดรับรางวัลของป 1991 (พ.ศ.2534) กลาววาความรุนแรงย่ิงของสงครามกลางเมืองเปนการแสดงถึง วัฒนธรรมทางการเมืองท่ีเปลี่ยนแปลงไป การเกิดขึ้นของประชาธิปไตยแบบแจคสัน (Jacksoniandemocracy) ทําใหสงั คมขาดความอดทนเพิ่มขึน้ ในขอ จํากัดตาง ๆ: อเมริกาในชวงกอนสงครามกลางเมืองไดถูกครอบคลุมดวยผูหัวร้ันท่ีไมประนีประนอม เก่ียวกับเสรีสวนบุคคล [และ] … ผูที่ไมมีความอดทนเพิ่มข้ึนกับการปดก้ันความตองการของแตละบุคคลหรือกลุมตาง ๆ ซ่ึงแนวโนมเหลาน้ี 39อางใน Allen Nevins, The War for the Union, vol. 4, TheOrganized War to Victory, 1864-1865 (New York, 1971), หนา 23. การดําเนินตอไปของการปฏิวัตกิ ารทหาร: สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมรกิ า

162ท่ีจะปฏิเสธการจํากัดตาง ๆ และที่จะตอตานอํานาจที่ไมพึงปรารถนา ซ่ึงรูวาไมมีวิธีการอ่ืนใดที่จะแกปญหาสิ่งท่ีเรียกรองไดนอกเหนือไปจากความรุนแรงบรรดาพรรคและกลไกตาง ๆ ของรัฐบาลทําใหเกิดการเผชิญหนา และประเด็นที่วาผูชนะเปนผูไดผลลัพธทุกอยาง (Winner-take-all outcomes) แตก็เปนการเหมาะสมกวาท่ีจะจํากัดคนเหลา นแ้ี ทนท่ีจะทําใหปนปวน ดังน้ัน ประชาชนจึงคิดวาตนมีหนทางของตนเอง และม่ันใจถึงการมีสิทธิและอํานาจจนไมสามารถหยุดยั้งสงครามที่จะเกิดขึ้นหรือหยุดสงคราม เมื่อเช่ือวาตนถูกคุกคามเก่ียวกับเรื่องท่ีตนเห็นวามีความสําคัญยิ่ง ผูที่ปฏิญาณตนเปนชาวอเมริกาทั้งหมดพบวา อเมริกาไมไดทําใหตนอยูรวมกัน แตบอกใหตนสังหารชาวอเมริกาท่ีพยายามควบคุมตนซึ่งดวยการกระทําดังกลาว คนเหลาน้ีสามารถสรางประวัติศาสตรท่ีกําลังครอบงําลักษณะพน้ื ฐานดา นสังคมที่มีรวมกนั (Ethos) ของตน3940 ชาวอเมริกาสวนใหญประหลาดใจอยางยิ่งตออันตรายของสงครามที่เฮนรี่ วิลสัน (Henry Wilson) ไดกลาวไป พวกเขารูสึกวาสิ้นหวังในผลลัพธที่ใหญกวาเร่ืองของตนเอง ทั้งประชาชนฝายเหนือและฝายใต ตางก็เขาสูสงครามเพือ่ ปกปอ งสาธารณรฐั ที่ตนยอมรับและเขาใจตอการคกุ คามทเ่ี หน็ จากชาวอเมริกาอืน่ ๆ ทส่ี ดุ แลว ในแงข องความจําเปน ทางทหาร ประชาชนก็ไดย อมรบั มาตรการของรัฐบาลท่ีเม่ือกอนน้ีอาจดูเหมือนเปนสิ่งท่ีคิดไมถึง ทั้งสองฝายไดยอมรับการเกณฑทหารและและการเก็บภาษีท่ีเพิ่มขึ้นอยางมากมายไมวาจะเปนโดยตรง,ในรูปสิ่งของ, หรือในรูปของเงินเฟอ เนื่องจากประชาชนในจํานวนพอสมควรของท้ังสองฝายเช่ือพอในสาเหตุของแตละประการท่ีจะยอมรับความชอบธรรมตามกฎหมายของมาตรการเหลานั้น พวกเขาไดจัดตั้งกองทัพที่ไมมีมากอนในประวัติศาสตรอเมริกา ซึ่งประกอบดวยบรรดาชายที่เต็มใจที่จะตายในจํานวน 40Charles Royster, The Destructive War: William TecumsehSherman, Stonewall Jackson, and the Americans (New York, 1991),หนา 191. กรมิ สล่ยี 

163ท่ีไมเคยเกิดขึ้นมากอน เนื่องจากการดํารงอยูตอไปของชาติที่ตนตอสู เพ่ือส่ิงท่ีดูเหมือนสําคัญกวาการมีชีวิตอยูของตน เรื่องราวของสงครามกลางเมืองเปนเรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรูที่จะขับขี่พายุราย ซึ่งแตละฝายขับขี่ไปไดดีเทาที่สามารถทําได และเผชิญกับผลท่ีเกิดตามมา แมจะไดพยายามทําใหเกิดผลเหลาน้ันตอขาศึก และแทนที่จะพิทักษปกปองอเมริกาเดิมตามที่ท้ังสองฝายเรียกพายุรายดังกลาวไดปรับเปล่ียนโครงสรางพ้ืนฐานทางการเมือง, เศรษฐกิจ และสังคมของชาติ ซึ่งเมื่อพายุรา ยนั้นยตุ ิสาธารณรฐั อเมรกิ าเดิมกห็ ายไปตลอดกาล การดําเนินตอ ไปของการปฏิวัติการทหาร: สงครามกลางเมืองสหรฐั อเมรกิ า

6 การปฏวิ ตั ใิ นกจิ การทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414) (The Prusso-German RMA, 1840-1871) เดนนิส อ.ี โชวอลเทอร (Dennis E. Showalter) ตั้งแตชาวอเมริกาในชวงอาณานิคมไดพยายามท่ีจะทวีกําลังตานทานตอสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีไรความปรานี01 แฮงค มอรแกน (Hank Morgan)ผูที่มีความชํานาญในเร่ืองเครื่องจักรกลเปน ผรู ิเริ่มท่สี าํ คญั แทนท่ีจะเปน จอหน เฮนรี่(John Henry) ซึ่งวีรบุรุษตะวันตกผูนี้ไดผสมผสานแรงใจและความเชี่ยวชาญทางเทคนิค ซึ่งเปนความถูกตองท่ีไดรับการผดุงไวดวยปนลูกโมหกนัด (Six-gun)ในมอื ของมอื ปนชนั้ ยอด12 วิสยั ทัศนท ีเ่ ฉียบแหลมของการเปน มหาอํานาจดวยเทคโนโลยีที่พบไดทั่วไปในนโยบายของสหรัฐฯ และ หนังสือเกี่ยวกับความเปนทหารอาชีพตั้งแตป 1990 (พ.ศ.2533) เปนตนมา ไดทําใหเกิดทั้งสาระและการจูงใจจากความกา วหนาดานวัฒนธรรมท่ีเปน พื้นฐานนี้ ตอมา เหลานักวิเคราะหชาวอเมริกาไดจํากัดความของคําวาการปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolution in military affair) วาเปนอสมมาตรทางเทคโนโลยี-การจัดหนวย (Technological-organizational asymmetries) ระหวางกําลังรบตาง ๆซึ่งโดยปกติจะประกอบดวยเรื่องเฉพาะ 3 ประการที่สัมพันธซึ่งกันและกันซึ่งประการแรกและชัดเจนที่สุด คือ การพัฒนาโดยตรงในความสามารถทําลายเปาหมายประการท่ีสอง คือ “สารสนเทศ (Information edge)” ท่ีเกิดจากความสามารถที่จะรวบรวม,ดําเนินกรรมวิธี, และกระจายขอมูลขาวสารที่เพิ่มขึ้นแบบทวีคูณและเสริมกันประการท่ีสามของการปฏิวัติในกิจการทหารแบบอเมริกา คือ การมีหลักนิยม,ความชํานาญการ, และโครงสรางกําลังท่ีจําเปนตอการใชศักยภาพสูงสุดของอาวุธยุทโธปกรณใหม ๆ หายนะของหนวยยานเกราะของฝรั่งเศสในป 1940 (พ.ศ.2483) 1 Leo Marx, The Machine in the Garden (New York, 1964)เปน ขอ คดิ เหน็ ทวั่ ไปทมี่ ีประโยชน ของแนวคดิ นี้ และผลตามมาท่สี ับสน. 2 ดู Richard Slotkin, Gunfighter Nation: The Myth of the Frontierin Twentieth-Century America (New York, 1992).

165และของกองทัพอากาศ อาหรับในป 1967 (พ.ศ.2510) แสดงถึงความไรคาของยุทโธปกรณที่ปราศจากแนวคิดท่ีเหมาะสมในการใช และกําลังพลที่มีขีดความสามารถทไี่ ดรับการจดั หนว ยอยางมปี ระสิทธผิ ลเพ่อื ใชแ นวคดิ เหลา น้ี กองทัพปรัสเซียตั้งแตป 1840 (พ.ศ.2383) เปนตนมา ไดใหตัวอยางที่แทบจะยอดเย่ียมที่สุดของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เปนตัวเรงตอการเปล่ียนแปลงพ้ืนฐานทางยุทธวิธี, ยุทธการ, การจัดหนวยทหาร, และนโยบายรัฐการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นทําใหปรัสเซียระหวางป 1866 (พ.ศ.2409) และ 1871 (พ.ศ.2414)เปลี่ยนแปลงโครงสรางที่ฝงรากลึกของระบบรัฐของยุโรป โดยผิวเผิน “การปฏิวัติในกิจการทหารของปรัสเซีย” จะเขาไดอยางสนิทกับกรอบแนวคิดของอเมริกาแตก็นํามาซึ่งการแจงเตือนโดยรวมวาภายใน 25 ป มหาอํานาจยุโรปที่ย่ิงใหญทั้งหมดยกเวนอังกฤษ จะรับเอาคุณลักษณะสําคัญทางเทคโนโลยีและการจัดหนวยทางทหารของปรัสเซียไปใช และลดความไดเปรียบแบบอสมมาตรใด ๆ ของเยอรมันเหนือส่ิงอ่ืนใด มหาอํานาจอ่ืน ๆ ยังมีคําตอบเชิงยุทธศาสตรตอมหาอํานาจที่เปน“กึ่งเจาโลก (Semi-hegemonial)” วา การบุกของเยอรมันไดสรางอาณาเขตของตนข้ึนคือ พันธมิตรในการปองกันเพื่อสกัดอํานาจการรุกรานของ “ดาบแหงเยอรมัน(German sword)” ที่รวดเร็ว23 การขัดแยงกันในป 1914 (พ.ศ.2457) ระหวางวัฒนธรรมประเพณีดานกรอบแนวคิด, เทคโนโลยี, และการจัดหนวยทางทหารท่ีมีรากฐานจากการปฏิวัติในกิจการทหารของปรัสเซียและการตานทานของเพ่ือนบานทล่ี า ชาแตมอี าวธุ คลา ยกันของเยอรมัน ไดทําใหเกิดหายนะคือ สงครามโลกครั้งท่ี 2(Weltkrieg - เวลทครี๊จ) ระยะเวลาสี่ปคร่ึงในรูปแบบของสงครามกลางเมืองสหรัฐฯท่ีสน้ิ สุดลงดว ยความพา ยแพข องเยอรมนั 3 “Semi-hegemonial”: Ludwig Dehio, Deutschland und dieWeltpolitik im 20. Jahrhundert (Munich, 1955), หนา 15. การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารของปรัสเซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

166 นวัตกรรมในยามสงบ: ปน แบบใชเ ข็มแทงชนวน (Needle-gun) และทางรถไฟ การปฏิวตั ใิ นกจิ การทหารสว นใหญจ ะเกดิ ข้นึ ในยามสงบดวยการดาํ เนนิ การของกองทัพที่ตระหนักในตนเองวาเปนผูลาหลังภายใตกฎเกณฑที่มีอยูของเกมส่ิงท่ีเกิดข้ึนในตนป 1980 (พ.ศ.2523) ไมใชเรื่องบังเอิญที่โซเวียตไดเริ่มกําหนดภาพในอนาคตของตนในการแขงขันดานอาวุธท่ีถูกขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีตาง ๆที่โซเวียตไมสามารถดําเนินการใหเหมาะสมไดโดยไมปฏิเสธความสําคัญของระบอบการปกครองของตน34 ซึ่งปรัสเซียในทศวรรษตาง ๆ หลังป 1815 (พ.ศ.2358)ก็ไดเ ผชญิ กบั ปญหาทค่ี ลา ยคลึงกนั ทงั้ นี้ เรือ่ งดงั กลาวจะเก่ียวของกับบคุ คลมากกวาวัตถุ ความสําเร็จที่นาตกใจของกองทัพปฏิวัติฝรั่งเศสทําใหบรรดานายพลและนกั การเมืองของยโุ รปหลังป 1815 (พ.ศ.2358) ตัดสินใจ “ฟนคืนความเปนทหารอาชีพ(Reprofessionalize)” กองทัพของตนที่ผิดเพี้ยนไป คําอธิบายทั่วไปสําหรับรูปแบบท่ีตอเนื่องของอังกฤษในการเกณฑทหารเขาประจําการเปนเวลานาน และการใชทหารเกณฑเปนระยะเวลาต้ังแต 5 – 25 ป ของฝรั่งเศส, รัสเซีย, และ ออสเตรียก็คือ การเมืองผูปกครองตาง ๆ ที่แขงขันดานกําลังทหารอยางชัดเจน จึงเกณฑทหารเพ่ือความจงรักภักดีตอราชวงศของตน และกรมกองทหาร, การคอนขางท่ีจะขาดความรูสึกที่ไวของผูปกครองเหลาน้ีตอความคิดสุดโตง, และความต้ังใจของผูปกครองเหลา น้ี ทจี่ ะกาํ จัดสงิ่ ท่ีติดยึดของความคดิ เหลา นัน้ เมอ่ื ไดออกคาํ สงั่ ทเี่ หมาะสม45 4 ดู Jacob W. Kipp, “The Nature of Future Wars: Russian Military Forecastingand the Revolution in Military Affairs: A Case of the Oracle of Delphi or Cassandra?,”Journal of Slavic Military Studies 9 (1996); บทความใน Stephen J. Blank andJacob W. Kipp, eds., The Soviet Military and the Future (Westport, CT, 1992);และ Kimberly Martin Zisk, Organization Theory and Soviet MilitaryIntegration, 1955-1991 (Princeton, NJ, 1993). 5 ดู Geoffrey Best, War and Society in Revolutionary Europe,1770-1870 (New York, 1986), หนา 204-22. โชวอลเทอร

167 การอธิบายดังกลาวใชไดเพียงบางสวน ระบบการทหารของฝรั่งเศสที่ทําใหมีตองมีการเปล่ียนแปลง สําหรับยุโรปต้ังแตป 1793 (พ.ศ.2336) ถึง 1815(พ.ศ.2358) ข้ึนอยูกับมหาชนเปนหลัก นอกจากน้ี ยังแสดงถึงแนวโนมท่ียุงเหยิงในการพัฒนาระบบประสาทของตน โดยถึงแมวาจะอยูภายในพระหัตถของจักรพรรดิการเกณฑทหารจํานวนมากของโบโรดิโน (Borodino) หรือไลพซิก (Leipzig)พิสูจนใหเห็นถึงความไดผลท่ีนอยกวาอยางมากกับกําลังโจมตี ที่คอนขางขาดแคลนตอเมืองลอดี (Lodi), มาแรงโก (Marengo), และเอาสเตอรลิทซ (Austerlitz)ในยุคหลังจากสงครามวอเตอรลู ทหารหลายนายรวมถึงจอมพลบางคนของนโปเลียนเองไดผลักดันใหกลับไปสูกองทัพท่ีเล็กกวาที่สามารถควบคุมไดอยางรวดเร็วแนนอน โดยมุงท่ีคุณภาพมากกวาปริมาณภารกิจตาง ๆ ท่ีตองการที่เพ่ิมข้ึนในสนามรบของสงครามในศตวรรษท่ี 19 ทําใหหมดไปอยางเปนการถาวรซึ่งทหารที่ตองยิงตามคําสั่งยิงท่ีไดปฏิบัติหนาท่ีมาเปนเวลานานเพียงพอที่จะกลายเปนผูเชีย่ วชาญอยางเต็มที่56 นั่นคือรูปแบบที่สรางข้ึนในกองทัพตาง ๆ ของเหลามหาอํานาจและไดรับการปกปองโดยนักทฤษฎีทางทหารที่รวมสมัยที่สุด รูปแบบดังกลาวอยูในบริบทท่ีปรัสเซียหลังป 1815 (พ.ศ.2358) พบวา ตนเองอยูในสภาพของนักเลนที่มีเงินนอยในเกมไพเดิมพันบนโตะ (Table-stakes game) แมวากอนท่ีนโปเลียนจะบดขย้ีกองทัพในแบบของพระเจาเฟร็ดเดอริกที่เยนา (Jena) และออรสเต็ดท(Auerstädt) ชานฮอรสท (Scharnhorst) และกไนเซเนา (Gneisenau) ทําใหตองเปลี่ยนแปลงพ้ืนฐานความสัมพันธระหวางกองทัพกับสังคม คือ “พันธมิตรระหวางรัฐบาลกับประชาชน (Alliance between government and people)”ท่ีจะทําใหปรัสเซียยังคงเปนมหาอํานาจหน่ึงอยู ซึ่งเปาหมายขั้นตนของบรรดา 6 ดู Paddy Griffith, Military Thought in the French Army, 1815-1850 (Manchester, 1989), และ Gary Cox, The Halt in the Mud: FrenchStrategic Planning from Waterloo to Sedan (Boulder, CO, 1994). การปฏิวตั ใิ นกิจการทหารของปรัสเซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

168นักปฏิรูปในการสรางทหารประชาชน (Citizen-soldiers) ไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไปเปนความคิดท่ีวา การเขาเปนทหารเปนหัวใจสําคัญของประชาชนเองโดยระหวางปตาง ๆ ที่เปนทหารไมวาในยามสงครามหรือยามสงบ ไดกลายเปนสวนทใ่ี หคาํ จํากัดความของเอกลักษณค วามเปนคนของประชาชน67 กองทัพมหาชนที่เกิดขึ้นจะข้ึนอยูกับศรัทธาของประชาชนเปนสวนใหญซงึ่ กองทพั ดงั กลาวไดผาน การทดสอบของสงครามในป 1813-15 (พ.ศ.2356-58)แตการมีกองทัพดังกลาวก็เสี่ยงตอการท่ีจะเปนเหมือนเชนฝรั่งเศสในยุคนโปเลียน(Napoleonic France) เนื่องจากคุกคามตอความความสงบเรียบรอยของยุโรปซ่ึงปรัสเซียในสถานภาพน้ันไมมีทั้งความต้ังใจหรือความสามารถท่ีจะดํารงไวหลังป 1815 (พ.ศ.2358) ปรัสเซียสนใจแตการดํารงรักษาและการขยายตนเองในสภาพแวดลอ มของภมู ิภาคและทวีปท่ีมี ความมั่นคงท่ีสรางขึ้นโดยสภาแหงเวียนนา(Congress of Vienna) และสหพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation)ยุทธศาสตรชาติของปรัสเซียในหวงน้ันขึ้นอยูกับสิ่งที่ปจจุบันอาจเรียกวาการจัดการในภาวะวิกฤต (Crisis management) ซึ่งเปนการดําเนินการโดยนมุ นวลโดยใชการผสมผสานกันของการ เจรจาตอรองและการประนีประนอมทป่ี ระกนั ดว ยการคกุ คามทจ่ี ะเกิดข้ึนของกาํ ลังทม่ี ีการควบคุมสําหรับเปา หมายจาํ กดั 78 7 ในบทบาทรวมของการรบั ราชการทหารในการปฏิรปู ดู Heinz Stübig, Armee undNation: Die pädagogische-patriotische Motive der preussische Heeresreform1807-1814 (Frankfurt, 1971), และ Bernd von Münchow-Pohl, Zwischen Reform und Krieg:Untersuchungen zur Bewusstseinslage in Preussen 1809-1812 (Gottingen, 1987). 8 ดู Lawrence J. Baack, Christian Bernstoff and Prussia, 1818-1832(New Brunswick, NJ, 1980) และการศึกษาเฉพาะกรณีของ Jürgen Angelow, “Die‘belgische-luxemburgische Krise’ von 1830-32 und der deutsche Bund: Zurgeplanten Bundesintervention in Luxemburg.” MilitärgeschichtlicheMitteilungen 50 (191), หนา 61-80. โชวอลเทอร

169 อยา งไรกต็ าม เศรษฐกิจของปรัสเซียไมสามารถสนับสนุนกองทัพท่ีพัฒนาขึ้นหลังยุคนโปเลียน ฝร่ังเศส (Napoleonic France) ซ่ึงเปนกําลังพรอมรบสําหรับสงครามต้ังแตการเริ่มเตรียมพรอมท่ีเนนคุณภาพ แตใหญพอท่ีจะทําใหผูที่มีกองทัพดังกลาวมีสถานภาพเปนมหาอํานาจ กองทัพปรัสเซียตองอาศัยกําลังคนท่ีเกณฑมาจากชีวิตพลเรือน โดยแบงราชอาณาจักรดังกลาวออกเปนมณฑลทหาร ซึ่งแตละมณฑลรับผิดชอบการระดมกําลังกองทัพนอยในยามสงคราม ในรูปแบบสุดทายในยุคบีเดอรไมเออร (Biedermeyer) แตละกองทัพนอย ประกอบดวย 2 กองพลแตละกองพลประกอบดวย 2 กองพลนอย และ แตละกองพลนอย ประกอบดวย2 กรม แตมีเพียงหนึ่งกรมเทาน้ันท่ีเปนกองทัพประจําการ และกําลังในยามสงบซึ่งแมจะเปนเพียงบัญชีก็เกินกวาครึ่งหนึ่งของการจัดต้ังในยามสงครามเล็กนอยกําลังปองกันชาติ (Landwehr – แลนดเวอร) เปนพลเรือนอาสาสมัครท่ีจัดตั้งขึ้นอยางเรงดวนในป 1813 (พ.ศ.2356) และมีจํานวนเทา ๆ กับ หนวยเตรียมพรอม(Line units) ตามกฎหมายพื้นฐานของกองทัพ คือ กฎหมายการปองกันประเทศ(Wehrgesetz–แวรกเี ซท ซ) ของป 1814(พ.ศ.2357)ทก่ี ําหนดการจัดหากําลงั ใหกรมที่เหลอื 89 โครงสรางดังกลาวคลายกับระบบ “การเพิ่มกําลัง (Roundout)”หลังสงครามเวียดนามของกองทัพสหรัฐฯ ถาเขมขนมากขึ้น ทําใหเปนไปไมไดอยางยิ่ง สําหรับปรัสเซียที่จะดําเนินการใด ๆ ที่จะปองกันสงครามทั่วไป 9 ขอคิดเห็นทั่วไปท่ีดีท่ีสุด คือ Manfred Messerschmidt, “Die politischeGerschichte der preussisch-deutschen Armee,” ใน Handbuch derdeutschen Militärgeschichte, 9 vols. (Frankfurt a. M., Munich, 1964-81),vol. 4, part 2, หนา 59-84; รวมทั้งดู Heinz Stübig, “Die WehrverfassungPreussens in der Reformzeit: Wehrpflicht im Spannungsfeld vonRestauration und Revolution, 1815-1860,” ใน Roland G. Foerster, ed.,Die Wehrpflicht: Entstehung, Erscheinungsform und politisch-militärische Wikung (Munich, 1994). การปฏิวัติในกิจการทหารของปรัสเซีย-เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

170ซ่ึงแมแตกรมทหารประจําการตาง ๆ ก็ยังตองการทหารกองหนุนเพิ่มเติมจํานวนมากเพื่อเอาชนะในสนามรบ สิ่งที่สําคัญยิ่งกวาสําหรับวัตถุประสงคดานยุทธการที่หนวยทหารของปรัสเซียคาด แตจริง ๆ แลวตองการ คือประสิทธิภาพที่เทาเทียมกันของหนวยประจําการและกําลังปองกันชาติ (Landwehr) ซึ่งภารกิจของทั้งสองประเภทน้ีเหมือนกัน แตการเพ่ิมของประชากรหลังป 1815 (พ.ศ.2358)ผนวกกับการตัดลดงบประมาณทางทหารทําใหไมสามารถสนับสนุนการเงินไดเต็มระยะเวลาประจําการสําหรับชายท่ีแข็งแรงทุกคน เวนแตรายจายตามความตองการพื้นฐานเชน โรงนอนทหาร, เครื่องแบบ, และอาวุธยุทโธปกรณ และเครือขายที่ร้ือฟนขึ้นใหมของปอมปราการตาง ๆ ที่เห็นวาจําเปนตอความมั่นคงของปรัสเซีย910 ดังนั้นสรุปกองทัพปรัสเซียจึงลงที่ระบบที่คลายกับระบบการเกณฑทหารโดยวิธีเลือกผูไมมีครอบครัวกอน (Selective Service) ที่ใชในสหรัฐฯ ตั้งแตเกาหลีไปจนถึงเวียดนามหลักการของพันธะทางทหารที่มีผลบังคับทั่วไปที่ตราไวในกฎหมายการปองกันประเทศ(Wehrgesetz) ยังคงเปน หลักการหนึ่งอยู ซ่ึงในทางปฏิบัติกองทัพมักจะลดระยะเวลาการเปนทหารสามปของตน โดยบรรจุผูท่ีตองถูกเกณฑท่ีไมไดรับการฝกใหเปนกําลงั ปองกันชาติ (Landwehr) มากขึน้ และปลอ ยประชากรชายสวนใหญหลดุ พน ไป “กําลังปองกันชาติ (Landwehr recruits)” ที่เกิดข้ึนมักจะเลวรายกวาไรประโยชนประสบการณ หลังจากป 1815 (พ.ศ.2358) แสดงวา ผูฝกของกองทัพสามารถฝกสอนความรูพ้ืนฐานของการปฏิบัติของกองรอยแกชายหลายรอยคนจํานวนมากในสองสามสัปดาหถาเค่ียวเข็ญทหารที่ถูกเกณฑอยางเต็มท่ีทหารที่ถูกเกณฑนี้ ยังอาจไดรับความรูบางประการของเอกลักษณของกลุมและความสําคัญของคําสั่งทหาร แตทหารเกณฑเหลานี้ก็ยังคงไมรูเรื่อง 10 เปนสถานภาพตามความเห็นที่ลึกซึ้งที่สุดบรรดานักปฏิรูปดานการทหารเชน Hermann von Boyen (war minister, 1814-19): Friedrich Meinecke,Das Leben des Generalfeldmarschalls Hermann von Boyen, 2 vols.(Stuttgart, 1895-99), vol.2, หนา 223-4. โชวอลเทอร

171การรบแบบหนวยระวังปองกัน, ความชํานาญการทางยุทธวิธีในสนามรบ (Fieldcraft),การแมนปน, และความชํานาญการท่ีสําคัญอื่น ๆ ที่สงครามสมัยใหมและหลักนิยมการฝก ของปรัสเซยี กําหนด ผูกอตั้งกําลังปองกันชาติ (Landwehr) คาดหวังวาศรัทธาของประชาชนจะประกันการมีสวนรวมในการฝกและการฝกความชํานาญการของตน แตความสงบสุขเปนเวลานานหลังจากสงครามวอเตอรลู กําลังปองกันชาติ (Landwehr)กท็ าํ ใหส ญู เสียความหวงั ในสงิ่ ท่ีจัดตั้งใหมของตน ชายหนุมที่มีความทะเยอทะยานในกองทัพหรือสังคม ไมสามารถท่ีจะไดเปนนายทหารสัญญาบัตร ประชาชนไมมีความกระตือรือรนที่จะดูการแสดงและซื้อเคร่ืองดื่มอีกตอ สําหรับผูปองกันประเทศที่กลาหาญของตนท่ีไดเขารวมการฝกตาง ๆ ของตนความกระตือรือรนของประชาชนท่ีบรรดานักปฏิรูปไดวางเปนพื้นฐานของระบบการทหารปรัสเซียไดพิสูจนถึงความยุงยากในการดํารงรักษาภายในระบบการเมืองที่แมแตในป 1813-15(พ.ศ.2356-58) ก็ไมเ คยไดละทง้ิ ความสงสยั ลึก ๆ ในความศรทั ธาของสาธารณะชน1011 11 ดู Dennis E. Showalter, “The Prussian Landwehr and itsCritics, 1813-1819,” Central European History 4 (1971); DorotheaSchmidt, Die preussische Landwehr: Ein Beitrag zur Geschichte derallgemeinen Wehrpflicht in Preussen zwischen 1813 and 1830(Berlin,1981); Alf Lüdtke, Police and State in Prussia, 1813-1850 (Cambridge,1989) Eckhard Trox, Militärischer Konservatismus 1815 und1848/1849 (Stuttgart, 1990) ทําใหเกิดการถกเถียงท่ีม่ันใจสําหรับความเชื่อในลัทธิทหารแบบประชานิยม ในระดับท่ีสูงกวาที่เคยดําเนินการมากอนหนานี้แตไมไดแสดงถึงวิธีการที่จะแปลงการดําเนินการน้ี ไปสูศรัทธาที่แทจริงท่ีจะเขาสูเครือ่ งแบบทหาร. การปฏวิ ตั ใิ นกิจการทหารของปรสั เซยี -เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

172 ดังนั้นป 1840 (พ.ศ.2383) ปรัสเซียจึงไดตกต่ําที่สุดในทั้งสองโลกโดยตําแหนงระหวางชาติของรัฐนี้ทําใหตองมีกองทัพท่ีมีการวางแผนลวงหนา(Front-loaded army) ที่สามารถปองกันการรุกรานท่ีอาจเกิดขึ้นและเพ่ือดําเนินการปฏิบัติการท่ีรวดเร็วและเด็ดขาดสําหรับเปาหมายท่ีไดกําหนดไวอยางชัดเจนแตประเพณีนิยมที่สืบทอดกันมาในการดําเนินการปฏิรูปเปนเคร่ืองมือท่ีเทอะทะอืดอาดไมเหมาะสมกับการกําหนดนโยบายสงครามใด ๆ นอกจากนี้ ความเช่ือถือไดและประสิทธิภาพของเคร่อื งมือดงั กลาว ก็ยังเปดตอปญ หารายแรง การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของป 1848 (พ.ศ.2391) และภาวะวิกฤตที่นอยกวา ตอมาแสดงใหเห็นถึงความเฉื่อยชาในการปฏิบัติตามมากกวาความกระตือรือรนในความรักชาติในหมูกําลังสํารองและผูที่เปนกําลังปองกันชาติ(Landwehr) ท่ีถูกเรียกเขาประจําการ ซ่ึงส่ิงที่ไมนาพอใจนี้คอนขางจะเปนเรื่องสวนตัวมากกวาหลักการบรรดาชายฉกรรจอายุสามสิบท่ีมีครอบครัวที่ถูกบังคับใหละท้ิงเรือกสวนไรนา, รานคา, หรืออาชีพของตน เพื่อเขาสูเคร่ืองแบบท่ีถูกละทิ้งมาเปนระยะเวลายาวนาน ไมนาจะรูสึกสิ่งใดนอกไปจาก ความสุขใจเม่ือสนับสนุนวิธีการท่ีนายินดีดวยคนโสดที่มีอายุหนุมกวาสิบปที่เคยถูกตัดทิ้งไปจากบัญชีเรียกเกณฑซึ่งทหารท่ีมีความสมัครใจเพียงครึ่งของปรัสเซียคงไมสามารถที่สรางชัยชนะที่รุงโรจนใ นสงครามในอนาคตได 1112 แนวทางแกไขที่เปนไปไดประการหนึ่ง คือ การใชเทคโนโลยีเปนตัวทวีกําลังซ่ึงบอยคร้ังที่ผลของการเปนชาติอุตสาหกรรมไดสรางความตระหนกแกนายทหารสัญญาบัตรของปรัสเซีย ซ่ึงยังคงสงสัยมาเปนเวลานานถึงผลท่ีตามมาดานสังคม, การเมืองและสิ่งแวดลอมของระบบโรงงานและความไมแนใจของระดับท่ีเหมาะสมของ 12 ดู Walther Hubatsch, “Abrüstung und Heeresreform inPreussen von 1807-1861.” ใน Heinrich Bodensieck, ed., Preussen,Deutschland und der Western: Auseinandersetzungen undBeziehungen seit 1789 (Göttingen, 1980). โชวอลเทอร

173การเก่ียวของของรัฐในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ ซ่ึงการสืบทอดแนวความคิดดานทฤษฎีพลังแหง ชีวิต (Vitalist heritage) ของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวตั ิของฝร่ังเศสและของการปฏิรูปการทหารซ่ึงใหความสําคัญตอศรัทธา และพลังใจท่ีเปนหัวใจสูชัยชนะยงั จาํ กัดตอความกระตอื รอื รน ของกองทัพทจี่ ะใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยีใหมต า ง ๆ1213 ปนใหญ จุดศูนยรวมของความเปนจริงสําหรับนวัตกรรมซ่ึงไดพัฒนามาเปนระยะ ๆ ปนเล็กยาวลํากลองเกลียวบรรจุท่ีรังเพลิงทายลํากลองทําดวยเหล็กกลาหลอที่อัลเฟร็ด ครุพพ (Alfred Krupp) พัฒนาขึ้น และกองทัพไดนําไปใชในป 1859 (พ.ศ.2402) แสดงถึงการคอย ๆ พัฒนาขึ้นมากกวาการพัฒนาแบบกาวกระโดด ซ่ึงเหล็กกลาหลอในชวงแรกๆ ไมไดดีไปกวาทองสัมฤทธ์ิ(Bronze) แบบเดิม ๆ เชนเดียวกันในยุคของแครรับปนใหญแบบอยูกับท่ีการบรรจุทร่ี ังเพลงิ ทา ยลาํ กลอ งชวยเพ่ิมอํานาจการยิงข้ึนอยางมาก ในชวงที่ปนใหญกระดกกลับเขาสูตําแหนงยิงหลังจากการสะทอนถอยกลับ พลประจําปนที่มีประสิทธิภาพที่เหมาะสมจะสามารถบรรจุกระสุนปนไดจากดานทาย และเชนเดียวกับกองทัพในทวีปทั้งหมดในป 1850 (พ.ศ.2393) ปรัสเซียไมแนใจวาปนใหญสนามที่นาเชื่อถือมากท่ีสุดของอนาคตจะเปนปนลํากลองเกลียวระยะยิงไกล หรือปนลํากลองเรียบที่มีกวางปากลํากลองใหญที่มีความสามารถที่สุดในการยิงกระสุนปนใหญ,กระสุนแบบสรางสะเก็ดระเบิด และกระสุนลูกปรายในระยะใกลหรือปานกลางซึ่งมีชื่อเสียงวาเปน นโปเลียนแหงสงครามกลางเมือง (Napoleon of Civil War)จนกระทั่งหลังป 1866 (พ.ศ.2409) กองรอยปนใหญสนามตาง ๆ ของปรัสเซียกไ็ ดรบั ปน ใหญท้งั สองแบบในอตั ราสว นหาสิบ-หา สบิ 1314 13 Eric Dorn Brose, The Politics of Technological Change inPrussia: Out of the Shadow of Antiquity, 1809-1848 (Princeton, NJ, 1993). 14 Dennis E. Showalter, Railroads and Rifles: Soldiers,Technology, and the Unification of Germany (Hamden, CT, 1975),หนา 152-82. การปฏิวัตใิ นกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

174 การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของปรัสเซียกลับเริ่มตนดวยการติดอาวุธใหมแกทหารราบ1415 ซึ่งมีเร่ืองราวเกี่ยวกับปนแบบใชเข็มแทงชนวนบรรจุกระสุนทายลํากลอง ท่ีถูกลืมไปเปนระยะเวลายาวนานวา ปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวไดถูกออกแบบในสวนที่เกี่ยวกับชุดบรรจุกระสุนปนจานชนวนทาย(Percussion cap) ท่ีมาแทนหินเหล็กไฟ (Flint) ในย่ีสิบหาปแรกของศตวรรษท่ี 19มีขอเสียจากสะเก็ดดินปน และเศษโลหะท่ีฟุงสูหนาของผูยิงเมื่อนกปนสับลงชางทําปนชาวเยอรมัน โจฮัน นิโคลัส วอน ไดรซ (Johann Nikolaus von Dreyse)ไดเสนอใหใชวิธีการน้ีแทนคือ ใสดินจุดระเบิดตอจากกระสุนปน และจุดการเผาไหมของดินปนดวยเข็มแทงชนวนที่ยาวพอที่จะทะลุผานกระดาษหุมดินปน(Cartridge paper) และดนิ ปน เดิมไดรซใชชุดดินปนแบบปลอดภัยนี้ในชวงตน ๆ ในปนลํากลองเรียบบรรจุกระสุนที่ปากลํากลอง ที่กองทัพปรัสเซียนําไปใชจํานวนเล็กนอยในป 1833(พ.ศ.2376) ปนแบบใชเข็มแทงชนวนรุนแรก ๆ เหลาน้ีมีอันตรายในการบรรจุโดยจะล่ันกอนเวลาถากระแทกชุดดินปนในกระดาษหุมเขากับเข็มแทงชนวนนอกจากนี้ แกสจากดนิ ปน ยังกดั กรอ นเขม็ แทงชนวนอยางรวดเร็ว และการเปล่ียนเข็มแทงชนวนท่ีหักทําไดยาก ซึ่งคําตอบที่เห็นไดชัดเจนคือการพัฒนากลไกการบรรจุทายรังเพลิง ท้ังนี้ อาวุธท่ีใชในการกีฬาไดใชระบบดังกลาวมาหลายปแลวแตแบบทีใ่ ชยงั ชํารุดงายหรอื ซบั ซอ นเกินไปสําหรบั การใชท างทหาร 15 เร่ืองเดียวกัน (ibid.) หนา 77-90, และ Rolf Wirtgen, DasZündnadelgewehr: Eine militärtechnische Revolution im 19.Jahrhundret (Herford, 1991); Heinrich von Loebell’s contemporaryaccount, Des Zündnadelgewehrs Geschichte und Konkurrenten(Berlin, 1867), ยังคงใชไดดี. โชวอลเทอร

175 ส่ิงท่ีทําใหไดรซเดินหนาตอไปคือ ความสัมพันธบรรดานายทหารของกรมทหารสนใจในศักยภาพของปนแบบของไดรซ และท่ีเหนือกวาสิ่งอ่ืนใดมกุฎราชกุมารซ่ึงจะเปนพระเจาเฟร็ดเดอริก วิลเลียม ท่ี 4 ในอนาคต และพระอนุชาเจาชายวิลเลียม ไดสนับสนุนโดยตรงตอการดําเนินการของไดรซถาไมมีเรอ่ื งสวนตัวดังกลา วและแรงผลักดันของเชอ้ื พระวงศท ี่ไดรับเอาปน แบบบรรจุทางปากลํากลอ งแบบเดิมทไี่ ดรซสรา งไมกีร่ อ ยกระบอกไปใชป นแบบมีเข็มแทงชนวนก็อาจเปนเพียงแคการอางอิงที่สวนลางของหนากระดาษของประวัติศาสตรทหารเหมือนปนเล็กยาวของฮอล (Hall) ในสมัยเดียวกันของอเมริกา แตไดรซสามารถทําได โดยในป 1836 (พ.ศ.2379) ไดเสนอแบบปนท่ีบรรจุกระสุนที่ทายลํากลองที่สามารถใชการไดเพ่ือการพิจารณา คือ ปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวบรรจุทายรงั เพลงิ 1516 เปนเวลาสี่ปท่ีกองทัพไดทดสอบปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียว ในเรื่องความแมนยํา, ความเช่ือถือได และความทนทานภายใตทุกสภาพท่ีเปนไปไดหนึ่งในการอวดประสิทธิภาพของปนแบบใชเข็มแทงชนวน บอกวา ดวยทหาร 60,000 นายท่ีใชอาวุธปนน้ี กษัตริยแหงปรัสเซียจะสามารถกําหนดแนวเขตแดนของพระองคไดแตเพยี งฝา ยเดยี ว คณะกรรมการทดสอบท่เี ปนทางการไดยกยอง ปนชนิดน้ีวาเปนเหมือนของขวัญของพระเจา และเสนอวาตองเก็บไวเปนความลับ จนกวาจะถึง“หวงเวลาทย่ี ิง่ ใหญข องประวัตศิ าสตร”1617 ปนแบบใชเขม็ แทงชนวน 60,000 กระบอกท่ีสั่งเม่ือ 4 ธ.ค.1840 (พ.ศ.2383) ไดถูกเก็บไวในคลังสรรพาวุธตาง ๆ จนเพียงพอที่จะจายใหท้งั กองทัพหรอื จนกวาจะเกิดเหตุฉกุ เฉนิ ทส่ี ําคัญ แลวแตว า จะเกิดเหตุการณใ ดกอน 16 สําหรับคําอธิบายท่ีชัดเจนของหนึ่งในการทดสอบของไดรซ ดู SigurdRabe, Das Zündnadelgewehr greift an (Leipzig, 1938), หนา 23-6. 17 Werner Eckardt and Otto Morawietz, Die Handwaffen desbrandenburgisch-preussisch-deutschen Heeres, 1640-1945 (Hamburg,1957), หนา 104-05. การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารของปรัสเซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

176 ปนแบบบรรจุทายลํากลองของไดรซ ผสมผสานอัตราการยิงท่ีสูงกวาปนคาบศิลาแบบลํากลองเรียบ กับความแมนยําของปนแบบลํากลองเกลียวผูใชปนน้ีสามารถบรรจุกระสุนใหมและทําการยิงแบบนอนยิงได ซึ่งเปนขอดีย่ิงสําหรับหนวยระวังปองกัน ปนแบบบรรจุทายลํากลองยังขจัดอันตรายของการกระแทกของดินปน ทด่ี านบนของอกี นัดหนงึ่ ในกรณีท่ีกระสุนนัดน้ันดาน และทหารก็ไมตองมีฟนในจํานวนและตําแหนงที่กําหนดสําหรับกัดดินปนท่ีจะบรรจุอีกตอไป แตก็ยังมีขอสงสัยอยูในกองทัพปรัสเซีย ปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียว เปนอาวุธแมนยําระยะไกลท่ีใชโดยกลุมคนชั้นยอดที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ คือ นายพราน (Jäger – เยเกอร)โดยกวาหลายทศวรรษที่กลุมคนเหลาน้ีไดพัฒนาปนในแบบของตนท่ีเรียกวา ภูมิปญญา“ทองแนบพ้ืน (Gravel-belly)”1718 ซึ่งนายพราน (Jäger) ตองการปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวที่สามารถยิงเปาหมายเล็ก ๆ ไดในระยะ 1,000 กาว ข้ึนไป แตการเผาไหมจากดานหนามาดานหลังของดินปน ในกระดาษหุมท่ีใชเข็มแทงชนวน จํากัดระยะหวังผลลงเหลือดีที่สุดเพียง 700 กาว นอกจากนี้ ยังใหวิถีกระสุนไมแนนอนท่ีลดผลการยิงแมแตข องพลแมนปนที่ดีที่สุด สําหรับทหารราบปรัสเซียที่เหลือ ความตองการเปนพิเศษในวินยั การยิงเปนอุปสรรคสําคัญตอการยอมรับปนแบบใชเข็มแทงชนวน ความกลัวที่จะนําอาวุธปนหนึ่ง ๆ มาใช เน่ืองจากใชกระสุนมากเกินไป เปนเร่ืองนาหัวเราะในตอนตนศตวรรษที่ 21 นายทหารเหลารบหลายนายรูวา การสงกําลังบํารุงเปนเหมือนเร่ืองศักด์ิสิทธ์ิ โดยแครองขอผานวิทยุ ก็ทําใหสิ่งอุปกรณตาง ๆปรากฏมาจากสวรรค ! แตในสภาพของกลางศตวรรษท่ี 19 จะเปนเรื่องยุงยากถาไมสามารถเพิ่มเติมลังกระสุนไดสม่ําเสมอในสนามรบ ความงายในการใชงานของปนแบบเข็มแทงชนวนดูเหมือน จะทําใหเกิดปฏิกิริยาอัตโนมัติในการบรรจุ และเหนี่ยวไกที่อาจจบลงดวยกระสุนท่ีหมดไปอยางรวดเร็วจนนากลัวเม่ือลังกระสุนวา งเปลาเรียกสติใหพลยงิ ตระหนกั ถงึ ความเปน จริง 18 วลีนี้เปนหัวขอหลักของ William Hallahan, Misfire: The History ofHow America’s Small Arms Have Failed our Military (New York, 1994). โชวอลเทอร

177 การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของป 1848 (พ.ศ.2391) ทําใหกองทัพปรัสเซียตองเปลี่ยนจากทฤษฎี ไปเปนการปฏิบัติ โดยการโจมตีคลังสรรพาวุธเบอรลินเม่ือ15 มิ.ย. ทําใหอาวุธปนท่ีปรัสเซียเก็บเปนความลับ อยางระมัดระวังจํานวนหน่ึงตกไปอยูในมือของพวกกบฏ กองทัพปรัสเซียจึงไดแจกจายปนเหลาน้ีแกหนวยตาง ๆท่ีปฏิบัตกิ ารตอ ตานการกบฏ และปนแบบเข็มแทงชนวนนี้ก็ไดพิสูจนซ้ําแลวซํ้าเลาถึงคุณคาของปนน้ี ทั้งการสูรบบนถนนและสนามรบกลางแจง ซ่ึงคุณสมบัติที่ดีของปนน้ีคือขวัญกําลังใจและความเชื่อมั่น โดยแมแตทหารท่ีไมมีประสบการณที่ติดอาวุธดวยปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวใหมนี้ ก็เช่ือม่ันอยางยิ่งในพลานุภาพที่เหนือกวาของปนนี้ และโดยการเพิ่มศักยภาพของตัวทหารเอง ในป 1851(พ.ศ.2394) รัฐบาลส่ังใหใชปนแบบบรรจุทายลํากลองของไดรซ เพื่อสนองความตอ งการในอนาคตทั้งหมดสาํ หรบั อาวุธ ขนาดเล็กของทหารราบ การปฏบิ ัตกิ ารทจ่ี ํากัดของป 1848-49 (พ.ศ.2391-92) แสดงถึงความสาํ คญัของการฝก ซึ่งทหารที่ใชปนแบบเข็มแทงชนวนมักจะเริ่มยิงในระยะที่ไกลเกินและยิงไปเกือบจะเปะปะ อํานาจการยิงของปนยาวแบบลํากลองเกลียวใหมน้ียังแสดงใหเห็นปญหาลึก ๆ ตอกองทัพปรัสเซีย คือการรุกทางยุทธวิธีท่ีตองเผชิญกับอาวุธสมัยใหมตาง ๆ เชน ปนใหญที่ยิงกระสุนระเบิดท่ีสาดสะเก็ด และปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของมิน่ี (Minié) ที่ไกลถึง 1,000 หลา ท่ีกองทัพตา ง ๆ ของยุโรปเร่มิ นํามาใชในป 1850 (พ.ศ.2393)1819 19 โดยท่ัวไป ดู Georg Ortenburg, Waffen und Waffengebrauch imZeit der Einigungkriege (Koblenz, 1990),; Paddy Griffith, Forward intoBattle: Fighting Tactics from Waterloo to the Near Future (Novato,CA, rev. e., 1991), หนา 62-6; และขอคิดเห็นที่ดีเย่ียมใน Hew Strachan,European Armies and the Conduct of War (London, 1983), หนา 111-24. การปฏิวตั ใิ นกิจการทหารของปรัสเซีย-เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

178 ผลของการเพมิ่ ขึน้ อยางทวคี ูณของพื้นที่สังหารและอํานาจสังหารที่ไดแสดงใหเห็นในไครเมียในป 1854 (พ.ศ.2397) และทางตอนเหนือของอิตาลีในป 1859 (พ.ศ.2402)สรางความพายแพแกกองทัพปรัสเซีย ในลักษณะท่ีแตกตางอยางสําคัญจากคูกรณีของตน หลักฐานที่มีทั้งหมดชี้วากรมทหารประจําการตาง ๆ ของปรัสเซียซ่ึงไมตองพูดถึงกําลังปองกันชาติ (Landwehr) อาจไรความสามารถในการเคลอื่ นยา ยทางยทุ ธวธิ ที ซ่ี บั ซอ น โดยเฉพาะในชวงตน ๆ ของสงคราม ซึ่งการรบท่ีรูปขบวนมีการกระจายระยะออกไปตอปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวสมัยใหมอาจพิสูจนเปนอยางดีวาเปนส่ิงที่เกินกวาความชํานาญการของกําลังสํารองและโดยเฉพาะกําลังปองกันชาติ (Landwehr) การหลีกเล่ียงการยิงระยะไกล และการเขาใกลขาศึกเขาไปอีกหนึ่งในสี่โดยเร็วเทาที่จะสามารถทําไดดูเหมือนเปน คลน่ื การเปลย่ี นแปลงแหงอนาคต หรอื อยางนอยที่สุดก็เปน ทางเลือกทแี่ นใจทีส่ ุด1920 การขาดศรัทธาของประชาชนทั่วไปในการรับราชการทหารตามที่ไดกลาวไปแลว เปนขอโตแยงท่ีเขาใจไดตอภาพท่ีเปนจริงของการโจมตีอยางเรงรีบทหารปรัสเซียที่รวมในการปฏิบัติการดังกลาว นาจะไมไดผานการฝกมาเปนอยางดีหรือมีวินัยท่ีดี จริง ๆ แลวทหารเหลาน้ีอาจบุกตะลุยเหมือนกับหลุดจากนรกดวยความดีใจช่ัวคราว แตไมมีใครสามารถคาดลวงหนาไดถึงทิศทางและระยะเวลาของการเคลื่อนไหวของทหารเหลาน้ี หรือคิดวาทหารเหลานี้หลายนายจะมีชีวิตอยูไดนานเพียงพอท่ีจะหลบหนี นอกจากนี้ กองทัพปรัสเซียยังไมสามารถวางพ้นื ฐานหลกั นยิ มและการฝก เกยี่ วกับยทุ ธวิธีในการตั้งรับของตน ตามหลักการแลวเปนสงิ่ ดีท่ดี งึ ขา ศกึ ใหเคลอื่ นท่ีเขาสูการโจมตี แตในทางปฏิบัติสุดทายแลวทหารราบปรัสเซียก็ตองรุกเขาสูอํานาจการยิงสมัยใหม ปญหาไมใชวารัสเซียจะสามารถ 20 ดู “Das gezogene Gewehr als Hauptwaffe der Infantrerie,”Allgemeine Militärische Zeitung (1856). Nos. 25-32; และ PrinceFriedrich Charles, Eine Militärische Denkschrift (über die Kampfweiseder Franzosen) (Frankfurt a. M., 1860). โชวอลเทอร

179รุกไดหรือไม แตอยูท่ีวาจะรุกอยางไรโดยไมสูญเสียมาก และจะปลุกเราทหารใหโจมตคี รงั้ ทส่ี องหรือสามไดอยา งไร2021 กองทพั ปรสั เซยี ไดท ดสอบรูปขบวนหนากระดานที่กระจายระยะออกจากกันที่จัดออกเปนหมูเล็ก ๆ ภายใตการควบคุมโดยตรงของนายทหารชั้นประทวนขบวนแถวตอนกองรอยที่มีทหาร 250 นาย ไดมาทดแทนกองพันที่มีทหารจํานวนมากเพิ่มขึ้นในระหวางการฝกภาคสนาม กองทัพปรัสเซียคาดหวังวากองรอยตาง ๆ จะชดเชยความคลองตัวและอํานาจการยิงที่ขาดจํานวนคนที่มากไป2122แตนวัตกรรมเหลานี้ทั้งหมดก็ทําใหเห็นถึงปญหาเชิงโครงสราง ผูฝกของกองทัพตองพบกับความยุงยากท่ีเปนอุปสรรคในการดําเนินวิธีการใหม ๆ เหลาน้ี วินัยการยิง,ความเปน ปก แผน ของหนว ย, และการควบคุมสนามรบยังคงไมเพียงพอ ดวยคําวิจารณในป 1850 (พ.ศ.2493) ซึ่งเปนพวกปฏิกิริยาท่ีไมเปดเผยช่ือทั้งหมด โดยตั้งขอสงสัยวา 21สถานการณที่มีทางเลือกท่ีอันตรายทั้งสองทางนี้ไดกลาวไวอยางดีในขอเขียนของ Helmuth von Moltke เสนาธิการของปรัสเซียในป 1857 ดู“Bemerkungen von 12. Juli 1858 über Veränderungen in der Taktikinfole der verbesserten Infanteriegewehrs,” und “Bemerkungen vom5. Januar 1860 zu einem Bericht des Oberstleutnant Ollech über dieFranzösische Armee,” ใน Militärische Werke, II. Abt., Die Thaetigkeitals Chefs der Generalstabes der Armee im Frieden, 3 vols. (Berlin,1892-1906), หนา 7, 16-24 ของเขา. 22 ดู Franz Georg von Waldersee, Die Methode zurkriegsgemässen Ausbildung der Infanterie und ihrer Führer imFelddienste (Berlin, 1861); “Das System der Compagnie-Colonne alsGrundlage der Eleementärtaktik,” Allgemeine Militär-Zeitung (1861),No. 5; and the army’s green book,” Allerhöchsten verordnungenüber den grossen Truppenübungen (Berlin, 1861). การปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

180ปนเลก็ ยาวแบบลาํ กลองเกลียวบรรจุกระสนุ ทที่ า ยรงั เพลิง อาจนาํ ปรสั เซียไปสูหายนะทางทหารหรือไม2223 การซอมรบประจําปของกองทัพปรัสเซีย ซึ่งไมไดเรื่องกลายเปนเรอ่ื งตลกที่นาอาย ผูสังเกตการณชาวฝรงั่ เศสผหู นง่ึ กลาววา เปนการปฏิบัติท่แี ยม ากจนไมสามารถยอมรับไดใ นความเปน กองทัพอาชีพ2324 เปนที่ชัดเจนวาปนแบบเข็มแทงชนวนเองไมสามารถเปนจุดเปล่ียนของการปฏิวัติการทหารได ทางเลือกรองท่ีเปนไปไดจะตองใชนวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึนที่ใหโอกาสทางยุทธศาสตรและยุทธการมากกวาทางยุทธวิธีทางรถไฟไดปรากฏในปรัสเซียคร้ังแรกในตนป 1830 (พ.ศ.2373) ซ่ึงผูสนับสนุนเชน ฟร๊ีดริค ฮารคอรท(Friedrich Harkort) และลูดอลฟ แคมเพาเซน (Ludolf Camphausen)ไดเรียกรองสําหรับศักยภาพทางทหารของการขนสงดวยเครื่องจักรไอนํ้าซึง่ ปฏิกริ ยิ าข้ันแรกของกองทพั เปนไปทางบวกมากกวาที่เคยรูจักมา2425 แตบรรดาผูวางแผนและนกั วิจารณกก็ ลวั วารางรถไฟอาจเอ้อื ตอการรุกของขาศึก และเตือนถึงการยกเลิกการกอสรางเครือขายถนนบดอัดความเร็วสูงเพ่ือรับนวัตกรรมใหมและท่ีไมเคยไดทดลองใชความสามารถในการบรรทุกท่ีจํากัดของทางรถไฟในชวงแรก ๆ 23 ดูตัวอยางของ Eduard Pönitz, “Zum Zündnadelgewehr,”Allgemeine Militär-Zeitung (1856), Nos. 33-4; และ Paul Sauer, “DasWürttembergischen Heer in der Zeit des Deutschen Bundes,”Dissertation, Freiburg University, 1956, หนา 260-1. 24 อางใน Werner Bigge, Feldmarschall Graf Moltke. EinMilitärisches Lebensbils, 2 vols. (Munich, 1901), vol. 2, หนา 106. 25 Brose, The Politics of Technological Change in Prussia, หนา 224-8,ปรับแก Showalter, Railroads and Riffles, หนา 24-35, ในประเด็นที่เกี่ยวของJames M. Brophy, Capitalism, Politics, and Railroads in Prussia, 1830-1870(Columbus, OH, 1998) ไดเสนอการวิเคราะห ที่เนนถึงการทวีศักยภาพเพิ่มข้ึนระหวา งการดําเนินการของภาคราชการ และเอกชน. โชวอลเทอร

181ยังจํากัดความสามารถท่ีจะเคลื่อนยายกําลังพลและยุทโธปกรณอยางย่ิง เวนแตในปริมาณเล็กนอย จนปลายป 1836 (พ.ศ.2379) ไดมีเอกสารฉบับหนึ่งท่ีแสดงอยางแนนอนวากองทัพนอยปรัสเซียเต็มกําลัง 1 กองทัพนอย สามารถเคลื่อนยายดวยเทาในระยะทางหน่ึงไดในเวลา 16 วัน แตอาจใชเวลาถึง 20 วัน โดยทางรถไฟ2526นอกจากนี้ รางรถไฟยังไมสงผลที่เปนไปไดท่ีสําคัญตอนโยบายของรัฐ เฮอรมานน วอนโบเยน(Hermann von Boyen) ผูมีชื่อเสียงในยุค ปฏิรูปซ่ึงไดรับการแตงตั้งกลับมาเปนรัฐมนตรีกระทรวงสงคราม (War minister) ในป 1841 (พ.ศ.2384)เช่ือม่ันวาการใชรางรถไฟอยางกวางขวางอาจทําใหแผนการระดมกําลังตองพ่ึงพาเครื่องจักรกลและไมออน ตัวอยางไมปลอดภัย โดยกองทัพปรัสเซียอาจพบวาตนเองมงุ ไปผดิ ทางและรัฐถกู บบี ใหเ ขาสูส งคราม ดวยตารางเวลาของรางรถไฟ2627 แมวาจะเปนการเพ่ิมแรงกดดันทางทหารในการสรางความเปนชาติหรือการใหเงินสนับสนุนทางรถไฟ หรืออยางนอยท่ีสุดก็เพ่ือใหบริษัทเอกชนปฏิบัติตามความตองการทางทหารในกรณีเฉพาะ ซ่ึงปจจัยทางการคาจะเปนขอพิจารณาหลักสําหรับระบบรางและเสนทางตาง ๆ ของปรัสเซีย แมแตทางรถไฟสายตะวันออก(Ostbahn - ออสทบาหน) ท่ีสรางหลังป 1848 (พ.ศ.2391) ดวยงบประมาณของรฐั บาลเปนระยะทาง 600 กม. จากเบอรลินไปยังชายแดนรัสเซีย ก็ตอบสนองวัตถุประสงคทางเศรษฐกิจและการเมืองมากกวาดานยุทธศาสตร2728 อยางไรก็ตามการเพิ่มขึ้นของระยะทางรถไฟและการพัฒนาเพ่ิมขึ้นอยางสม่ําเสมอของรางรถไฟและรถบรรทุกสินคา (Rolling stock) ของเสนทางขนสงเอกชน ไดเพิ่มศักยภาพทางทหารของระบบทางรถไฟอยางยิ่ง ระหวางการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของป 1848 (พ.ศ.2391)ระบบทางรถไฟอํานวยใหกองทัพปรัสเซีย สามารถเคลื่อนยายกําลังตอบโตเคล่ือนที่เร็ว 26 Über die militärische Benutzung der Eisenbahnen (Berlin, 1836). 27 Meinecke, Boyen, vol. 2, หนา 530-4. 28 ดู Brose, The Politics of Technological Change in Prussia, หนา230-45, และ Showalter, Railroads and Rifles, หนา 28-35. การปฏวิ ตั ิในกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

182สองสามกองพันไปยังจุดท่ีเกิดปญหาหรือที่นาจะเกิดปญหา ในฤดูใบไมผลิป 1850(พ.ศ.2393) เสนาธิการกองทัพนอยที่ 8 ที่มีฐานท่ีต้ังอยูท่ี ไรนแลนด (Rhineland)ไดใชระบบทางรถไฟในพ้ืนที่ในการฝกภาคสนาม ใน พ.ค.1850 (พ.ศ.2393)เมื่อความสัมพันธกับออสเตรีย ไดเลวรายลงเร่ือย ๆ ทําใหปรัสเซียออกคําสั่งระดมกําลังกองทัพปรัสเซียไดเรียกกําลังพลเกือบคร่ึงลานเขาประจําการ โดยคาดวาระบบทางรถไฟจะสามารถเคลือ่ นยา ย กาํ ลังพลเหลา น้ี ไปยงั แนวรบได ปรัสเซียเจตนาทําการซอมรบตามท่ีสืบทอดกันมาเพื่อเปนการปองปรามโดยการแสดงกําลังที่จะ ทําใหออสเตรียปรับตําแหนงของตนแทนที่จะเพิ่มกําลังซึ่งผลดังกลาวไดเปล่ียนแปลงไปมาระหวาง เร่ืองวิบัติ (Tragedy) กับเร่ืองขบขัน(Farce) ไมมีแผนการท่ีสําคัญสําหรับการใชระบบรางรถไฟที่มีอยู การบรรทุกและการทําตารางเวลาเปนไปอยางไรการวางแผน และบอยคร้ังที่ยุทโธปกรณจะพลัดกับหนวยที่เปนเจาของกําลังพล, สัตว, และสิ่งอุปกรณตาง ๆ กองอยูท่ีศูนยขนถายและถูกขนสงตามบุญตามกรรม จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหน่ึงอาหาร, นํ้า และสิ่งอํานวยความสะดวกดานพลานามัยขาดแคลนทั้งหมด ความสับสนของปรัสเซียตรงกันขามอยางยิ่งกับการเคล่ือนยายกําลังพลของออสเตรีย 25,000 นายท่ีคอนขางปราศจากปญหาเขาสูโบฮีเมียดวยรถไฟ ภายในไมถึงสี่สัปดาห ซึ่งเปนความสําเร็จท่ีตองจดจําไปอีกนานท่ีสามารถกลาวไดวาเปน “ช่ัวโมงแรกเกิดของการขนสงทางทหารสมัยใหม (The birth hour of modern military transportation)”2829 29 Julius von der Osten-Sacken, Preussens Heer von seinenAnfängen bis zur Gegenwart, 3 vols. (Berlin, 1911-13), vol. 2, หนา320-1, 370-1, และ Hermann Rahne, Moblimachung (Berlin, 1983), หนา16-18 สรุปความลมเหลวอยางสิ้นเชิงที่เกิดขึ้น ในเหตุการณความขัดแยงท่ีOlmütz ดู Hans Julius Schoeps, Von Olmütz nach Dresden1850/1851: Ein Beitrag zur Geschichte der Reformen am DeutschenBund (Cologne, 1970) และ Roy Austensen, “The Making of Austria’s โชวอลเทอร

183 ผลตามมาของความลมเหลวในป 1850 (พ.ศ.2393) เสนาธิการของปรัสเซียไดเร่ิมพัฒนาระบบ สําหรับการขนสงขนาดใหญในการขนสงกําลังพลและส่ิงอุปกรณตาง ๆ ดวยรถไฟ แตความเชื่อม่ันตามแนวความคิดของผูมีประสบการณยังคงเชื่อวาระบบรางรถไฟเปนเครื่องมือตั้งรับที่จะเสริมพื้นท่ีที่ถูกคุกคามและรักษาการคมนาคมระหวางปอมคายตาง ๆ ท่ีดูสําคัญตอความปลอดภัยของปรัสเซียระบบรางรถไฟ ไดเปนสวนหนึ่งของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ในป 1857(พ.ศ.2400) เมือ่ เฮลมุสท วอน มอลทเ ก (Helmuth von Moltke) เปนเสนาธกิ าร โดยรว มกบั ผูรวมสมยั ท่เี พิม่ ข้นึ จํานวนหนง่ึ มอลทเกไ ดข อสรุป 3 ประการเก่ียวกับระบบรางรถไฟ การใชท่ไี ดผลสาํ หรบั วัตถปุ ระสงคท างทหารตองมีการวางแผนโดยละเอียดเก่ียวกับขอบเขตและขนาด ซ่ึงไมเคยมีมากอนในประวัติศาสตรปรัสเซียความตองการที่จะนํากําลังท่ีใหญท่ีสุดไปยังชุมทางรถไฟท่ีใหญที่สุด ทําใหเกิดความเสี่ยงทางการสงกําลังบํารุงเชนกัน การขนสงดวยมาท่ีเชื่อมตอสิ่งอุปกรณตาง ๆที่ขนสงดวยรถไฟ ดวยลังกระสุน, ถุงสะพาย (Haversacks), และกระเปาแขวน(Nosebag) ของหนวยตาง ๆ ในแนวหนา จะจํากัดสําหรับสงกําลังแกกําลังพล30,000 นาย หรือมากกวา ดวยถนนหลักเพียงเสนเดียว หรือสําหรับการเดินทัพของกองทัพที่มีกําลัง 100,000 นาย แตละนิ้วท่ีเคล่ือนท่ีผานภูมิประเทศตองใชทางดิน และทางวัวเดินทุกเสนทางท่ีสามารถใชได เพ่ือเคลื่อนยายอาหารและอาหารสัตว แลวแตสถานการณ สรุปแลว จุดที่มักถูกมองขามโดยผูที่ตองการปฏิวัตใิ นกิจการทหาร (RMA) ในสมยั นัน้ คอื เครื่องจักรกล ไดสรางกฎเฉพาะข้ึนPrussian Policy, 1848-1852,” The Historical Journal 27 (1984), หนา861-76 Quotation: Joachim Niemeyer, Das österreichischeMilitärwesen im Umbrunch: Untersuchungen zum Kriegsbildzwischen 1830 und 1866 (Oansbrück, 1979), หนา 162. การปฏวิ ัติในกิจการทหารของปรัสเซยี -เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

184การเรียกรองถึงความรักชาติและการขูลงโทษ เปนเร่ืองไรประโยชนเม่ือเพลารถหรือหองเพลาเกดิ ชาํ รดุ และเสนทางตาง ๆ ทําใหเ กดิ ผลทไี่ มพงึ ปรารถนาทางยทุ ธการ2930 ปจจัยตาง ๆ เหลาน้ีผสมผสานกันทําใหการคิดคํานวณและการเตรียมการเปน กุญแจสาํ คัญตอ การใชร ะบบรางรถไฟที่สาํ เร็จผลในสงคราม กองทัพปรัสเซียของปลายป 1850 (พ.ศ.2393) แทบจะไมมีความสามารถในการบริหารการเกณฑกําลังและการรวบรวมกําลังของตนโดยพันธมิตรทูทอนนิค (Teutonic:ชาวยุโรปภาคเหนือ (ไดแกเยอรมัน, ดัทซ, สแกนดิเนเวียน, อังกฤษ)) ตอวัฒนธรรมชาติของฝรั่งเศส ในการพัฒนาอยางมุงมั่นใน “Système D (ระบบพัฒนา)”ซึ่งปรัสเซียตองใชการดําเนินการที่ไดเปรียบทุกทางท่ีมันสมองที่ดีที่สุดของตนจะสามารถทําใหไดมา เสนาธิการของปรัสเซียไดจัดทําแผนข้ันตนมาตั้งแตกอนสงครามป 1806 (พ.ศ.2349) แตก็ไมมีใครมีความคิดที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทหรืออํานาจหนาท่ีของแผนดังกลาว หลังจากสงครามวอเตอรลู กองทัพปรัสเซียไดจัดทําแผนงานอยางเปนทางการ แตขอบเขตที่มีผลและการควบคุมยังคงจํากัดการจัดทําแผนที่, การวาดภาพการรบ (War-gaming) และ การศึกษาคนควาทางประวัตศิ าสตร เปน เรือ่ งสัพเพเหระทุกวันของการปฏิบัติประจําของเสนาธิการซึ่งกองทัพเพียงแคพัฒนาใหเปนรูปแบบสมัยใหมในการตอบสนองตอเทคโนโลยีระบบรางรถไฟเทาน้ัน เสนาธิการกองทัพปรัสเซียดังกลาวไดเร่ิมเดินแผนการใชผูชํานาญการ(Technocratic road) โดยปรับปรุงหนวยงานหลักหนวยหน่ึงของตน เพื่อดําเนินการ 30 ดู Michael Salewski, “Moltke, Schlieffen, und die Eisenbahn,”ใน Roand G. Forester, ed., Generalfeldmarschall von Moltke:Bedeutung und Wirkung (Munich, 1992), หนา 89-102, และ “1869Instructions for Large Unit Commanders,” ของมอลทเก (Moltke) ในDaniel J. Hughes, ed., Moltke on the Art of War (Novato, CA, 1993),หนา 171-224. โชวอลเทอร

185ตอการระดมกําลังและการสรางรางรถไฟ ซึ่งตั้งแตนั้นมาการวางแผนก็ไดข้ึนอยูกับเครื่องจักรกล คําส่ังระดมกําลังจะถูกสงโดยโทรเลข ซึ่งลดเวลาแจงจาก 5 วันเหลือ 1 วัน การจัดต้ังตาง ๆ ยังคงเหมือนเดิม โดยแตละขบวนรถไฟจะบรรทุก1 กองพันทหารราบ กองพันทหารมา หรือกองรอยปนใหญ จากจุดบรรทุกขั้นตนไปยังปลายทางสุดทาย การบรรทุกและการถายลงจากตูรถไฟ กลายเปนสวนหน่ึงของตารางการฝก ของกองทพั ในชวงตนฤดูรอนของป 1859 (พ.ศ.2402) กองทัพนอยปรัสเซียที่ 5 ไดสําเร็จการฝกระดมกําลังใน 29 วัน ซึ่งเปนความสําเร็จไมใชนอยท่ีไดถูกกําหนดใหเขาพ้ืนที่ในโพเซน (Posen) ซ่ึงเปนเมืองทางตะวันออกที่ไมมีเครือขายการคมนาคม ระบบทางรถไฟตาง ๆ ของปรัสเซียผานการทดสอบการดําเนินการที่สําคัญคร้ังแรกในป 1864 (พ.ศ.2407) ในการรบกับเดนมารกเม่ือสามารถเคลื่อนยายกําลังสวนใหญที่ออกปฏิบัติการ อยางไดผลไปยังชเลสวิก-โฮลสไตน (Schelswig-Holstein), สงกําลังบํารุงตอกําลังดังกลาว และนํากําลังกลับบา นหลงั จากไดช ัยชนะ3031 ความทาทายในป 1866 (พ.ศ.2409) ยิ่งซับซอนมากขึ้น ปรัสเซียทําการรบในสงคราม 7 สัปดาห ในยุทธบริเวณที่แยกหางจากกันอยางมาก คือ โบฮีเมียและเยอรมันตอนกลาง ออสเตรยี ไดเรม่ิ ระดมกําลังและ รวมกําลังหลายสัปดาหกอนปรัสเซียและมีโอกาสสูงที่ฝรั่งเศสจะเขาแทรกแซง แตปรัสเซียถือไพเหนือกวา คือ มีทางรถไฟหาเสนทางไปยังยุทธบริเวณหลักของสงครามมอลทเก และหนวยรองตาง ๆใชเสนทางเหลานี้เพื่อเคลื่อนยาย สวนใหญของกองทัพไปยัง โบฮีเมียในไมถึงหนึ่งเดือนและสง กาํ ลงั บํารุงแกกองทพั ดาํ เนินกลยุทธท่ีอยู แยกกันสามกองทัพ ขณะเคล่ือนไปขา งหนา เพ่ือรวมกาํ ลัง ณ สนามรบท่ีโคนกิ เกรทซ (Königgrätz) ใน 3 ก.ค.3132 31 ดู Arden Bucholz, Moltke, Schlieffen and Prussian War Planning(New York, 1991), หนา 21-44; Showalter, Railroads and Rifles, หนา 42-51;และ Rahne, Mobilmachung, หนา 24-45. 32 Dennis E. Showalter, “Mass Multiplied by Impulsion: การปฏิวตั ใิ นกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

186 เหตุการณใ นป 1870 (พ.ศ.2413) ก็ดาํ เนินในลักษณะคลายกนั ตอนปลายป 1867 (พ.ศ.2410) กองทัพสหพันธรัฐเยอรมันเหนือ (North German Confederation)ตองใชเวลามากกวา 1 เดือน เพ่ือรวมกําลังทางตะวันตก สําหรับสงครามท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนกับฝร่ังเศส จนป 1870 (พ.ศ.2413) แผนการเคล่ือนยายที่ไดรับการปรับปรุงอยางตอเน่ืองไดลดเวลาลงเหลือ 20 วัน เม่ือนําไปใชในตอนเริ่มสงครามแผนการน้ีดําเนินการไปไดอยางราบรื่น ซึ่งอัลเบร็ชท วอน รูน (Albrecht von Roon)รัฐมนตรกี ระทรวงสงครามไดเ ปรยดว ยความเบิกบานใจวา ตนมงี านท่ีตองทํานอยมาก!ซึ่งการรวมกําลังทางยุทธศาสตร ท่ีรวดเร็วและมีการจัดการท่ีดีทําใหกําลังของปรัสเซียมีขอไดเปรียบขั้นตนที่เด็ดขาดตอกองทัพฝร่ังเศส ซึ่งในแนวทางของตนอยางนอยท่สี ุดก็ทันสมัยเทา ขาศึกของตน3233 การปรับตัวของกองทัพปรัสเซียตอระบบทางรถไฟเปนตัวอยางหน่ึงของสิ่งที่กลายเปนที่รูจักกันวา “กระบวนการของบอยด (Boyd cycle)” ซึ่งเปนความสามารถในการวิเคราะห, ตัดสินใจ และดําเนินการท่ีเร็วกวาฝายตรงกันขาม3334มอลทเกเดินหนาครั้งท่ีสองในการแสดงใหขาศึกของปรัสเซียเห็นถึงนวัตกรรมตาง ๆที่ขา ศึกเหลา น้นั ไมสามารถปรบั ตัวไดท นั เวลาที่จะไมใ หป รัสเซียกําหนดวิถีของสงครามไดThe Influence of Railroads on Prussian Planning for the SevenWeeks’ War,” Military Affair 38 (1974), หนา 62-2. 33 Rahne, Mobilmachung, หนา 51-66, และ Wolfgang Petter, “DieLogistik des deutschen Heers im deutsch-französischen Krieg von1870-1871,” ใน Militärgeschichliches Forschungsamt, Die Bedeutungder logistic für die Militärische Führung von der Antike bis in dieNeuzeit (Bon, 1986), หนา 109-33. 34 “Observation, orientation, decision, action”: ดู Barry D. Watts,the Foundations of U.S. Air Doctrine: The Problem of Friction in War(Maxwell Air Force Base, AL, 1984), หนา 114-15 และ 127 note 45. โชวอลเทอร

187ออสเตรียคาดหวงั วา จะชนะสงครามของตนในสนามรบ แตความสอดคลองในการวิจัยและพัฒนาดานยุทธศาสตรกลับจํากัด ออสเตรียใชจายเงินไปมากกับปอมปราการแมไมไดใชส้ินเปลืองไปกับเงินตอบแทนและ ตําแหนงที่ไมคุมคาตาง ๆ สําหรับนายทหารสัญญาบัตรท่ีอวนฉุ และการบริหารจัดการทางทหารท่ีไรประสิทธิภาพฝร่งั เศสมรี ถไฟบรรทุกสนิ คามากกวา และเสน ทางรถไฟคูม ากกวา สหพันธรัฐเยอรมันเหนอื(North German Confederation) รถไฟของฝรั่งเศสเร็วกวาและสิ่งอํานวยความสะดวกในการบรรทุกก็ใหญกวา การเขามามีสวนเกี่ยวของอยางกวางขวางของรัฐบาลในการสรางระบบรถไฟ ประกันถึงระดับความสนใจในการพิจารณาดานยุทธศาสตรท่ีสูงกวาในปรัสเซียเปนอยางมาก แตสิ่งท่ีขาดไปก็คือ แนวคิดในการใชขอไดเปรียบเหลานอ้ี ยางไดผล ฝรั่งเศสมุงม่ันมาต้ังแตป 1820 (พ.ศ.2363) เพื่อทําสงครามต้ังแตเร่ิมและคาดเก่ียวกับการสงกําลังบํารุงและการธุรการของกองทัพเยอรมันและญ่ีปุนของสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 วา เปน เร่อื งของภาคราชการ ไมใชของกําลังรบ ฝร่ังเศสและออสเตรียเปนผูกําหนดพลังอํานาจทางทหารของยุโรปในชวงศตวรรษกลาง(Mid-century) ซ่ึงการไมสามารถคาดการณหรือตอบโตวิธีการดําเนินการเฉพาะของปรัสเซียตอการสงคราม ดวยระบบทางรถไฟทําใหเห็นลักษณะและขนาดของการปฏวิ ัตใิ นกิจการทหาร (RMA) ของปรสั เซีย3435 35 ดู Geoffrey Wawro, The Austro-Prussian War; Austria’s Warwith Prussia and Italy in 1866 (Cambridge, 1996), หนา 25-35; ThomasJ. Adriance, The Last Gaiter Button: A Study of the Mobilization andConcentration of the French Army in the War of 1870 (Westport, CT,1987); และ Richard Holmes, The Road to Sedan: The French Army,1866-1870 (London, 1984). การปฏิวตั ิในกิจการทหารของปรัสเซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

188 การประมวลภาพรวมของปรัสเซยี : มอลทเ ก (Moltke) และรนู (Roon) ป 1860 (พ.ศ.2403) องคประกอบดานเทคโนโลยีของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ไดปรากฏขึ้นอยางชัดเจนในกองทัพปรัสเซียระบบทางรถไฟสามารถเคล่ือนยายกําลังพลและส่ิงอุปกรณตาง ๆ ไดเร็วกวาและในปริมาณที่มากกวาเปนทวีคูณมากกวาระบบการขนสงทางบกใด ๆในประวัติศาสตรของมนุษยชาติ ปนแบบเข็มแทงชนวนระยะยิงปานกลางบรรจุทายรังเพลิงท่ียิงไดรวดเร็ว ก็เหมือนกับ ปนเล็กยาวลํากลองเกลียว (Rifle)จูโจมสมัยใหมที่เหนือกวาอยางมากตอปนแบบลํากลองเรียบท่ีถูกทดแทนหรือปนมิน่ี (Miniés) ท่ีรวมสมัยกับปนดังกลาว แตนวัตกรรมเหลาน้ีก็ยังคงอยูในกรอบการปฏิบัติที่สืบทอดกันมา การปฏิวัติในกิจการทหารของปรัสเซียกาวไปสูขั้นที่สองเฉพาะเม่ือมอลทเกเริ่มการพัฒนากรอบแนวคิดทางยุทธศาสตรและทางยุทธการใหม และรูน (Roon) เริ่มเปลี่ยนแปลงโครงสรางของกองทัพเพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพของยุทโธปกรณใ หมน้ี ปจจัยสองประการที่มีอิทธิพลตอทัศนะของมอลทเกในการวางแผนเชิงยุทธศาสตร มอลทเก ตระหนักถึงความตองการของปรัสเซียตอสงครามท่ีสั้นและเดด็ ขาด ซึง่ เรือ่ งนแ้ี ทบจะไมไดเปนภาพการมองเดิม โดยยอนหลงั ไปอยางนอยถงึ ยคุ ของพระเจา เฟร็ดเดอริกมหาราช คารล วอน เคลาสวิทซ ไดกลาวมา ต้ังแตป1820 (พ.ศ.2363) วาสงครามจาํ กัดไมใชการลดระดับของ “สงครามเบ็ดเสร็จ(Absolute war)” ตามแนวคิดของคานท (Kantian ideal) ที่ปรากฏในสงครามตาง ๆของการปฏิวัติและจักรวรรดิ แตเปนรูปแบบท่ีมีผลในแบบของตนเอง คือความรุนแรงทีถ่ กู แสดงออกมามากกวา การทูตที่ถูกแทนท่ี แนวทางหนึ่งที่มุงเนนทางยุทธศาสตรตอการควบคุมและการจํากัดที่สอดคลองอยางย่ิงตอระบบการทหารต้ังแตทศวรรษแรกของศตวรรษ ไดเนนถึงความสําคญั ของการศกึ ษา หลงั สงครามปรสั เซียป 1815 (พ.ศ.2358) การศึกษาไดกลายเปนเปาหมายหลักท่ีจะเขาสูการบังคับบัญชาระดับสูง ระหวางสงครามวอเตอรลูและโคนิคเกรทซ (Königgrätz) กระทรวงสงครามและเสนาธิการกองทัพปรัสเซีย โชวอลเทอร

189ไดจัดต้ังหนวยตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือการบมเพาะเทพธิดาแหงสงคราม(Bellona - เบลโลนา) ซ่ึงเปนการจัดหนวยในการใชทรัพยากรที่มีจํากัดของปรัสเซียอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุดสําหรับเหตุฉุกเฉินจํานวนมากที่สุดโดยไมล ดเสถยี รภาพของสังคมทก่ี องทัพไดรบั การจดั ตง้ั ขนึ้ เพอื่ รับใช มอลทเกเ ช่อื วา การตัดสนิ ใจอยางรวดเร็วท่ีจําเปนสําหรับปรัสเซียนาจะเปนในชวงตน ๆ ของสงคราม ซ่ึงจะบรรลุไดดีท่ีสุดดวยการครองความริเร่ิม และบังคับใหฝายตรงกันขามปฏิบัติตามการเคล่ือนไหวของปรัสเซีย แตสนามรบเองก็ใหมุมมองท่ีจํากัดเพ่ิมข้ึนในการตัดสินใจ โดยเฉพาะเม่ือไดรูธรรมชาติของกองทัพปรัสเซีย การโจมตีทางปกและการโอบที่มอลทเกเห็นวา เปนการโตตอบท่ีดีท่ีสุดตออํานาจการยิงสมัยใหม เปนความตองการทางยุทธวิธี นโปเลียนไดแสดงซํ้าแลวซ้ําเลาถึงการใชการดําเนินกลยุทธ แตกองทัพในแบบปรัสเซียไมนาจะเหมาะสมกับทักษะของทหารที่มีประสบการณของนโปเลียน หรือแมแตฝร่ังเศสและออสเตรียในยุคเดียวกัน ดังนั้น การดําเนินกลยุทธจึงตองเร่ิมข้ึนกอนเริม่ สงคราม ซ่งึ การโอบปก เปน ปญหาทางยทุ ธศาสตรปญหาหน่ึง ระบบทางรถไฟเปนการตัดสินใจดําเนินการในกรอบแนวคิดนี้ ปรัสเซียวางทางรถไฟโดยไมมีพรมแดนตามธรรมชาติทามกลางเพ่ือนบานที่เปนปรปกษท่ีทรงอํานาจและมีศักยภาพ ซ่ึงเวลาเปนส่ิงสําคัญย่ิง ระบบรถไฟสามารถซ้ือเวลาไดสามารถชดเชยภูมิประเทศ สามารถสรางแนวทางใหมเพ่ือรวมกําลัง โดยสงกําลังออกปฏิบัติการพรอมกันไปยังพื้นท่ีท่ีแยกหางจากกันอยางกวางขวางนอกยุทธบริเวณท่ีวางแผนไว จากนั้นก็เคลื่อนยายกําลังเหลาน้ี มุงหนาเขาดินแดนขาศึกแผนการรุกของมอลทเ ก ตอ งอาศยั เสนทางที่วางไวตามหลักยุทธศาสตรเปนอยางมากเสนทางการคาที่มีไมคอยเหมาะสมท่ีจะตอบโตตอการรุก โดยจะไมปลอยใหขาศึกทาํ การรุกตอชุมทางรถไฟท่ีสําคญั ๆ ของปรัสเซยี การวางแผนของมอลทเกสอดคลองอยางยิ่งกับภาพการมองของออตโตวอน บ๊ิสมารค (Otto von Bismarck) ซึ่งตอมาไดเปนนายกรัฐมนตรีของปรัสเซียในป 1862 (พ.ศ.2405) บรรดานักประวัติศาสตร ไดก ลาวบอ ยคร้งั และเหมาะสมวา การปฏิวตั ิในกิจการทหารของปรัสเซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

190บส๊ิ มารค เปน นักการสงครามในคณะรฐั มนตรี (Cabinet warrior) คนสุดทายของยุโรปแตความตองการท่ีจะใชตัวแกปญหาของความเปนเสรีนิยมและชาตินิยมซึ่งดวยวาทศิลปท่ีเย่ียมยอดของบิ๊สมารค นายกรัฐมนตรีประธานาธิบดีของปรัสเซียตระหนักดวี า สงครามตา ง ๆ ยอ มจบลงดวยการเจรจา บิ๊สมารค ยนื ยนั ตอความเช่ือที่วามีหนทางเลือกท่ีเปดอยูเสมอ ซ่ึงเปนที่รูและยอมรับกันโดยทั่วไปวามอลทเกยึดม่ันในหลักการน้ี มอลทเกยืนยันวาขอพิจารณาตาง ๆ ทางทหาร ตองพิจารณาถึงการปฏิบัติการสงคราม ซึ่งขัดแยงรุนแรงและบอยคร้ังกับบิ๊สมารคในป 1866(พ.ศ.2409) และ 1870-71 (พ.ศ.2413-14) แตเขาก็ยังยึดมั่นในความเช่ือที่ม่ันคงวา หลังจากชัยชนะ ทหารตอ งยอมออนขอ ตอ นกั การเมือง3536 ในการดําเนินการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของปรัสเซียยังเกี่ยวของกับการดําเนินการใหทหารเขากันไดกับอาวุธและยุทธวิธีตาง ๆ ในป 1858 (พ.ศ.2401)กอนการแตงตั้งเปนรัฐมนตรีกระทรวงสงครามของตน รูน (Roon) ไดเสนอ 36 ดู Dennis E, Showalter, “German Grand Strategy: AContradiction in Term?,” Militärgeschichtliche Mitteilungen 48 (1990),หนา 65-102, และ “The Retaming of Bellona: Prussia and theInstitutionalization of the Napoeonic Legacy,” Military Affairs 44(1980), หนา 57-63; Michael Salewski, “Krieg und Frieden im DenkenBismarcks und Moltkes,” ใน Forester, ed., Generalfeldmarschall vonMoltke, หนา 67-88 สําหรับทั่วไป ดู Eberhard Kessel, Moltke (Stuttgart,1957) และ Rudolf Stadelmann, Moltke und der Staat (Krefeld, 1950)สําหรบั แนวทางของ Bismarck ตอนโยบายตางประเทศในป 1860 (พ.ศ.2403) ดูOtto Pflanze, Bismarck and the Development of Germany, 3 vols.(Princeton, NJ, 1990), vol. 1 Eberhard Kolb, Der Weg aus dem Kreig:Bismarcks Politik im Kreig und die Friedensahnbahnung 1870/71(Munich, 1990) ใหกรณีศึกษาท่ดี เี ย่ียม. โชวอลเทอร

191หนังสือเรียกรองสําหรับกองทัพปรัสเซียแบบใหมท่ีรวมถึงคุณสมบัติท่ีดีท่ีสืบทอดมาของปรัสเซีย คือ อํานาจกําลังรบท่ีสูงและตนทุนต่ํา ซ่ึงสิ่งน้ีเปนการปรับวงรอบเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงหนวยกําลังปองกันชาติ (Landwehr) ท่ีมีอยูสวนใหญไปเปนหนวยทหารประจําการและบรรจุในตําแหนงตาง ๆ โดยการเพิ่มจํานวนทหารท่ีเกณฑเขา ซึ่งการเกณฑพลในแตละปจะเพิ่มข้ึนจาก 40,000 นาย เปนกวา60,000 นาย ซึ่งตัวเลขน้ียังนอยกวาคร่ึงหน่ึงของชายฉกรรจที่มีอยูตามการคาดคะเนแตการเพิ่มอัตราการเกณฑจากรอยละ 26 เปนรอยละ 40 จะทําใหการเกณฑน้ีไมใชการสุมท่ีผูท่ีจะตองถูกเกณฑเขาใจ รูน (Roon) กําหนดระยะเวลาการประจําการในกองทัพ 3 ป โดยเริ่มตนที่อายุ 20 ป และเปนกองหนุนอีก 4 ป เพ่ือใหหนวยทีก่ ําหนดมีอัตราพรอ มที่จะออกปฏิบัติการสนามเมื่อมีการระดมกําลัง เฉพาะหลังจากครบระยะเวลา 7 ป ดังกลาวแลว ทหารท่ีอายุ 20 ปลาย ๆ ก็จะเปลี่ยนไปเปนกําลังปองกันชาติ (Landwehr) ที่มีภารกิจหลักในการดูแล และรักษาที่ตั้งของหนวยตาง ๆ ในป 1859 (พ.ศ.2402) กษัตริยนักรบองคใหม กษัตริยวิลเฮม(Wilhelm) ที่ 1 ไดใหโอกาสรูน (Roon) ดําเนินการตามขอเสนอของเขาซึ่งบรรดาผูสนับสนุนกลาววา การปลดภาระของกําลังปองกันชาติ (Landwehr)จากภารกิจดานยุทธการในแนวหนาท่ีไมสามารถดําเนินการไดอีกตอไปโดยชัดเจนไมไดมีอะไรมากไปกวาการมอบหมายภาระของการสงครามไปใหแกผูท่ีเหมาะสมคือ ผูที่หนุมท่ีสุด สมบูรณที่สุด และเปนภาระตอความรับผิดชอบของพลเรือนนอยท่ีสุด กองทัพระบุวาการเขาประจําการ 3 ป เปนความจําเปนท่ีจะสรางความแมนปน, วินัยในการยิง และการตอบสนองโดยทันทีตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงซึ่งเปนความสําคัญของทหารสมัยใหม โดยเฉพาะผูที่ถือปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวบรรจุทายรังเพลิง และจะตองทําการรบเปนชุดขนาดเล็กและรูปขบวนรบท่ีกระจายจากกัน นอกจากการลดคาใชจายลงอยางมากแลวยังอางเหตุผลเกี่ยวกับวัตถุประสงคของการเขาประจําการ 3 ป ก็เพ่ือการปลูกฝงความรูเก่ียวกบั หลกั การดา นการทหารและแนวคิดเชงิ อนุรักษแกบรรดาทหารหนุม การปฏวิ ตั ิในกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

192สวนผูสนับสนุนการเพ่ิมจํานวนปเห็นดวยวา 2 ป ก็มากเกินพอท่ีจะฝกอบรมพ้ืนฐานของการปฏิบัติ ซ่ึงมอลทเกเองไดกลาววาภารกิจในเรื่องตาง ๆ ดังกลาวตองการเวลาไมเกิน 2 เดือน แตเวลา 2 ป สําหรับกองทัพก็เปนคําตอบที่ดีรองลงไปสามารถยอมรับไดเฉพาะเมื่อถึงที่สุดเมื่อไดพยายามข้ันสุดทายกับรัฐสภาเวลาการฝกที่ลดลงอาจทําใหสูญเสียเลือดเน้ือเม่ือปนใหญนัดตอไปคํารามขึ้นและทหารของปรัสเซียไมใชทหารรับจาง แตทหารเหลานี้เปนบุตรของรัฐและชีวติ ของทหารเหลานก้ี ็มคี ายิ่ง3637 บรรดาผูรวมสมัยและนักประวัติศาสตรโตแยงอยางกวางขวางวาประเด็นดังกลาวเปนเหมือนการตบตา (Window-dressing) สําหรับเปาหมายแฝงของการบมเพาะ“การเช่ือฟงแบบไรความคิด (Corpse-obedience)” (Kadavergehorsam -คาดาเวอรโกฮอรซัม) ในการเกณฑที่เปนการคุมคาท่ีจะเนนย้ําถึงการไมมีขอโตแยงดังกลาวจากบทความของนักวิชาการเกี่ยวกับการปฏิรูปท่ีเสนอของรูน(Roon) ซึ่งกรณีการคัดคานก็มักจะเปนที่นาสงสัย แตก็มีเหตุผลที่จะคาดถึงสวนเกี่ยวของของสังคมที่เปนไปไดในระยะยาวของการเขาเปนทหารประจําการวาเปนขอพิจารณาเพิ่มเติมหรือไม ซ่ึงเปนขอพิจารณารองที่มีเจตนาเพ่ือเรียกรองการอนุรักษนิยมไมวาดวยวิธีใด ๆ ท่ีตอบสนองอยางกวางขวางดวยการปฏิรูปที่รวมถึงผลท่ีจะเกิดขึ้นตอบรรดานายทหารท่ีอาจตองเพ่ิมมากข้ึนเกินกวาขอจํากัดของความสามารถของระบอบการปกครองโดยชนชั้นสูง (Aristocracy) 37ความแตกตา งทีส่ าํ คญั มากประการหนง่ึ ในประวตั ศิ าสตรเยอรมันสมยั ใหมคือ การศึกษาการปฏิรูป ของ Roon จากสถาบันการศึกษา ไมใชมุมมองทางการเมืองหรืออุดมคติ ซ่ึงมุมมองท่ัวไปท่ีดีท่ีสุด คือ Messerschmidt, “Diepolitische Geschichte der preussisch-deutschen Armee,” และ EdgarGraf von Matuschke and Wolfgang Petter, “Organizationsgeschichteder Streitkräfte,” ใน Handbuch der deutschen Militärgeschichte, vol. 4,part 2, หนา 177-83 และ 319-22. โชวอลเทอร

193เพื่อจัดหานายทหารระดับรอยตรีรอยโท และแดพระมหากษัตริย ซึ่งทรงมีความเด็ดเดี่ยว ในประเดน็ การเพิม่ ระยะเวลา 3 ป3738 สําหรับนายทหารสัญญาบัตรตาง ๆ นักปฏิรูปกลาววามือสมัครเลนจะไมสามารถบังคับบัญชาสนามรบสมัยใหมไดอีกตอไป โดยเฉพาะในระดับกองรอยซ่ึงนายทหารของกําลังปองกันชาติ (Landwehr) สวนใหญรวมอยู, ชํานาญการในยุทธวิธีเล็ก ๆ, อานภูมิประเทศได และสามารถปฏิบัติตามความริเริ่มของตนซึ่งตองประกอบดวยความกลาหาญและความศรัทธาดวยความมุงม่ันที่สุดในโลกไมมีใครที่จะสามารถมีคุณสมบัติเหลาน้ีไดในวันหยุดของสัปดาห แตตองการการอุทศิ ตนเตม็ เวลาและส่ิงท่ีในรุน ตอ ๆ ไป เรียกวา ความเปนทหารอาชีพ3839 การถกเถียงอยางเขมขนเก่ียวกับเรื่องท่ีเสนอ ทําใหเกิดวิกฤตการณรัฐธรรมนูญท่ียาวนาน ซ่ึงนําบ๊ิสมารคเขาสูอํานาจและมีแนวโนมที่จะกลบเกลื่อนความจริงที่วา รัฐสภาปรัสเซียแทบจะไมแสดงขอคิดเห็นขัดแยงการปฏิรูปเองแนวคิดของกลุมหัวรุนแรง (Jacobin - จาโคแบง) เก่ียวกับความสัมพันธท่ีจําเปนระหวางพลเมืองกบั การเขาประจําการเปนทหารมีอิทธิพลตอกลุมเสรีนิยม (Liberal)ตาง ๆ ที่ควบคุมสภาลางของปรัสเซีย กลุมเหลาน้ียังรวมในความเปนชาตินิยมเยอรมันที่ไดดําเนินการมาอยางยาวนาน ที่ใหปรัสเซียแสดงบทบาทท่ีเด็ดขาดในการรวมชาติเยอรมัน ซ่ึงเปนภารกิจที่ตองใชกองทัพท่ีทรงอานุภาพสถานภาพของกําลังปองกันชาติ (Landwehr) และการเขาประจําการเปนเวลา 3 ป ซึ่งครอบงํา 38 ดตู วั อยา งคําแถลงเม่อื 7 ม.ค. 1860 ใน Militärische Schriften KaiserWilhelms der Grossen Majestät, 2 vols. in 1 (Berlin, 1897), หนา 320-1. 39 ในประเด็นน้ีดู Michael Geyer, “The Past as Future: TheGerman Officer corps as a Profession,” ใน Geoffrey Cocks and KonradH. Jarausch, eds., German Professions, 1800-1950 (New York, 1990),หนา 183-212, และ Steven E. Clemente, For King and Kaiser: TheMaking of the German Officer Corps, 1860-1914 (Wesport, CT, 1992). การปฏวิ ัติในกิจการทหารของปรัสเซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

194การวิพากษวิจารณทางการเมืองและหนังสือพิมพตาง ๆ เปนเพียงแคสิ่งลวงตาเทานั้นประเด็นสําคัญ ก็คือ ใครเปนนาย คือ กษัตริยหรือรัฐสภาท่ีจะควบคุมกองทัพที่เกิดจากการปรับการจัดใหมที่เร่ิมในป 1860 (พ.ศ.2403) และดําเนินตอไป แมวาหลงั จากทรี่ ฐั สภาจะปฏิเสธการจา ยงบประมาณ กลมุ เสรนี ยิ ม (Liberal) ซงึ่ เช่อื มนั่ วาพวกตนจะเปนตอ เต็มใจโดยพรอมกันท่ีจะใหโอกาสแกทหารท่ีจะผูกบวงแขวนคอตนเองในทายท่ีสดุ 3940 การปฏิรูปของรูน (Roon) ไมไดเปนการเร่ิมการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติในปรัสเซีย หรือสรางดุลอํานาจของยุโรป การดําเนินการของกองทัพปรัสเซียในยามสงบไดเพ่ิมนายทหารมากกวา 65,000 นาย และทหารรวม 211,000 นายแตกําลังพลเพื่อการทําสงครามไดเพิ่มข้ึนอยางเงียบ ๆ จาก 335,000 นาย เปน368,000 นาย ซ่ึงไมเดนชัดพอท่ีจะสงสัญญาณเตือนชาติอ่ืน ๆ ในผืนแผนดินใหญของยุโรป ท่ีจริงแลวการเพ่ิมกําลังทหารในขั้นตนดูเหมือนวาจะทําใหสถานการณความไมพอใจเลวรายลง ตัวอยางเชน ในการดําเนินกลยุทธของป 1861 (พ.ศ.2404)บรรดานายทหารอาวโุ สยังคงใชรูปขบวนท่ีมีกําลงั จาํ นวนมาก ในการเขาตีตรงหนาโดยไมสนใจลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศและยทุ ธวิธีการดาํ เนนิ กลยุทธ และถึงแมจะมี“แรงกดดัน” จากบุคคลสําคัญเชนมกุฎราชกุมาร นายทหารกลุมเดียวกันนี้ก็ยังไดทาํ ความผดิ พลาด เชน เดียวกันในอีกสองปตอมา4041 40 Rolf Helfert, Der preussische Liberalismus und die Heeresreformvon 1860 (Bonn, 1989) และ “Die Taktik Preussischer Liberaler von1858 bis 1862,” Militärgeschichtliche Mitteilungen 53 (1994), หนา 33-48เปนบทวิเคราะหท ่ีดที ่ีสุดในประเดน็ เหลานี้ แมจ ะไมไดเ จาะ ในรายละเอยี ด. 41 ดู “Die preussische Infanterie,” Allgemeine Militär-Zeitung (1861),No. 46, และ Friedrich Wilhelm III, Tagebücher, ed. H. O. Meissner(Leipzig, 1929), หนา 109-10, 214-15. โชวอลเทอร

195 แตในระดับกรม กองทัพปรัสเซียไดเร่ิมเรียนรูถึงวิธีใชปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวและโตตอบตออํานาจการยิงของขาศึก กําลังท่ีออกปฏิบัติการท่ีสงยังชเลสวิก - โฮลสต(Schleswig-Holstein) ในป 1864 (พ.ศ.2407) ไดออกจากเมฆหมอกของวาทกรรมเกี่ยวกับการตอสูดวยดาบปลายปนและการตอสูดวยมือเปลาในทางปฏิบัตินายทหารของปรัสเซียต้ังแตนายพลเจาชายเฟร็ดเดอริก ชารลส(Frederick Charles) ลงไป ไดสังเกตการใชยุทธวิธีท่ีทําลายขวัญโดยพันธมิตรออสเตรียของตนและไดสรุปวาเปนวิธีการแหงหายนะ หรืออยางนอยที่สุดก็สําหรับการสูญเสียท่ียอมรับไมได ปรัสเซียคอยท่ีจะใหกองทัพเดนมารกรุกเขามาและครั้งแลว ครงั้ เลาทปี่ นแบบเขม็ แทงชนวนท่ีแมจะอยใู นมือของทหารที่สับสนหรือไมไดรับการฝก มาอยางดี ไดเปลี่ยนการโจมตีของเดนมารกไปเปนการฝกยิงเปา(Target practice)4142 จดุ ออ นทางยุทธวธิ ียังคงมอี ยู รูปขบวนแถวตอนกองรอยผสมกับรูปขบวนที่กระจายออกไป (Skirmish line) ทําใหยากที่จะควบคุมในการโจมตี ซ่ึงยากจนนายทหารบางนายยังคงสนับสนุนรูปขบวนชิดกันระดับกองพันตอไป แตแรงผลักดันตอความคิดภายในกองทัพก็ยอมรับเหตุผลที่วา การฝกและวินัยสามารถชดเชยการกระจายระยะท่ีเกิดจากอาวุธปนแบบลํากลองเกลียว ซึ่งจริง ๆ แลว กองทัพปรัสเซียมีทางเลือกนอยมาก กลุมเสรีนิยม (Liberal) ของปรัสเซียยอมแพอยางไมมีทางเลือกในการพยายามควบคุมของรัฐ และรอคอยท่ีบิ๊สมารค, รูน และมอลทเกจะสรางหายนะท่ีจะทําใหรัฐบาลตองละทิ้งจุดยืนในการใชอํานาจเบ็ดเสร็จของตนหรือเส่ียงตอการถูกทําลาย ทหารอาชีพของปรัสเซียไดปกจุดยืนของตนในสังคมปรัสเซียและตําแหนงระหวางประเทศของรัฐของตน ในความสามารถท่ีจะพัฒนากองทัพที่ใชการเกณฑทหารเพื่อเอาชนะสงครามสมัยใหม ไมหลั่งเลือดอนุรักษนิยมของปรสั เซยี (Prussia white) 42 Showalter, Railroads and Rifles, หนา 113-16. การปฏวิ ตั ใิ นกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

196 ป 1866 (พ.ศ.2409) เปนทั้งการทดสอบและจุดเปลี่ยนของยุคที่สองของการปฏิรปู เพือ่ ตอตา นกองทัพออสเตรียที่โจมตีดวยกําลังเปนกลุมกอน ดวยดาบปลายปนในรูปขบวนชิดกัน นายทหารระดับสูง เชน เฟร็ดเดอริค ชารลส (FrederickCharles) ใหคําแนะนําวา นายทหารตองลงจากหลังมา และกําลังพลนอนราบทําการยิงทหารออสเตรียโดยทําการเล็งอยางดี 5 หรือ 6 นัด แลวโตตอบตอขาศึกใด ๆ ท่ียังยืนอยู4243 ตั้งแตวันแรก ๆ ของการยุทธแตกหักในโบฮีเมียคําแนะนํางาย ๆ ท่ีชัดเจนเหลานี้ไดปูทางไปสูชัยชนะ ที่พอด็อล (Podol) เมื่อ26 มิ.ย. กองรอยของปรัสเซียกองรอยเดียวยิงกระสุนไป 5,700 นัด เฉลี่ยคนละ22 นัด ใน 33 นาที ระหวางการรบปะทะที่ทําใหออสเตรียสูญเสียกําลังพล1,000 นาย จาก 3,000 นาย ท่ีสงเขาทําการรบ สวนปรัสเซียสูญเสียจํานวน130 นาย วันตอมาท่ีนาคอด (Nachod) กองทัพนอยที่ 5 ของ ปรัสเซีย ทําการรบกับกองทัพนอยท่ี 6 ของออสเตรีย ในการตอสูกันอีกเหตุการณหน่ึง ระหวาง“เปากับพลแมนปน (Target against marksman)” สําหรับการสูญเสียท่ีนอยกวา1,200 นาย กองทัพนอยท่ี 5 สรางความสูญเสีย มากกวา 5,600 นาย รวมกับอีกหลายนายท่ียอมแพแทนที่จะเส่ียงที่จะพยายามถอนตัว ภายใตการยิงดวยปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของปรัสเซีย เมื่อ 28 มิ.ย. อีกกองทัพนอยหนึ่งของออสเตรียสูญเสียทหาร 5,500 นาย ในการเขาตีท่ีไรประโยชนตอกําลังของปรัสเซียท่ีเปนรองบริเวณหมูบานสกาลิทส (Skalitz) และเมื่อทหารราบปรัสเซียโจมตีหรือตีโตตอบทหารออสเตรีย ที่ผานการฝกมาไมดีทําการยิงในอัตราท่ีสูงเกินไปหรือชาเกินไป โดยตลอดเพ่ือหยุดรูปขบวนตอสูและรูปขบวนแถวตอนกองรอยท่ีเคลอื่ นทรี่ กุ หนา คลายกับฝูงตัวตอ 43 “Eigine Winke für die unter meine Befehle ins Feldrückenden Truppen,” ใน Graf Gottlieb von Haeseler, Zehn Jahre imStabe des Prinzen Friedrich Karl: Erinnerungen, 3 vols. (Berlin, 1910-15),III, หนา 22-32. โชวอลเทอร

197 ลุดวิก วอน เบเนเด็ค (Ludwig von Benedek) ผูบัญชาการกองทัพตอนเหนือของออสเตรียตกตะลึงกับการสูญเสียที่สูงถึงรอยละ 50 ในบางกรม จึงออกคําสั่งหามทหารราบโจมตีโดยไมมีการยิงเตรียมของปนใหญ พลปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของปรัสเซียทําการยิงโตตอบซํ้า ๆ ตอรูปขบวนของออสเตรียท่ีโอหังอยางงายดาย ทหารปรัสเซียจับเชลยไดเปนรอย ๆ นายท่ีตกตลึงแตกขบวนดวยหากระสุนจากปนแบบเข็มแทงชนวน คําเลาลือของชัยชนะไดแพรกระจายจากกรมหนงึ่ ไปยงั อกี กรมหนึง่ สงผลตอขวัญและกาํ ลงั ใจ การรบท่ีโคนิคเกรทซ (Königgrätz) เม่ือ 3 ก.ค. เปนจุดสูงสุดของปนแบบ เข็มแทงชนวนท่ีกลางลําดบั การโจมตีของออสเตรียตอปาท่ีปรัสเซียยึดครองอยูซ่ึงไดสรางฉากควันกําบังโดยไมมีปกหรือดานหลัง เปนการตอสูระหวางแสกระทุงดนิ ปน และดาบปลายปนกับลูกเล่ือนของปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียว หนวยตาง ๆของปรัสเซียกระจายออกเปนกลุม ๆ ควบคุมดวยผูท่ีทําตัวเปนตัวอยาง แตทหารเกณฑท้ังประจําการและกําลังสํารองเช่ือมั่นในนายทหาร และปนเล็กยาวแบบลํากลอ งเกลียวของตนตั้งแตตนจนจบ ออสเตรียใชกําลัง 49 กองพัน ทําการรบในสวนนี้ ซ่ึงปนแบบเข็มแทงชนวนในมือของผูท่ีมีความอันตราย สามารถสังหารหรือสรางความสับสนของทหารได 28 นาย บรรดานายทหารของออสเตรียไดจัดรวมกําลังมากกวา 13 นาย แตผูที่รอดชีวิตก็ขวัญเสียมากจนไรประโยชนในที่สุดทั้งน้ี เพียงกองพลเดียวของปรัสเซียซึ่งมีกําลัง 12 กองพัน ไดสรางความสูญเสียหายมากที่สุดดังกลา ว ออสเตรียทุมความสนใจของตนอยางมากตอแนวตรงกลางของตนจนไมสามารถตรวจพบภัยคุกคามที่มากกวาจากทางเหนือ จนกระท่ังสายเกินไปประมาณ 14.30 น. สวนตาง ๆ ของกองทัพที่สองของปรัสเซียไดโจมตีปกของกองทัพราชวงศฮับสบูรก (Habsburg) โดยมีการตานทานเล็กนอยเหมือนการ เปนรองของกองทัพนอยของสโตนวอลล แจคสัน (Stonewall Jackson) ที่แชนเซลเลอรสวิลล(Chancellorsville) แตจํานวนกําลังก็สําคัญนอยกวการจูโจมกองรอยตาง ๆ ของปรัสเซียใชขอไดเปรียบของตนไม (Standing grain), ภูมิประเทศที่ไมราบเรียบ การปฏิวัตใิ นกิจการทหารของปรสั เซยี -เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

198และหมอกควันกําบังท่ีหนา เพื่อสังหารออสเตรียในแนวหมอกควัน การยิงดวยปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของปรัสเซีย ทําใหที่ต้ังยิงปนใหญของออสเตรียไมส ามารถอยไู ดในไมก นี่ าที กองรอยตาง ๆ ของปรสั เซยี จงึ ไมไ ดถกู รบกวนท่ีจะจัดรูปขบวนหนากระดานกอนเปดการยิง เพื่อทําลายการโจมตีของทหารมาออสเตรียทหารออสเตรียไดตีโตตอบบนหลังมาอีกคร้ังหนึ่ง หลังการตีโตตอบที่รุนแรงแตทหารปรัสเซียก็ยึดท่ีมั่นไวและใชงานลูกเล่ือนปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของตนจนกระท่งั ในทส่ี ดุ ทหารออสเตรยี ทร่ี อดชีวิตไดห นีจากสนามรบไป4344 การบรรลุจดุ สงู สุดและการตอบสนอง: 1870-71 (พ.ศ.2413-14) และหลงั จากน้นั โดยทันทีหลังการรบท่ีโคนิกเกรทซ (Königgrätz) ผูเขียนบันทึกและผูสังเกตการณตาง ๆ ท้ังสองฝายประกาศวา ปนแบบเข็มแทงชนวนเปนหัวใจสําคัญตอชัยชนะของปรัสเซีย ซึ่งกองทัพปรัสเซียโตแยงเชิงประชดโดยรวดเร็วโดยอยางนอยก็เพ่ือใหรับรูกันท่ัวไป กองทัพท่ีไดรับชัยชนะของป 1866 (พ.ศ.2409)ท่ีคร้ังหน่ึงเปนสัญลักษณสําคัญของคุณสมบัติท่ีดีดานการทหารของปรัสเซีย และสวนที่สาํ คญั สว นหนง่ึ ของสหพันธรัฐเยอรมันเหนือ (North German Confederation) ใหมแนวทางท่ีดีแนวทางหนึ่งที่จะผสมผสาน และหลอหลอมวิธีการตาง ๆ ของปรัสเซียแกบรรดาดินแดนที่ถูกผนวกเขากับปรัสเซียหลังสงคราม และรัฐตาง ๆของสหพันธรัฐเยอรมันเหนือใหม คือ การเนนถึงคุณคาของพลเมืองของตนในการฐานะทหาร การมอบกองทัพท่ีไดรับชัยชนะของป 1866 (พ.ศ.2409) ของรัฐบาลในฐานะผูสืบทอดมรดกโดยชอบธรรมของ “การลุกขึ้นของประชาชน” ในป 1813-15 44 Showalter, Railroads and Rifles, หนา 125-39, และ Wawro,Austro-Prussian War, หนา 124-273 เปนคําอธิบายในทางยุทธวิธีท่ีมีรายละเอียดท่ีสุด Quotation: Alfred von Schlieffen, “Cannae,” GesammeltenSchriften, vol. 1 (Berlin, 1913), หนา 101. โชวอลเทอร

199(พ.ศ.2356-58) เพื่อตอตานนโปเลียน โดยการเกณฑจากพลเมืองเขาสูเคร่ืองแบบท่ีปฏิบัติหนาที่ผูรักชาติของตนอํานวยตอการยอมรับของรัฐสภาปรัสเซียตอขอเสนอของบส๊ิ มารค ทจ่ี ะยุติวิกฤตการณร ัฐธรรมนญู 4445 ดังนั้น ทหารของปรัสเซียจึงไดรับการยกยองสําหรับชัยชนะ ไมใชอาวุธนอกจากน้ี ขอพิจารณาทางทหารยังมีผลตอการเปล่ียนแปลงหลังป 1866(พ.ศ.2409) จากการมุงเนนที่อาวุธยุทโธปกรณ มอลทเกใหความสําคัญตอการรวมกาํ ลังในการเผชิญกับขาศึก คือ “แยกกันเดิน รวมกันตี (March divided,fight united)” ซึ่งตองใชกองทัพที่ประกอบดวยหนวยตาง ๆ ท่ีมีคุณภาพเทาเทียมกันอยางมาก ซึ่งเปนไปไมไดที่จะแนใจลวงหนาวาทหารจะสามารถเผชญิ กบั แรงบีบคัน้ สงู สุดหรือแสดงบทบาทช้ีขาด ซึ่งแมแต นโปเลียนเองก็ไมไดใชหนวยรักษาพระองคของตนใหไดประโยชนสูงสุดเสมอไป นอกจากนี้ กองทัพสหพันธรัฐเยอรมันเหนือ (North German Confederation) หลังป 1866 (พ.ศ.2409)มีกําลังเพื่อทําสงครามในแนวหนามากกวา 550,000 นาย รวมกับทหารประจําคายตาง ๆ, กําลังสํารอง และกําลัง ปองกันชาติ (Landwehr) อีก 400,000 นายเดิมที่มีกองทัพนอย 9 กองทัพนอย ของกองทัพปรัสเซียของ ป 1866 (พ.ศ.2409)ปรัสเซียมี 13 กองทัพนอย กับอีก 1 กองพลอิสระ ซ่ึงการขยายกําลังน้ีใหญกวาการเพิ่มกําลังเดิมของป 1866 (พ.ศ.2409) อยางมาก และทําใหตองใหความสําคัญตอบสนองตอไปตอวิธีการฝกและหลักนิยมทั่วไป ในทุกระดับต้ังแตเสนาธิการไปจนถึงกองรอยปนเลก็ 4546 45 Karl Georg Faber, “Realpolitik als Ideologie: Die Bedeutungdes Jahres 1866 für das politische Denken in Deutschland,”Historische Zeitschrift 203 (1966), หนา 1-45 เปนสรุปทั่วไปท่ีมีประโยชนเกี่ยวกับสถานการณวิกฤตดานจริยธรรม และการเมืองที่กลุมเสรีนิยม (Liberals)ปรสั เซยี เผชญิ ในป 1866 (พ.ศ.2404). 46 ดู “Instructions for Large Unit Commanders,” และ Klaus- การปฏิวัติในกิจการทหารของปรสั เซยี -เยอรมนั 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

200 เหนือส่ิงอื่นใด โอกาสที่สรางข้ึนโดยขอไดเปรียบทางเทคนิคท่ีชัดเจนท่ีสุดของปรสั เซียก็ไดเร่ิมท่ีจะปดลง ปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียวของไดรซมีมา 25 ปแลวการออกแบบพื้นฐานของปนนี้มีอายุเกามากกวาหน่ึงทศวรรษ ซ่ึงการพัฒนาใหม ๆท้ังสองฝงของทวีปแอตแลนติกไดเขามาทดแทนปนดังกลาว ฝายสรรพาวุธของฝร่ังเศสไดเร่ิมผลิตปนแชสสโพท (Chassepot) ซึ่งใชเครื่องบรรจุทายรังเพลิงที่ใชปลอกกระสุนกระดาษที่มีความเชื่อถือไดมากกวาและมีระยะยิงไกลกวาปนของปรัสเซยี ทเี่ ปน คูแ ขง และสงครามกลางเมอื งในอเมรกิ าไดทําใหป ลอกกระสุนโลหะผานการทดสอบในสนามอยางกวางขวาง ปรัสเซียท่ีไดเก็บเก่ียวประโยชนของความเปนประเทศแรกในสนามรบ ตอนนี้ก็ไดพบกับผล ตอมาท่ีไมสามารถหลีกเล่ียงไดคือ ความลาสมัย4647 ผลที่ชัดเจนของปนแบบเข็มแทงชนวนตอชัยชนะในป 1866(พ.ศ.2409) ไมตรงกับความทาทายในอนาคตที่กองทัพปรัสเซียจะตองเผชิญซ่ึงการอาศัยความสําเร็จ ในอดีตไดพิสูจนถึงความหายนะในป 1806 (พ.ศ.2349)ศตั รูตอ ไปของปรัสเซยี อาจไมเหมอื นออสเตรียทใี่ ช รปู ขบวนทมี่ กี าํ ลงั เปนกลุมกอ นใหเปนเปาของปนแบบบรรจุทายรังเพลิง หรือบุกดวยการติดดาบปลายปนสูกบั การยิงที่รวดเร็ว การรบของป 1866 (พ.ศ.2409) ยังไดแสดงอยางชัดเจนถึงปญหาของการรักษาการควบคมุ รูปขบวน หนากระดานที่มีการกระจายระยะในการเขาตีและรูปขบวนแถวตอนกองรอย บรรดานายทหารของปรัสเซียตระหนักดีถึงระดับการพลัดหลงและการหลบหนีท่ีสูงท่ีมีในรูปขบวนที่หลวม ๆ ของตนเพียงแตจุดออนของออสเตรีย ในการใชรูปขบวนท่ีมีการกระจาย และพลแมนปนเทาน้ันท่ีทําใหออสเตรียไมสามารถใช ขอไดเปรียบทั้งหมดของตนไดอยางเต็มที่Dieter Kaiser, “Die Eingliederung der ehemals selbständigennorddeutschen Truppenkörper in die preussasche armee in derJahren nach 1866,” Dissertation, University of Berkin, 1972. 47 ดู Ortenburg, Waffen und Waffengebrauch, หนา 61. โชวอลเทอร

201ซึ่งผลลัพธใดจะเกิดขึ้นถาเปนขาศึกท่ีรูวาปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียว เปนอะไรที่มากกวาหอกที่ดอยกวา และมีความชํานาญการในการรบท่ีเพ่ิมระยะเคียงทางขางออกไป (Open-order combat) เชน ฝรง่ั เศส? ระหวางป 1866 (พ.ศ.2409) และป 1870 (พ.ศ.2413) ท้ังกฎระเบียบในการฝกตาง ๆ และการฝกดําเนินกลยุทธไดใชรูปขบวนปดระยะเคียง (Close-order)ในการโจมตีในเวลาเดียวกัน บรรดานายทหารของกรมตาง ๆ ก็เพิ่มการใหความสําคัญมากขึ้นกวาที่เคยในเร่ืองวินัยการยิง, การควบคุมรูปขบวนที่มีการกระจายระยะ, และการปลูกฝงทหารใหร กุ หนาดว ยตนเองถาพลดั กบั หนว ยของตน การฝกในภูมิประเทศใชเวลาการฝกมากข้ึนในการฝกรูปขบวนปดระยะเคียง แตผูสนับสนุนรูปขบวนแถวตอนและรูปขบวนท่ีมีการกระจายระยะ, รูปขบวนปดระยะ และเปดระยะที่คลายกันเช่ือวาขวัญ, การฝก และวินัย มีความสําคัญกวาอาวุธ ซึ่งจิตวิญญาณในการรบของทหารปรสั เซยี และความชํานาญการทางยุทธวิธีของทหารปรัสเซีย จะสามารถประสบชัยชนะได แมวาจะตองทําการรบตอปนแบบบรรจุทายรังเพลิง ดังในคํากลาวของมอลทเกท่ีวา “อํานาจกําลังรบท่ีเหนือกวาไมไดมาจากอาวุธแตจากมือที่ถอื อาวุธน้ัน4748 แนวโนมเหลานี้สะทอนถึงความจริงที่ไดจากจํานวนสถานภาพกําลังรบท่ีไดรับต้ังแตแรกและมักถูกมองขามไปในรายงานที่แสดงถึงการพัฒนาจํานวนกําลังพลของกองทัพที่ใชกําลังพลจํานวนมากในศตวรรษกลางของปรัสเซียซงึ่ รูนและมอลทเกม ีสว นเก่ียวของสําคัญในเร่ืองคุณภาพ ไมใชจํานวน ซึ่งจํานวนกําลังรบท่ีเหนือกวาจัดอยูในประเภท “เปนการดีที่มี” แตตรงกันขามกับผูรับชวงตอของปรัสเซียในป 1914 (พ.ศ.2457) ซ่ึงไมมุงสรางจํานวนที่มากของรูปขบวนในแนวที่สองสําหรับการใชในสนาม โดยสหพันธรัฐเยอรมันเหนือ (North GermanConfederation) มุงหวังท่ีจะดําเนินการและชนะสงครามของตนดวยหนวยทหารประจําการ 48 Moltke, “Instructions for large Unit Commanders” หนา 201-07. การปฏิวัติในกิจการทหารของปรสั เซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

202 เหตุการณตาง ๆ ของป 1870-71 (พ.ศ.2413-14) ไดพิสูจนสมมุติฐานดังกลาว กองทัพฝรั่งเศสเขาสูสนามรบดวยหลักนิยมทางยุทธวิธีที่เกือบจะเหมือนกับของปรัสเซียในป 1866 (พ.ศ.2409) อยางชัดเจน คือ ตานทานการเขาตีดวยการยิงอยางรวดเร็วดวยปริมาณมาก แลวตีโตตอบ ซ่ึงครั้งแลวครั้งเลาที่ในชวงสัปดาหแรก ๆ ของสงครามนี้ บรรดาผูบัญชาการของปรัสเซียถูกบังคับใหสงทหารของตนไปขางหนาในการเขาตีตรงหนาที่สูญเสียมากที่เวิรธ (Wörth) ซึ่งเปนการโจมตีเดียวทสี่ ูญเสยี ทหารมากกวาท่ที ั้งกองทัพไดส ูญเสียทโี่ คนิคเกรทซฺ (Königgrätz) ท่ีซองทพรีวัท(St. Privat) ทหารรักษาพระองคของปรัสเซีย (Prussia Guard) สูญเสียไปรอยละ30 ในการรุกในรูปขบวนแถวตอนข้ึนไหลเขาท่ีโลง ซ่ึงเปนระยะทางท่ีไกลที่สุดในประวัติศาสตรของหนวยทหารรักษาพระองคดังกลาว แตบรรดานายทหารของปรัสเซียก็ไดเรียนรูอยางรวดเร็ว กําลังจํานวนมากและความหาวหาญ ทําใหเกิดรูปขบวนที่คลองตัวท่ีไดรับการสนับสนุนจากการรวมการยิงของปนใหญ ซ่ึงการสูญเสียของปรัสเซียลดลงอยางเห็นไดชัดในไมชา กองทัพสนามของฝร่ังเศสหนึ่งกองทพั กย็ อมแพ สวนอีกกองทัพสนามหนึ่งก็ถูกโอบอยางไมมีความหวัง และจักรวรรดิของนโปเลียนที่ 3 กย็ อมแพตอการเปล่ยี นแปลงแบบปฏวิ ัติ ซึ่งเปนลางรายสําหรับผูแพของสงครามใด ๆ ในอนาคต และจุดสูงสุดของการปฏิวัติในกิจการทหาร(RMA) หนึ่ง ที่ไดเริ่มมากวา 1 ใน 3 ของศตวรรษ กอนหนาดวยปลอกกระสุน(Cartridge) ของปน คาบศลิ าทีไ่ ดทดลองใช4849 การปฏิวัติในกิจการทหารของปรัสเซีย พิสูจนใหเห็นความจริงในระยะเวลาท่ีส้ันมาก ในกลางป 1870 (พ.ศ.2413) “รถไฟและปนเล็กยาวแบบลํากลองเกลียว”เปนหัวใจสําคัญของทุกกองทัพท่ีสําคัญ ๆ ในผืนแผนดินใหญของทวีปยุโรป 49 KraftKarl zu Hohenlohe-Ingelfingen, Letters on Infantry,trans. N. L. Walford (London, 1889), และ Letters on Artillery, trans. N.L. Walford (London, 1888), ใหขอคิดทางยุทธวิธีของสงครามน้ี จากมุมมองหน่ึงของปรัสเซีย. โชวอลเทอร

203คูตอสูของปรัสเซียก็เชนกันไดเลียนแบบระบบเสนาธิการดังกลาว โดยไมไดลอกแบบไปเสียทั้งหมด การเกณฑเขาเปนทหารในระยะเวลาส้ัน ๆ ท่ีเปนสากลไดก ลายเปน รปู แบบทสี่ ําคัญของการเขา ประจาํ การเปนทหาร ซงึ่ กระบวนการดังกลาวไมไดเปนแคการเลียนแบบ แตยังแสดงถึงการปรากฏของแนวความคิดพ้ืนฐานของชาวยุโรป (Common European Mentalität) ซึ่งเปนทัศนคติรวมกัน(Common mindset) ที่สรางแนวทางตอปญหาตาง ๆ ที่คลายกัน ซ่ึงในกรณีนี้เปน ความทาทายของการขยายความสาํ เรจ็ ผลทางทหารใหสูงสุด ภายใตกฎระเบียบใหม ๆ ที่ปรัสเซียไดกําหนดขึ้นในทศวรรษตาง ๆ ท่ีครอบคลุมไปถึง ป 1914(พ.ศ.2457) กองทัพตาง ๆ ของยุโรปไดเริ่มมีความสมมาตรเพิ่มขึ้น ท้ังการเกณฑทหาร, การฝก, การบังคับบัญชา นวัตกรรมตาง ๆ ท้ังดานอาวุธยุทโธปกรณ,หลกั นยิ ม หรือการจัดหนวย เปนการคอ ย ๆ เพมิ่ ข้นึ มากกวา คงอยูกับท่ี ซึ่งรูปแบบดังกลาวไดปลูกฝงมายาวนาน ผานสงครามโลกคร้ังที่ 1 จนถึงป 1930 (พ.ศ.2473)จนกระท่ัง พ.ค.1940 (พ.ศ.2483) ท่ีกองทัพแบบอสมมาตร ก็ไดแขงขันกันอีกคร้ังเพ่ือความเปนเจาในยุโรป แตสําหรับชวงส้ันๆ ในป 1860 (พ.ศ.2403) ปรัสเซียไดเปล่ียนโฉมหนา ของสงครามของยุโรป และดลุ อาํ นาจของทวีปหนง่ึ การปฏิวัตใิ นกิจการทหารของปรัสเซีย-เยอรมัน 1840-1871 (พ.ศ.2383-2414)

7 การปฏิวตั ิกองเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914) โฮลเกอ ร เอช. เฮอรว กิ (Holger H. Herwig) วาที่เรือตรีจอหน อารบั๊ทนอท ฟชเชอร (John Arbuthnot Fisher)ออกทะเลครั้งแรกเม่ือป 1863 (พ.ศ.2406) บนเรือรบหุมเกราะเรือรบหลวงวอรริเออร (HMS Warrior) ซ่ึงเรือลําน้ีแสดงถึงสภาวะสูงสุดของความสามารถของสถาปนิกทหารเรอื มมี ลู คา 265,000 ปอนด (ประมาณ 5 ลานมารค) ยาว 151 ม.ระวางขับน้ํา 9,180 ตัน และติดตั้งปนใหญขนาด 68 ปอนด 40 กระบอกเครื่องกําเนิดกําลังแบบ trunk ของเพนน (Penn) ของเรือนี้สรางแรงมา 5,270 แรงมาสําหรับความเร็วสูงสุด 14 นอต แผนเกราะหนา 11.5 ซม. ปองกันตัวเรือท่ีเปนไมสักหนา 45 ซม. สองปตอมาขามไปยังทะเลเหนือ (North Sea) วาที่เรือตรีอัลเฟร็ด เทอรพิทซ (Alfred Tirpitz) ไดเร่ิมอาชีพของตนบนเรือท่ีขับเคล่ือนดวยเคร่อื งจักรไอนํ้าลําแรกของกองทัพปรัสเซีย เรือคุมกันเคล่ือนท่ีเร็ว (ฟริเกต) เอสเอ็มเอสอารโคนา (SMS Arcona) โดยเรืออารโคนาน้ีมีเคร่ืองยนตไอนํ้ากําลัง 1,365 แรงมาระวางขับน้ํา 2,361 ตัน ยาว 71.8 ม. ความเร็วสูงสุด 14 นอต ติดต้ังปนใหญขนาด 68 ปอนด 6 กระบอก และปนใหญขนาด 36 ปอนด 20 กระบอก ระยะยิงไกลสดุ 5,000 ม. ตัวเรอื อารโ คนาทาํ ดว ยไมโอกทีแ่ ขง็ แกรง เรอื มีมูลคา 2.2 ลา นมารค ป 1914-15 (พ.ศ.2457-58) ในการดาํ รงตําแหนง ผูบญั ชาการทหารเรือ(First Sea Lord) ครัง้ ทส่ี อง ฟช เชอ รไ ดควบคุมการนําเขาประจาํ การของเรือรบหลวงควนี สอลิซาเบธ (HMS Queen Elizabeth) ซ่ึง เรมิ่ สรา งในป 1912 (พ.ศ.2455)เรือนยี้ าว 195 ม. ระวางขับนาํ้ 27,500 ตัน และเปน เรอื รบท่ขี บั เคล่อื นดว ยกังหนั จากพลงั งานนาํ้ มนั ลําแรกของโลก แผน เกราะถูกเพม่ิ ขึน้ สงู สุด 33 ซม.เครอ่ื งกาํ เนดิ กําลัง 75,000 แรงมา ใหค วามเร็วสูงสุด 24 นอต อาวุธหลกั คอืปน ใหญขนาด 15 นิว้ (38.1 ซม.) 8 กระบอก สามารถระดมยงิ ปนเรอื ทั้งหมดแบบหนั ขางดวยกระสุนรวม 7,000 กก. ไดถ งึ 25กม. และเรอื มมี ูลคา 2.6 ลา นปอนด(ประมาณ 50 ลานมารค) ในการสรางและติดตั้งอาวุธขามไปยังทะเลเหนือ(North Sea) เทอรพทิ ซ ในความสามารถของตนในฐานะรัฐมนตรีสาํ นักงานทหารเรือเยอรมัน (State Secretary of the Reich Naval Office) ไดเ ริ่มสราง

205เรอื รบรุน ใหมใ นป 1912 (พ.ศ.2455) โดยเรอื บาเยริ น (Bayern) และตอ ๆ มาอกี สามลาํ ระวางขับน้าํ ลําละ 28,061 ตัน ยาว 180 ม. มลู คา 49 ลานมารคกังหันไอนาํ้ ของพารสันซ (Parsons) สามเครือ่ งของเรือเอสเอม็ เอส บาเยริ น(SMS Bayern) สรางแรงมา 48,000 แรงมา สําหรบั ความเรว็ สูงสุด 22 นอตอาวธุ หลกั คือปนใหญขนาด 38 ซม. (15 น้ิว) 8 กระบอก สามารถระดมยงิพรอ มกนั ทัง้ หมดแบบหนั ขาง ดวยกระสุนรวม 6,000 กก. ดว ยระยะยงิ ไกลสุด20.4 กม.01 ซงึ่ ทงั้ ฟช เชอรแ ละเทอรพ ิทซม ปี ระสบการณในการเปลี่ยนแปลงดา นเทคโนโลยีเกย่ี วกบั เรอื อยางมากระหวา งชีวิตการทํางานของตน การพัฒนาเหลานั้น เม่ือรวมเขาไวในกองเรือรบท่ีทรงพลังท่ีเผชิญหนากันและกัน ขามทะเลเหนือ ในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) ไดสรางการปฏิวัติในกิจการทหารอยางแทจ ริง ซ่งึ การเพ่ิมขึ้นอยางทวีคูณในอํานาจการโจมตีทางเรือที่แสดงใหเห็นลวงหนาถึงการปฏิวัติในกิจการทหารของการรบทางเรือแบบสามมิติและเรือดํานํ้าในอีก 20 ป ตอมา อยางไรก็ตาม การพัฒนาทางเทคโนโลยีท่ีถึงจุดสูงสุด ในทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 20 ในเรือประจัญบานและเรือรบติดอาวุธหนัก (Dreadnought - เดรดนอท) อยูในกรอบแนวคิดด้ังเดิมและเร่ิมตนไมใชการปฏิวัติไปเสียทั้งหมด โดยเปนผลจากกระบวนการที่ยาวนานของการเปลย่ี นแปลงแบบมวี วิ ฒั นาการเพิม่ ขึน้ ทีละนอย ๆ ระบบเจา ขุนมลู นาย (Bureaucracy) และการเปลีย่ นแปลง การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติเพ่ิมความไมแนนอนและความเสี่ยง โดยไมสามารถประกันชยั ชนะได อาวธุ ใหม ๆ ตองการธรรมเนียมปฏิบตั ิใหม, การคิดใหม,และการฝกใหม ขาศึกท่ีไมสามารถคาดการณได, ลมฟาอากาศ, ความฝด, และ 1 ขอมูลเรือรบ: Siegfried Breyer, Schlachtschiffe und Schlachtkreuzer1905-1970 (Munich, 1970), หนา 126, 161, 167, 277, 300. การปฏวิ ตั กิ องเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

206ความไมแนนอนท่ีมีในการรบเหลาน้ี เปนท่ีนาเกรงกลัวพอสมควร โดยยังไมคิดถึงความสับสนจากความแปลกใหมของความไมแนนอน ดังนั้น ผูนําทหารจึงมักตองอาศยั ตัวอยางทมี่ มี ากอนและประสบการณ และระบบเจา ขนุ มลู นายที่โดยธรรมชาติและความเปนพลวัตของระบบดังกลาว ซึ่งเกี่ยวของกับการสรางสรรค และยึดติดกับการปฏิบัติปกติประจํา จะบายเบ่ียงตอนวัตกรรมแมเมื่อในยามหลังพิงฝา12เจาหนาที่ในระบบเจาขุนมูลนายไมคอยท่ีจะนําหนาโดยการกระตุนนวัตกรรมตอผูบังคับบัญชาของตน แตกลับตั้งคณะกรรมการตาง ๆ เพื่อใหความคิดใหม ๆที่เหมาะท่ีจะฝงทงิ้ และบรรดานายพลก็ไมช อบเรื่องที่ไมค าดคดิ ดังนน้ั จึงเปน สง่ิ ท่ีนา ตะลงึ ท่นี วตั กรรมกองทัพเรือต้ังแตกลางศตวรรษที่ 19เปนตนไป สวนใหญเกิดจากในระบบเจาขุนมูลนายที่ดูเหมือนความคิดคับแคบของกองทัพเรืออังกฤษ (Royal Navy), กองทัพเรือเยอรมัน (Imperial German Navy),และกองทัพเรือสหรัฐฯ (U.S. Navy) อังกฤษพัฒนาจากการมีอํานาจสูงสุดทางทะเลยุคสงครามนโปเลียน ไมและนํ้ามันดิน, อูเรือสําหรับสรางเรือและโรงหลอสําหรับหลอปนใหญ, คลังเก็บใบเรือและเชือก, และกําลังคนท่ีมีประสบการณ มีอยูมากมายมาเปนเวลานานในอังกฤษหรืออาณาจักรทีเ่ ปนทางการหรอื ไมเปน ทางการขององั กฤษเทคโนโลยีของอํานาจทางทะเลของอังกฤษไดเปลี่ยนแปลงเล็กนอยในชวงหน่ึงศตวรรษโดยจํานวนปนใหญบนเรือรบเพิ่มขึ้นอยางคราว ๆ เปนสองเทาจากป 1700(พ.ศ.2243) ถึงป 1815 (พ.ศ.2358) แตรูปแบบพ้ืนฐานไมไดเปลี่ยนแปลง คือแถวของปนบรรจุจากปากลํากลองยิงจากดานขางของเรือดวยลูกปนใหญเหล็กหลอทรงกลม (Solid shot), ลูกปนใหญเหล็กหลอทรงกลมท่ีปลายทั้งสองโดยมีแทงแกนกลางเชอ่ื ม (Bar-shot), ลูกปนใหญเลก็ ๆ หลายลูกบรรจุในถงุ ผา ใบ(Grape-shot), หรือแบบลูกปราย (Canister) ยุทธวิธีตาง ๆ เปล่ียนแปลงตาม 2 ดู William H. McNeill, “The Structure of Military-TechnicalTransformation,” The Harmon Memorial Lectures in Military HistoryNr. 37 (United States Air Force Academy, 1994). เฮอรว กิ

207นอยมาก แมวาความเช่ือมั่นสูงสุดของเนลสันในความเหนือกวาของการควบคุมเรืออังกฤษและความเร็วของการยิงไดใหความคลองตัวมากขึ้นและขอบเขตสําหรับการริเร่ิมมากกวาที่เคยชิน ความสําเร็จของอังกฤษ ทําใหสมาชิกสภาการทหารเรือของอังกฤษ (Lords of the Admiralty) ในป 1828 (พ.ศ.2371) “ไมเห็นดวยที่จะเพิ่มความสามารถสูงสุดในการใชเรือไอนํ้า” ซ่ึงนวัตกรรมทางเทคโนโลยีใด ๆดังกลาวเปน “ส่ิงท่ีไดคิดคํานวณเพ่ือสรางกระแสท่ีสําคัญในความเปนมหาอํานาจทางเรือของจกั รวรรดิอังกฤษ”23 แมวาบรรดาขุนนางช้ันลอรดของตนจะไมมีอํานาจท่ีจะหยุดย้ังการมาถึงของเครื่องจกั รไอน้าํ คล่นื ลกู แรกของนวัตกรรมท่ีบางคร้งั ก็ถูกเรยี กวา เปนการปฏิวัติอตุ สาหกรรมคร้งั แรกของสง่ิ ทอ, เครื่องจักรไอน้ํา และเหล็ก34 แตกองทัพเรืออังกฤษ(Royal Navy) ก็พบวา เรือดังกลาวมีประโยชนมากขึ้นในการเปนเรือธงรวมท้ังบรรทุกกระสุนและกระสุนระเบิด แลนทวนน้ําไปยังอาณาจักรตาง ๆในทวีปเอเชียท่ีขัดขืน ตั้งแตยางกุงไปจนถึงเซี่ยงไฮและปกก่ิง45 เคร่ืองจักรไอนํ้าไดเขาอยูในครอบครองของกําลังทางเรืออังกฤษ เม่ือป 1840 (พ.ศ.2383)เรือเอสเอส สิริอุส (SS Sirius) ซึ่งใชใบจักรเรือแบบลอ (Paddle-wheel) ไดขามมหาสมุทรแอตแลนติกเปนครั้งแรกดว ยกําลังเคร่ืองจักรไอนํ้าเม่ือป 1837 (พ.ศ.2380)ตอมา ใบจักรเรือแบบลอ ก็ถูกแทนดวยใบจักรท่ีขับเคลื่อนดวยเพลา (Propeller) 3 MichaelLewis,TheHistoryoftheBritishNavy(Baltimore,MD,1957),หนา 224. 4สําหรบั กรอบแนวคดิ ของคลน่ื ตา ง ๆ หรอื กลมุ นวัตกรรมตาง ๆ และจังหวะเวลาของส่ิงเหลาน้ัน ในศตวรรษท่ี 19 ดู David S. Landes, The UnboundPrometheus: Technological Change and Industrial Development inWestern Europe from 1750 to the Present (Cambridge, 1969). 5 ดู Daniel R. Headrick, The Tools of Empire: Technology and EuropeanImperialism in the Nineteenth Century (New York, 1981), บทที่ 1-2. การปฏิวตั ิกองเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

208และตัวเรือท่ีใชไมโอกหรือไมสัก ก็เปล่ียนไป ปนตัวเรือที่ทําดวยเหล็ก ป 1850(พ.ศ.2393) เครื่องจักรท่ีใหพลัง 1,600 แรงมา เชนแบบของเรือไอนํ้า เอสเอสเกรทอีสเทิรน (SS Great Eastern) ทําใหเครื่อง 320 แรงมา ของเรือซีรีอุส(Sirius) ดอ ยไป และป 1840 (พ.ศ.2383) ฝร่ังเศสและอังกฤษก็ไดติดตั้งปนใหญทม่ี ีขนาดกวางปากลํากลองใหญที่ยิงกระสุนระเบิดแกเรือตาง ๆ ทีอ่ อกปฏิบัตกิ ารของตน แตส่ิงน้ีไมใชการปฏิวัติ แมแตเรือรบของฝรั่งเศสท่ียิ่งใหญของป 1860(พ.ศ.2403) เรือลา กลูอาร (La Gloire) ท่ีมีเกราะเหล็กหนา 11.5 ซม. ยังคงใชใบเรือและติดต้ังปนบรรจุทางปากลํากลองในแถวตาง ๆ และไมไดใชนวัตกรรมทางยุทธศาสตร, ยุทธการ และยุทธวิธี ซึ่งฝร่ังเศสไมไดดําเนิน ตามตนแบบของตนกับกองเรือรบช้ันกลูอาร (Gloire) ในไมชา อังกฤษที่มีเคร่ืองจักรอุตสาหกรรมเหนือกวาและมีความสามารถดานการเงินเหนือกวา ก็สามารถไลทันเทคโนโลยีดานกองเรือรบของฝร่ังเศสและแซงหนาดานจํานวน56 สําหรับเวลาสามทศวรรษเรือตาง ๆ ที่ใชใบเรือและเคร่ืองจักรไอน้ําผสมผสานกันท่ีอุยอายติดตั้งปนใหญบรรจุทางปากลํากลอ งสรา งมลพษิ ใหแกเ สน ทางทะเลตา ง ๆ ของโลก เรือแตละชน้ัหรือลํามีความไวเพิ่มข้ึน, มีอาวุธดีขึ้น, เสริมเกราะหนาขึ้น, และมีระยะปฏิบัติการไกลข้ึนกวารุนกอน ๆ ซ่ึงเครื่องจักรไอนํ้า, ตัวเรือท่ีเปนเหล็ก, และกระสุนระเบิดไดสรางการเปล่ียนแปลงเพมิ่ ข้ึน คลื่นลูกที่สองของนวัตกรรมเปนไปตามคล่ืนเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของศตวรรษท่ี 19 ที่ย่ิงใหญคร้ังท่ีสอง โดยเหล็กกลาราคาถูก, ไฟฟา, สารเคมี,และเครื่องยนตสันดาปภายใน ซ่ึงปรากฏต้ังแตปลายป 1880 (พ.ศ.2423) เปนตนไปผลของความเจริญทางเทคโนโลยีไดรวมถึงแตไมไดจํากัดตอการเขามาแทนท่ีของการผสมผสานดวยเครอ่ื งยนตทีข่ ยายตวั เพม่ิ ขึน้ สามเทา ของลูกสูบดวยหมอตมแบบทอน้ํา (Water-tube boilers), การผสมผสานดวยเกราะนิกเกิ้ล-เหล็กกลา, 6 William H. McNeill, The Pursuit of Power: Technology, ArmedForce, and Society since A.D. 1000 (Chicago, 1982), หนา 227. เฮอรว ิก

209และดินปนดําและนํ้าตาล ดวยดินระเบิดและดินขับของเกลือไนเตรท (Nitratedpropellants), และปนใหญเหล็กบรรจุทางปากลํากลองดวยปนใหญเหล็กกลาบรรจุทายลํากลอง แตเทคโนโลยีไมไดเกิดข้ึนเอง ซ่ึงการนําไปประยุกตใชกับสงครามทางเรือขึ้นอยูกับการปรากฏของพลังอํานาจตาง ๆ ในอังกฤษและเยอรมันของกลุมนายทหารเรือท่ีมีหัวคิดดานเทคโนโลยี ซึ่งมุงมั่นเปนพิเศษท่ีจะกระตุนและเรงเราการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี บุคคลตาง ๆ เชน ฟชเชอรและเทอรพิทซเห็นคุณคาของกิจการยักษใหญดานเหล็กกลา, เคมี และไฟฟา ของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหมท่ีพรอมรับใช, พรอมที่จะรวมกับรัฐบาลเพื่อพัฒนา ซ่ึงวิลเลียมเอช. แมคนีลล (William H. McNeill) เรียกวา “เทคโนโลยีตามบัญชา(Command technology)” บรรดาผูนํารุนใหมของทหารเรือเขาใจวาสังคมของตนพรอมท่ีจะรับเทคโนโลยีทางทหารใหม ๆ, หนังสือพิมพสวนใหญเห็นวาอสุรกายเหล็กในมหาสมุทรเปนสัญลักษณของพลังอํานาจของชาติ, และทหารเรือก็คลายกับนักการเมืองท่ีมีความมุงมั่นท่ีจะทุมเทสมบัติของชาติใหกับการดําเนินการเหลานี้“กลุมอุตสาหกรรมทางทหาร (Military-industrial complexes)” แหงแรกของโลก คือครุปป (Krupp) ในเยอรมัน, อารมสตรอง (Armstrong) และวิคเกอรส (Vickers)ในอังกฤษ, ชไนเดอร-ครูโซต (Schneider-Creusot) และกาเนต (Canet)ในฝร่ังเศส, เบธเลเฮมสตีล (Bethlehem Steel) และนิวยอรคชิพบิลด้ิง คอมพานี(New York Shipbuilding Company) ในสหรัฐฯ, และปูติลอฟ (Putilov) ในรัสเซียซึ่งตอมาไดเปนคูแขงกับหนวยงานดานสรรพาวุธของรัฐบาล จนกระทั่งกองทัพเรือตาง ๆไดพ่ึงพาอาศัยเปนหลัก แทนท่ีจะคอยภาคอุตสาหกรรมพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆกองทัพเรือตาง ๆ ในโลกไดเร่ิมออกแบบและกําหนดความตองการปนใหญ,เคร่ืองยนตกําเนิดกําลัง, ทัศโนปกรณ, ระบบไฮโดรลิก, และระบบควบคุมดวยไฟฟาตาง ๆ ท่ีตนตองการ และทั้งฟชเชอรและเทอรพิทซ ก็ไดแสดงถึงความเช่ียวชาญในการใหขาวแกนักหนังสือพิมพ ดวยการใหขาวบิดเบือนและ การปฏวิ ตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

210ดวยการรณรงคตอ สาธารณะเพ่ือสรางกองเรอื ของตน อยางไรก็ตาม พลังอํานาจทางเรือที่ยิ่งใหญมีบทบาทสําคัญในการวิวัฒนาการท่ีพอควรของการตอบสนองที่เทาเทียมกันทางเทคโนโลยี จากหนังสือเรือรบของเจน(Jane’s Fighting Ships) หรือขอ มลู เรือรบประจาํ ปข องแบรซซ่ี (Brassey’s TheNaval Annual) ยอนไปถึงป 1914 (พ.ศ.2457) จะเห็นรูปแบบการพัฒนาพื้นฐาน67 โดยระวางขับนํ้าของเรือรบจาก 10,500 ตัน สําหรับเรือรบหลวงเซนจูเรียน (HMS Centurion) ในป 1880 (พ.ศ.2423) เปน 27,500 ตัน ของเรือรบหลวงควีนอลิซาเบธ (HMS Queen Elizabeth) ในป 1912-13 (พ.ศ.2455-56)และมูลคาจาก 620,000 ปอนด สําหรับเรือรบหลวงเซนจูเรียน (HMS Centurion)เปน 2.6 ลานปอนด สําหรับเรือรบหลวงควีนอลิซาเบธ (HMS Queen Elizabeth)รวมท้ังดานอํานาจการยิงจากปนใหญ 12 นิ้ว 4 กระบอก เปนปนใหญ 15 นิ้ว8 กระบอก ความเร็วสูงสุดก็เชนกัน เพิ่มขึ้น 7 หรือ 8 นอต เครื่องกําเนิดกําลังและความยาวของเรือก็เพ่ิมขึ้นมากกวา 2 เทา จํานวนลูกเรือก็เพิ่มเกือบ 2 เทาอังกฤษไดใชจายในการกอสรางเรือรบเพ่ิมขึ้นมากกวารอยละ 1,000 จาก 624,000ปอนด ในป 1888-89 (พ.ศ.2431-32) เปน 7.2 ลา นปอนด ในป 1912-13 (พ.ศ.2455-56) ตลอดเวลาการเปลย่ี นแปลงไดเ พมิ่ ข้ึนทลี ะนอ ย ระวางขบั น้ําคอ ย ๆ เพิ่มขึ้นไมเกิน 2,000 ตัน สําหรับเรือแตละรุนบางทีกาวยางท่ีชานั้น เปนผลจากขีดจํากัดของอูเรือท่ีมี, หองตอเรือ (Lock), และ (ในกรณีของเยอรมัน) ความลึกของคลองไกเซอร-วิลเฮม (Kaiser-Wilhelm) ท่ีเชื่อมตอทะเลบอลติกกับทะเลเหนือซ่ึงเปนตัวกําหนดระวางขับน้ําการพัฒนาอาวุธหลักก็ไดสะทอนรูปแบบในลักษณะเดียวกัน โดยจากปนใหญขนาด 11 น้ิว (28 ซม.) และ 12 นิ้ว (30.5 ซม.) จากป1890 (พ.ศ.2433) เปนตนไป เปน 13.5 น้ิว (33 ซม.) ในป 1910 (พ.ศ.2453)และเปน 15 นวิ้ (38 ซม.) ในป 1913 (พ.ศ.2456) 7 ดตู ัวอยาง The Naval Annual 1913 (Portsmouth, 1913), หนา 216-20. เฮอรว ิก

211 ขอจาํ กดั ท่มี ผี ลตอ ผูออกแบบเก่ยี วกับระวางขับนํา้ ,เกราะ,กวางปากลาํ กลองปน ใหญ,ความเร็ว, และระยะปฏิบัติการมีมากขึ้น การลดขอจํากัดลงมีผลสี่ประเด็นที่ยังคงจํากัดการพัฒนาตอไป ท้ังน้ี เรือรบสมัยใหมเปนเคร่ืองจักรกลท่ีมีการสมดุลอยางละเอียดออน เคร่ืองกําเนิดกําลัง, ปนใหญ, เกราะ, ระวางขับนํ้า, และความสามารถในการบรรทุกถานหินเพ่ือเปนเช้ือเพลิง มีสวนสัมพันธซ่ึงกันและกันอยางลึกซ้ึง ซ่ึงการพัฒนาท่ีสําคัญในคุณสมบัติดานใดดานหน่ึงจะกระทบโดยตรงกับดานอ่ืน ๆ และความสมดุลระหวางความสามารถในการปฏิบัติการตาง ๆและอํานาจในการตอสูจากเรือรบแบบหน่ึงไปเปนอีกแบบหน่ึง จะตางกันโดยสําหรับเรือพิฆาต ความเร็ว, ความคลองแคลว, และอํานาจในการโจมตีจะสําคัญกวาการปอ งกันตัวและการอยูร อด แตสาํ หรบั เรือรบจะกลับกนั ในวงรอบของนวัตกรรมที่ไดรับการพัฒนาจากปลายป 1880 (พ.ศ.2423)เปนตนไป ยิ่งเครื่องยนตไอนํ้ามีกําลังมากข้ึน ใหญขึ้น และหนักมากข้ึน ก็ย่ิงตองมีระวางขับน้ํามากขึ้น การเพ่ิมขนาดกวางปากลํากลองของปนใหญของขาศึกที่เปนไปได ตองใชแผนเกราะท่ีหนามากขึ้น รวมท้ังตองเพิ่มกวางปากลํากลองของปนใหญหลักมากข้ึน ซึ่งปนท่ีเพิ่มกวางปากลํากลองข้ึน ก็จะหนักมากเกินที่จะติดต้ังในแถวตาง ๆ ตามดานขางของเรือรบ เมื่อติดตั้งที่กลางเรือตองมีพ้ืนที่การยิงทโี่ ลง ซงึ่ หมายความวา เสากระโดงและใบเรอื ตองหายไป เม่ือมีการคิดคนกระสุนระเบิดก็ทําใหกองทัพเรือตาง ๆ ตองปองกันปนใหญของตน ดวยปอมปนซึ่งในทางกลับกันก็ตองสามารถดําเนินการใหสามารถยิงเปาหมายไดโดยรวดเร็วซึ่งตองใชอุปกรณไฮโดรลิกขนาดหนัก จึงตองการกําลังของเครื่องยนตไอน้ํามากขึ้นเพื่อเพ่ิมอัตราการยิง กองทัพเรือตาง ๆ ไดเลิกใชการวางและยิงปนใหญตาง ๆทีละกระบอกในการยิงจากกราบเรือ ซึ่งตองใชระบบการล่ันไกไฟฟา และปนใหญเหล็กกลาบรรจุทายลํากลองของครุปป (Krupp) และ อารมสตรอง (Armstrong)และโดยไมชากวาขาศึกท่ีอาจจะทําได กรมคลังและวิศวกรกองทัพเรือ ก็บรรลุความสําเร็จที่ยุงยากเหลาน้ีดวยตนแบบเดียว โดยไดเร่ิมกระบวนการท้ังหมดอีกครั้ง การปฏิวตั กิ องเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

212ดวยเรือท่ใี หญก วา, แผนเกราะทีห่ นากวา, ปนใหญท่ีใหญกวา, กระสุนระเบิดท่ีใหญกวาโดยมอี ํานาจการเจาะทะลุทะลวงทเ่ี หนอื กวา , และความเร็วท่สี ูงกวา อยางไรก็ตาม ยังไมมีนวัตกรรมทางยุทธวิธีเกิดขึ้นรวมไปกับการพัฒนาเหลาน้ี วิธีการของเนลสัน ในการนําเรือรบเขาประชิดกับขาศึกและทําลายดวย“หากระสุน (Hail of fire)” ยังคงเปนที่นิยมอยูในป 1900 (พ.ศ.2443)กองทัพเรือตาง ๆ ไดทดลองใชปนใหญที่ใหญขึ้นของตนในระยะ 6 กม. และแมก ระทงั่ ถึง 10 กม. แตหลักนิยมทางยุทธวิธีก็ยังคงใชระยะท่ีไมเกิน 2,000 - 3,000 ม.สวนระยะไดผลท่ีมาตรฐานในกองทัพเรืออังกฤษยังคงอยูท่ี 1,500 ม. หรือนอยกวาการโคลงตัวในชวงคล่ืนลง, การยกตัวข้ึนบนยอดคล่ืน, และการหันเหของเรือมีผลอยางย่ิงตอความแมนยําเชนเดียวกับในสมัยของเนลสัน การตะลุมบอนขนาดใหญซ่ึงเรือตาง ๆ ในขบวนทําการยิงปนใหญบรรจุทางปากลํากลองหนัก 80 ตันที่อุยอายในระยะประชิดแมวาจะไมไดใกลแบบใบเรือชนใบเรืออีกตอไป ตอขาศึกที่คอนขางที่จะยังไมพัฒนายังคงเปนแคการนึกฝน ท้ังน้ี กองทัพเรือตาง ๆยังไมไดคิดในการสรางสรรคหลักวิชาการใหม ๆ หรือปรับปรุงหลักการที่มีอยูเพื่อฝกหรือปรับการฝกตนเรือ (Executive officer) และตนกล (Engineer officer)ตามเทคโนโลยที ่ีพฒั นาขึ้น จนทศวรรษสุดทายของศตวรรษ แนวคิดที่ไดผลซึ่งนักทฤษฎีและนักประวัติศาสตรเกี่ยวกับกําลังทางเรือท่ีย่ิงใหญ เซอร จูเลียน คอรเบ็ทท (JulianCorbett) ไดกลาวในแงลบวา “อวัยวะท่ีไมไดใชของบรรดานายทหารเรือ”ยังคงตอ งทํางานหนกั 78 โดยเปา หมายคอื เพอ่ื ปรับปรุงพน้ื ฐานการดําเนนิ การรบของกองเรือตาง ๆ ในทะเลหลวง ฟชเชอรตอมาไดเล่ือนเปนนาวาเอกอยางรวดเร็วไดเปดฉากอยางเขมขนในป 1884 (พ.ศ.2427) โดยผลักดันใหนักหนังสือพิมพดับเบิลยู. ที. สเตด (W. T. Stead) ตีพิมพบทความท่ีนาตกใจในหนังสือพิมพพอลมอล 8 Donald M. Schurman, Julian S. Corbett, 1854-1922: Historianof British Maritime Policy from Drake to Jellicoe (London, 1981), หนา 44. เฮอรว กิ

213(Pall Mall Gazette) ซึ่งฟชเชอรหวังวาบทความเหลาน้ันจะปลุกชาติ จากท่ีคนทั้งสองมองเห็นวา เปนความเฉื่อยชาที่เปนอันตรายตอความเปนมหาอํานาจของอังกฤษผลก็คือ ชวงระยะเวลาของการพัฒนาและขยายตัวอยางที่ไมเคยมีมากอนรฐั บาลและกระทรวงกองทัพเรือองั กฤษ (Admiralty) แทบจะยกระดับการจัดสรรงบประมาณของกองทัพเรือโดยทันทีรอยละ 50 หรือ 5.5 ลานปอนด เมื่อ พ.ค.1889(พ.ศ.2432) ลอรด จอรจ แฮมิลตัน (George Hamilton) ผูบัญชาการทหารเรือไดรับการผานกฎหมายการปองกันประเทศทางเรือ (Naval Defense Act)จากสภาสามัญชน (House of Commons) ที่ทําใหไดรับงบประมาณเพิ่มข้ึนอีกรอยละ 400 (21.5 ลานปอนด) ซึ่งกฎหมายดังกลาว ทําใหไดเรือประมาณ70 ลํา โดยคร่ึงหนึ่งตองสรางในอูเรือเอกชน จากกฎหมายน้ี จึงเปนคร้ังแรกที่อังกฤษไดกําหนดความม่ันคงของประเทศในรูปของการวัดท่ีเปนมาตรฐานที่ไดจากกองทัพเรือของศตั รูท่เี ปนไปไดของตน ซึ่งในชวงนั้น ฝรั่งเศสและรัสเซีย “สองมหาอํานาจมาตรฐาน”ของกองเรือรบหน่ึงจะ “เทากับกําลังทางเรือของสองประเทศอื่นใด” ผูบัญชาการทหารเรือคนดังกลาวยังไดเสนอแนะวา การเพิ่มอํานาจกําลังรบอยางมากมายของกองทัพเรืออังกฤษจะเปนการลดทอนกําลังใจศัตรูจากการพยายามสรางใหทัดเทียมกับองั กฤษ ซ่ึงนับเปน การปรากฏข้นึ ของทฤษฎกี ารปอ งปราม (Deterrence theory) ป 1893 (พ.ศ.2436) ลอรด สเปนเซอร (Spencer) ยังไดปรับปรุงกฎหมายดังกลา วเพ่ือใหไดหมูเรือที่ใชเรือประเภทเดียวกันทั้งหมด89 กระทรวงกองทัพเรืออังกฤษตระหนักถึงขอดีของมาตรฐานดังกลาวตั้งแต ป 1870 (พ.ศ.2413) แตในป 1890(พ.ศ.2433) กระทรวงกองทัพเรืออังกฤษยังคงจํากัดมาตรฐานน้ีไวเพียงแคหมูเรือแทนที่จะเปนกองเรือ เรือรบที่สรางขึ้นตามกฎหมายนี้เพ่ิมระวางขับนํ้าข้ึนรอยละ 10 9 ดู Jon Tetsuro Sumida, In Defence of Naval Supremacy:Finance, Technology, and British Naval Policy, 1889-1914 (Boston,MA, 1989), หนา 13ff. การปฏวิ ตั ิกองเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

214และเพ่ิมงบประมาณรอยละ 20 ในป 1894 (พ.ศ.2437) ผูบัญชาการทหารเรือ(First Lord) ยังชวยในการจัดกิจกรรมกระตุนประชาชน, บริษัทตอเรือและผูผลิตอาวุธภาคเอกชน, และโรงงานเหล็กกลา เพ่ือจัดต้ัง นาวิกสภา (Navy League)ซ่งึ เปน กลมุ ผรู ณรงคหาเสยี งสนับสนุนจากรัฐสภา โดยกลุมผูสนับสนุนกองทัพเรืออังกฤษไดยอมรับการชวยเหลืออยางเต็มใจจากนายทหารเรือสหรัฐฯ นาวาเอกอัลเฟร็ดเทเยอร มาฮาน (Alfred Thayer Mahan) ที่มีช่ือเสียง แมวาหลักการเรื่องอิทธิพลของอํานาจกําลังรบทางทะเลตอประวัติศาสตร (The Influence of SeaPower upon History) ท่ีถูกกําหนดต้ังแตป 1890 (พ.ศ.2433) เปนตนไปจะเปนหลักการทย่ี งั ไมม ีขอ พสิ ูจนของกองเรอื รบ การเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงตอมาท่ีนักประวัติศาสตรดานกําลังทางเรือเรียกวา “การปฏิวัติเรือรบ ติดอาวุธหนัก (Dreadnought revolution)”เกี่ยวของโดยใกลชิดที่สุดกับ “แจคก้ี” ฟชเชอร (“Jackie” Fisher) ซึ่งไดรับแตงต้ังเมื่อป 1904 (พ.ศ.2447) เขาสูตําแหนงที่ไดรับแตงตั้งใหม ผูบัญชาการทหารเรืออังกฤษ (First Sea Lord) ฟช เชอรมีชื่อเสียงในเร่ืองความเฉลียวฉลาด,ความรอบรู, การตัดสินใจ และอุตสาหะ รวมทั้งการไรทิศทางที่แนนอน,การไรความปรานีและความพยาบาทเหนืออื่นใดทั้งหมด ฟชเชอรเปนนักปฏิบัติซ่ึงการปฏิวัติในกิจการทหารเรือระหวางป 1904 (พ.ศ.2447) และ 1909 (พ.ศ.2452)นับเปน “การปฏิวัติของฟชเชอร (Fisher revolution)” เดียวของการสรางเรือรบหลวงเดรดนอท (HMS Dreadnought) ในป 1905-06 (พ.ศ.2448-49)แมมักจะถูกคิดวาจะจํากัด ลักษณะของการปฏิวัติดังกลาววางอยูบนผลกระทบเชิงระบบโดยรวม โดยเกี่ยวกับการปฏิรูปรากฐานของสถาบันการฝกที่มีอยู,การจัดหานายทหารสัญญาบัตร, หลักนิยมทางยุทธวิธี, การจัดวางกองเรือ,และการคิดเชิงยุทธศาสตร รวมทั้งการสรางเรือรบแบบใหม ๆ ซ่ึงฟชเชอรสนับสนุนการดําเนินการดังกลาวดวยวงจรขอมูลยอนกลับที่ดํารงสถานภาพดวยตนเองท่ีมีพลังซ่ึงกลุมผลประโยชนทางเศรษฐกิจตาง ๆ พอใจตอรายจายสาธารณะท่ีเพิ่มข้ึนซึ่งอํานวยตอการผานกฎหมายการจัดสรรงบประมาณกองทัพเรือที่มีแตจะเพิ่มข้ึน เฮอรวิก

215ในทางกลับกนั กอ็ ํานวยใหแ ละตองการเทคโนโลยีใหม ๆ ดานโลหะวิทยาสาขาเหล็กกลา,ระบบอิเล็กทรอนิกส, วิทยาศาสตรดานแสงและทัศนะ, เครื่องจักรกลไฮโดรลิก,เครื่องกังหัน, เครื่องคํานวณการควบคุมการยิง, และเคมีอุตสาหกรรมการปฏิวัติในกิจการทหารของฟชเชอรไดสั่นสะเทือนกองทัพเรืออังกฤษไปถึงแกน และปรับปรุงกองทัพเรือในรปู แบบท่จี ะทําการรบและเอาชนะในสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 “กิจกรรมการปฏิวัติ” ท่ีนาประทับใจท่ีสุดของฟชเชอรท่ีแทจริงคือเรือรบหลวงเดรด นอท (HMS Dreadnought) โดยไดว างกระดูกงูแผน (Keel plate)ของเรือนี้เม่ือ ต.ค.1905 (พ.ศ.2448) และปลอยลงนํ้าเมื่อ ก.พ.1906 (พ.ศ.2449)หลังจากเวลาผานไปอยางรวดเร็วเพียง 130 วัน การทดสอบในทะเลเกิดขึ้นในเดือนต.ค. และทําพิธีสงมอบเม่ือ ธ.ค.1906 (พ.ศ.2449) ฟชเชอรไดผสมผสานเทคโนโลยีท่มี อี ยูอ ยา งมากมายในเรือเดรดนอท เครื่องกังหันไอนํ้าปฏิกิริยาของชารล พารสัน(Charles Parson) ชวยใหไดความเร็วสูงสุด 21 นอต ดีกวาเรือรบใด ๆท่ีสรางหรอื แพรหลายอยู ปนใหญขนาด 12 น้ิว 10 กระบอก จัดตั้งไวในปอมปนคู5 ปอม โดยปอมหน่ึงอยูท่ีหัวเรือ สองปอมอยูที่ทายเรือ และที่กราบซาย และขวากราบละหน่ึงปอม ซ่ึงเปนการสรางและใชปนที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติเนื่องจากอํานาจการยิงของเรือเดรดนอทของปอมปนสองปอมของเรือเดรดนอทในการยิงดานกราบเรือ และสามปอมเม่ือยิงไปขางหนา และจากการที่การยิงจะแมนยําท่ีระยะหน่ึง โดยระยะท่ีไดผลในยุคเรือใบท่ีดีที่สุดคือ 650 ม. และคงเปนไปเชนน้ันจนถึงป 1890 (พ.ศ.2433) ซ่ึงมักจะจํากัดที่ 1,500 ม. แตเรือรบญี่ปุนในชองแคบทซูชิมะ (Tsushima Straits) ในป 1905 (พ.ศ.2448) ไดยิงเรือรัสเซียที่เปนคตู อสูดว ยการยิงทาํ ลายทีร่ ะยะไกลถงึ 12,000 ม. ซ่ึงเรอื รบหลวงเดรดนอท(HMS Dreadnought) สามารถยิงจากดานกราบเรือ ไดเกือบ 3,100 กม.ที่ระยะหวังผล 4,600 ถึง 6,500 ม. และระยะยิงไกลสุด 19,000 ม. เกินจากระยะหวังผลของเครื่องหาระยะของกองทัพเรืออังกฤษ ฟชเชอรไดขนานนาม การปฏิวตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

216การสรา งสรรคข องตนวา อาวุธ “พระคมั ภรี เ กา (Old Testament)”910 ผูบัญชาการทหารเรือ (First Sea Lord) คนดังกลาวไดดําเนินการตอจากเรอื รบหลวงเดรดนอท (HMS Dreadnought) โดยรวดเร็วดวย “พระคัมภีรใหม(New Testament)” คือเรือรบหลวงอินวิ๊นซิเบิ้ล (HMS Invincible) ซ่ึงเปนเรือลาดตระเวนที่มีปนใหญขนาดใหญท้ังหมด ดวยระวางขับน้ํา 17,200 ตันเรือลาดตระเวนหุมเกราะนี้เปนแบบที่ถูกจัดหลังป 1912 (พ.ศ.2455) วาเปนเรือลาดตระเวนโจมตี มีความเร็ว สูงสุด 25 นอต และอาวุธหลักคือปนใหญ 12 น้ิว8 กระบอก เรือนี้ถูกออกแบบใหทําหนาที่เปนปกเคล่ือนท่ีเร็ว เพื่อเสริมกําลังทางหนาหรือหลังของกองเรือรบ และเพื่อใหสามารถคนหาเรือโจมตีท่ีแฝงอยูในคราบเรือสินคาติดอาวุธท่ีเคล่ือนท่ีเร็วที่สุดของเยอรมัน ซ่ึงจากการศึกษาไดพบหลักฐานท่ีใหขอเสนอแนะวา จริงๆ แลว ฟชเชอรเห็นวาเรืออินว๊ินซิเบ้ิลเหมาะท่ีจะเปน“เรือรบหลัก (Capital ship)” ในอนาคตมากกวา เรือเดรดนอท หรือในอีกนัยหนึ่งฟชเชอ รพ ยายามออกแบบ เรือลาดตระเวนโจมตี มากกวา การปฏิวตั ิเรอื รบ1011 การปฏิวัติในอาวุธที่ติดต้ังหมายถึงการละท้ิงท้ัง “การระดมยิงหากระสุน(Hail of fire)” ตามแนวทางของเนลสันท่ีไดยึดถือกันมานาน และรวมทั้ง“การยิงแนวราบ (Horizontal fire)” ของป 1890 (พ.ศ.2433) ท่ีเพ่ิงผานมาแมแตกอนที่จะมีเรือเดรดนอท นาวาเอกเพอรซี่ สกอทท (Percy Scott)ไดยกเลิกการเล็งแบบศูนยเปดท่ัวไป แทนดวยการใชกลองเล็งระยะไกล(Telescopic sight) ที่ลดความคลาดเคลื่อนเชิงมุมในการเล็งลงไดอยางมากระบบ “การเล็งตอเน่ือง” ของสกอทท (Scott) ชวยเพิ่มคาเฉลี่ยในการยิงถูกเปาหมาย 10 ขอ มูลปนใหญ: Breyer, Schlachtschiffe, หนา 126. 11 ขอถกเถียงนี้เปนคํายืนกรานแรกสุดและกราวท่ีสุดท่ีเสนอโดย Sumida,In Defence of Naval Supremacy; สําหรับคํากลาวเม่ือเร็วๆ น้ี ดู NicholasA. Lambert, “Admiral Sir John Fisher and the Concept of FlotillaDefence, 1904-1909,” Journal of Military History 59 (1995), หนา 639-60. เฮอรวิก

217ของกองเรือในการทดสอบพลยิงปนเรือ (Gunlayer’s Test) และการซอมรบประจําปจากต่ํากวา รอยละ 50 เปนเกือบรอยละ 80 ในป 1907 (พ.ศ.2450) ระบบ“การระดมยิง (Salvo firing)” ภายใตการควบคุมแบบรวมการ ซึ่งเพิ่มความสําคัญของคําวา “การควบคุมการยิง” อํานวยตอการติดตามการกระทบเปาหมายของกระสุนไดดีข้ึน ซ่ึงทําใหแมนยําข้ึน ในการซอมรบป 1907 (พ.ศ.2450) เดียวกันเรือรบหลวงเดรดนอทยิงถูกเปาหมาย 25 นัด จาก 40 นัด ที่ระยะ 7,400 ม.ท่ีนาทึ่งกวา เรือนี้ยิงกระสุนไป 9,660 กก. ใน 8 นาที ซ่ึงมากกวาเรือรบอื่นใดรอ ยละ 75 ในทางยทุ ธวธิ ี ฟช เชอ รไ ดจ ดั เรือเดรดนอทใหมอ อกเปนหมเู รอื หมลู ะ4 ลํา ซ่ึงแทบจะมีลักษณะเหมือนกันท้ังหมดท่ีไดรับการออกแบบเพ่ือทําการรบเปน หนวยยอยภายในกองเรือรบหลัก อยางไรก็ตาม การขาดเคร่ืองมือในการจับวิถีการแลนและความเร็วของเรือรบขาศึกสรางปญหาแกพลยิงปนเรือเปนเวลาหลายปกวาจะไดผล อาเธอร พอลเลน(Arthur Pollen) พลเรือนคนหนึ่งไดแสดงวิธีการทางคณิตศาสตรวา จากการเล็งเพ่ือยิงเปาหมายในระยะเริ่มตนท่ีระยะ 9,200 ม. ถาวิถีของ กระสุนขนาด 6 น้ิวสูงขึ้น 60 ฟลิปดา ระยะจะเปล่ียนไปเกือบ 830 ม. จากนั้นพอลเลนก็ไดทดลองจนสําเร็จผลดวยระบบกลไกการควบคุมการยิงที่มีลักษณะเดนของเครื่องหาระยะรักษาระดับการทรงตัวดวยแรงเฉ่ือยของลอหมุน (Gyroscopically stabilizedrange-finder), เครอ่ื งกําหนดเสน ทางเดนิ เรืออตั โนมตั ิ (Automatic true-courseplotter), เครื่องคํานวณระยะทางและพิกัด, และระบบต้ังศูนยเล็งอัตโนมัติ(Automatic sight-setting)1112 แตการตอสูกับระบบเจาขุนมูลนายภายในกองทัพเรือ,การชิงดีชิงเดนในหมูคณะ, และการประหยัดของฝายงบประมาณของกระทรวงทหารเรืออังกฤษผสมกัน ทําใหเกิดความลาชาในการนําระบบควบคุมการยิงของพอลเลนมาใช จนกระทั่งผานสงครามโลก ครั้งที่ 1 ไปแลวครึ่งทาง 12 Sumida, In Defence of Naval Supremacy, หนา 46ff. การปฏวิ ัตกิ องเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

218ซ่ึงกองเรืออังกฤษ (Great Fleet) ไดแลกความผิดพลาดเหลานี้อยางมากมายในสงครามจ๊ตั แลนด (Battle of Jutland) เมอ่ื ป 1916 (พ.ศ.2459) ใ น ร ะ ดั บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ฟ ช เ ช อ ร ต ร ะ ห นั ก ดี ว า วั น ต า ง ๆ ข อ ง“สองมหาอํานาจคูแขง (Two-power standard)” ไดจบไปแลว คูแขงของอังกฤษ คือ จักรวรรดิเยอรมัน (Imperial Germany) และสหรัฐฯ ไมใชฝรั่งเศสและรัสเซีย ผลก็คือ ฟชเชอรไดนํานโยบาย “กลาหาญแบบนโปเลียนและรอบคอบแบบครอมเวลล (Napoleonic in its audacity and Cromwellian in itsthoroughness)”1213 มาใช และในป 1904-05 (พ.ศ.2447-48) ไดปลดระวางเรือเพ่ือการสงคราม (Warship) ไปไมนอยกวา 154 ลํา โดยท่ี 17 ลํา เปนเรือรบ(Battleship) ซ่ึงผูบัญชาการทหารเรือคนดังกลาว ไมเพียงแคเพื่อจํากัดตัวอยางของขอผิดพลาดเล็ก ๆ นอย ๆ ของเรือตาง ๆ ของกองทัพเรืออังกฤษ ทั้งนี้มีหลายลําท่ีมีอยูเพียงแคเพื่อใชในการเดินทางของบรรดาทูตไปยังทาเรือตาง ๆในตา งประเทศทอี่ ยโู พนทะเล นอกจากน้ี ผูบัญชาการทหารเรือผูน้ียังไดปรับปรุงโครงสรางในการบังคับบัญชาและการกระจายไปยังสวนตาง ๆ ตามภูมิภาค,รวบรวมหมูเรืออิสระตาง ๆ ในแปซิฟก, แอตแลนติกใต, อเมริกาเหนือ, และอินเดียตะวันตก เปนกองเรือตะวันออก (Eastern Fleet) โดยมีฐานอยูท่ีสิงคโปรและหมูเรือพิฆาตท่ี 4 (4th Cruiser Squadron) เปนกองหนุนทางยุทธศาสตรกองเรือนานน้ําอังกฤษ (Home Fleet) ไดเปล่ียนช่ือเปน กองเรือชองแคบ(Channel Fleet) เพมิ่ เรือรบ จาก 8 ลํา เปน 12 ลํา มีฐานอยูที่ โดเวอร (Dover)และถอนเรือรบ 5 ลํา จากจนี มาเสรมิ ในป 1905 (พ.ศ.2448) ฟช เชอ ร เปล่ียนชื่อกองเรือชองแคบ (Channel Fleet) เปนกองเรือแอตแลนติก (Atlantic Fleet)และใหม ที ีต่ ง้ั อยูทย่ี ิบรอลตา ซง่ึ อยูใ นระยะการเดินทางดวยเรอื ไอน้ําของอังกฤษ 4 วัน 13 Arthur J. Marder, From the Dreadnought to Scapa Flow: TheRoyal Navy in the Fisher Era, 1904-1919, 5 vols. (London, 1961-70),vol. 1, หนา 40. เฮอรว ิก

219โดยมีกําลังเรือรบช้ันลาสุด 8 ลํา ซ่ึงกองเรือนี้เตรียมพรอมท้ังเพ่ือสนับสนุนกองเรือชองแคบ หรือเพ่ือสนับสนุนกองเรือเมดิเตอเรเนียน (Mediterranean Fleet)ที่ตั้งอยูที่มอลตา (Malta) ฟชเชอรกําหนดวากองเรือหลัก ๆ ตองฝกผสมปละสองครง้ั โดยหน่ึงหมเู รอื ของเรือประจญั บานสนับสนนุ แตล ะกองเรอื ตามท่ีฟชเชอรไดจัดวางกําลังดวยพลังและสายตาของตนสําหรับแนวความคิดท่ีสําคัญ คือ “เราไมสามารถมีทุกสิ่งหรือแข็งแกรงในทุกที่ ซึ่งเปนส่ิงไรประโยชนท่ีจะแข็งแกรงในยุทธบริเวณรอง แตไมมีอํานาจกําลังรบเหนือกวาท่ีจะเอาชนะในยุทธบริเวณที่แตกหัก” ป 1905 (พ.ศ.2448) ฟชเชอรไดรวมกําลัง3 ใน 4 ของเรือรบอังกฤษตอเยอรมัน ปจจุบันกองเรือของอังกฤษจะซอมรบณ พื้นที่ที่นาจะเกิดการรบมากที่สุดตามคํากลาวของเนลสัน ซ่ึงเปนวีรบุรุษของฟชเชอร “การรบทางบก ควรฝกซอมรบบนบก (The battle ground shouldbe the drill ground)”1314 ในป 1912 (พ.ศ.2455) วินสตัน เอส. เชอรชิลลรัฐมนตรีกระทรวงทหารเรือ ไดปรับการใชกองเรือของฟชเชอร จนไดขอยุติที่สมเหตุผล เชอรชิลลยายฐานของกองเรือรบจากมอลตาไปยังยิบรอลตา และเปลี่ยนกองเรือแอตแลนติกไปเปน กองเรือนานนํ้าอังกฤษ (Home Fleet) ซึ่งไดกลายเปนหมูเรือรบท่ี 3 (3rd Battle Squadron) โดยตอมาไดทําความตกลงกับฝรั่งเศสในการชวย คมุ ครองผลประโยชนของ อังกฤษในเมดเิ ตอเรเนียน จากการศึกษาการปฏิวัติยุทธศาสตรของฟชเชอรไดเพ่ิมมิติใหมนิโคลาส เอ. แลมเบิรท (Nicholas A. Lambert) กลาววาฟชเชอรพยายามปรับปรุงยุทธศาสตรและโครงสรางกําลังกองทัพเรืออังกฤษเพ่ิมเติม โดยลดความสําคัญของกองเรือรบทั่วไปในการสนับสนุนการปฏิบัติการที่แยกกันสองประการ คือกองเรือรบหลักของเรือประจัญบานเพื่อปองกันผลประโยชนของจักรวรรดิอังกฤษและ “กองเรือปองกันขนาดเล็ก (Flotilla defence)” ท่ีใหความสําคัญท่ีเรือตอรปโด 14 เร่ืองเดยี วกัน, หนา 40-3 (อา งตนฉบบั เดมิ ). การปฏิวตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

220และเรือดําน้ําเพื่อปองกันการรุกราน โดยการโจมตีการเคลื่อนยายกําลังและการคุมกันของขาศึกในนานน้ําของประเทศ1415 แตการปฏิบัติทางทหาร และสิ่งท่ียึดถือมาแตดั้งเดิมท่ีจะเกิดขึ้น การปฏิบัติการทางทหารตอเหตุการณฉุกเฉินใด ๆเบี่ยงเบนจากที่เคยปฏิบัติมาด้ังเดิมของกองทัพเรืออังกฤษในการใชเรือรบหลัก(Capital ship) อยา งมาก “แจคก้ี” ฟชเชอร ฉลาดพอที่จะตระหนักวาการเปล่ียนแปลงที่รุนแรงตองปฏิรูปการฝกและศึกษาอยางมากเทา ๆ กัน โดยนโยบายของกองทัพเรือเปนสิ่งที่มากกวาการทําเพียงแค “การเสริมสรางอาวุธยุทโธปกรณไปสูเปาหมาย(Ordnance on target)” สําหรับยุคหนึ่งที่การตัดงบประมาณกระทบมากที่สุดตอการศึกษาและการฝกมากกวาอาวุธยุทโธปกรณ การปฏิรูปกําลังพลของฟชเชอรระหวางป 1903 (พ.ศ.2446) และป 1905 (พ.ศ.2448) ถือเปนคําสั่ง โดย“โครงการเซลบอรน (Selborne Scheme)” ท่ีไดรับการขนานนามตามรัฐมนตรีกระทรวงกองทัพเรือคนตอไป วิลเลียม (William) เอิรลคนที่สองแหงเซลบอรนซ่ึงไมไดเขมงวดนอ ยไปกวา การปฏิรปู ทางเทคนคิ , ทางยุทธวิธี และทางยุทธศาสตรของฟชเชอร ฟชเชอรไดออกคําส่ังวา ตนเรือ, ตนกล, และนายทหารนาวิกโยธินของอังกฤษตอ งเขา รับการศึกษาและการฝกรวมกัน ในชวงน้ันการฝกนักเรียนนายเรือตองเสียคาใชจาย 1,000 ปอนด จึงจํากัดเฉพาะผูสมัครเปนนายทหารเรือท่ีร่ํารวยฟช เชอ รไ ดปราศรัยตอ ชาตวิ า “เรากําลังผลิตบรรดานายพลเรือเนลสันของเราจากชนช้ันที่จํากัดเกินไป (We are drawing our Nelsons from too narrow aclass)”1516 ดงั นนั้ ตามคาํ แนะนาํ ของเซอร จูเลียน คอรเบ็ทท (Julian Corbett)ฟชเชอร ไดตัดสินใจสรางแหลงฝกรวมแหงใหม คือ วิทยาลัยการทัพเรืออังกฤษ(Britannia Royal Naval Collage) ที่ดารทมัธ (Dartmouth) เพ่ือใหการ 15 Lambert, “Admiral Sir John Fisher and the Concept ofFlotilla Defence”. 16 Marder, From the Dreadnought to Scapa Flow, vol. 1, หนา 30-1. เฮอรวกิ

221ศึกษาทั่วไป 4 ป แกนักเรียนนายเรือ เทากับที่โรงเรียนท่ัวไปสอน ซึ่งการสอนจะเนนที่วิชาคณิตศาสตร เคร่ืองกล ความรอน และไฟฟา, วิทยาศาสตรและการฝกปฏิบัติงานชาง, บทประพันธและวรรณกรรมของฝรั่งเศส และอังกฤษ,ประวัติศาสตรท่ัวไปและ ประวัติศาสตรทหารเรือ, และความรูทางภูมิศาสตรการวางแผนและควบคมุ เสนทางการเดนิ เรือ การควบคมุ เรือ และศาสนา การปฏิรูปท่ีแรงที่สุดของฟชเชอรในสวนของนายทหารสัญญาบัตร คือฟชเชอรออกขอกําหนดวา แนวทางรับราชการของนายทหารสัญญาบัตรพรรคกลินจะไมแ ตกตา งและมเี กียรตติ ่าํ กวา อกี ตอไป แตจะแตงตัง้ ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะควบคูไปกับพลยิงปนเรือ, พลตอรปโด, และผูท่ีทําหนาท่ีวางแผนและควบคุมเสน ทางการเดินเรอื ซึ่งฟชเชอ รไ ดต ดิ ตามการปฏิรูปกองทัพเรือสหรัฐฯ ในป 1899(พ.ศ.2442) อยางใกลชิดซึ่งไดขอยุติในการแบงระหวาง “Line (สายอาชีพ)”กบั นายทหารพรรคกลนิ 1617 และฟช เชอรตระหนักเปน อยา งดีถึง แรงกดดันของสาธารณะทีม่ จี ากสมาคมและหนงั สอื พมิ พสายวชิ าชีพ ที่จะใหการยอมรับท่สี มควรแกพรรคกลินฟชเชอรยังกังวลเก่ียวกับการขาดแคลนผูมีความสามารถท่ีเกิดขึ้น โดยในป 1900(พ.ศ.2443) กองทัพเรืออังกฤษมีนายทหารพรรคกลินเพียง 961 นายจากอัตราอนุมัติ 1,497 นาย ดังน้ัน ฟชเชอรจึงเปลี่ยนเปาหมายจากประเพณีเดิมเพ่ือลบภาพที่วาพรรคกลินเปน “กลุมที่ดอยกวา (Lesser breed)” ในสายตาของ“ตนเรือ (Executive Naval Officers) ซึ่งเปนเหมือนพระผูศักดิ์สิทธิ์”และเพื่อสรางความสอดคลองในสถานภาพท่ีเทาเทียมของพรรคกลินวาเปน“นายทหารสัญญาบัตร” แตก็เปนเร่ืองท่ียากท่ีจะลบภาพท่ีมีมาเปนสิบ ๆ ปของพรรคกลินท่ีถูกมองวาเปน “คนหยอดนํ้ามัน (Greasers)” หรือ “คนขับเรือ(Chauffeur admirals)” ซง่ึ ตามที่ไดม ผี ปู ระเมินไว นักเรยี นทาํ หนา ทีน่ ายทหารเรอื 17 เรอื่ งเดียวกนั , หนา 49. การปฏวิ ัติกองเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

222(Midshipmen) มีเพียง 1 นาย จาก 20 นาย จากดารทมัธ (Dartmouth)ท่สี มคั รเปน พรรคกลนิ กองทัพเรือของจักรวรรดิเยอรมัน (Imperial German Navy) เผชิญกับการขาดแคลนพรรคกลินเชน เดียวกัน แตป ฏเิ สธทจี่ ะปฏริ ูปตามรูปแบบท่ีกองทัพเรือสหรัฐฯ หรือฟชเชอร-เซลบอรน (Fisher-Selborne) ไดเปนตัวอยาง นายทหารพรรคกลินในเยอรมันทั้งหมด ไดรับการฝกในโรงเรียนนายทหารพรรคกลิน(Engineer Officer School) แยกจากโรงเรียนทหารเรือ (Navy School) สําหรับผูท่ีจะเขา รับการพิจารณาเปนตนเรือ (Executive officer) พรรคกลินเหลาน้ีไมไดประดับสายสะพาย (Sash) หรือมงกุฎที่ไหล หรือปลอกแขนเสื้อ หรือเคร่ืองแบบสโมสรของนายทหารสัญญาบัตร ทหารเหลานี้อาจเพียงไดเปน สมาชิก “พิเศษ”ของสโมสร (Kasino (หองพักผอน)) นายทหารสัญญาบัตร และไมสามารถเยี่ยมหรอื แลกเปลีย่ นนามบตั ร (Exchange visiting cards) กบั ตนเรอื ตา ง ๆ บนบกไดทหารเหลาน้ีไมอยูในการควบคุมของศาลเกียรติยศทหาร (Military honor courts)ซึ่งตามหลักการแลวกําลังพลเหลานี้ยังไมมีเกียรติยศเทียบเทาตนเรือ คํานําหนาคูสมรสของกําลังพลเหลานี้ ใชคําวา “Women (สตรี)” สวนของตนเรือ ใชคําวา“Ladies (สุภาพสตรี)” หองอาหารบนเรือของกําลังพลเหลานี้แยกจากของตนเรือและตามหลักการแลว นายทหารพรรคกลินท่ีอาวุโสท่ีสุด ก็ยังเปนรองกวา แมแตตอเรือตรที ีช่ ั้นยศตํ่าสุด นายพลเรือวอน เทอรพิทซ (von Tirpitz) รวมท้ังผูท่ีอยูรวมสมัย และผูสืบทอด มองวาพรรคกลินเปนเพียง “ท่ีปรึกษาทางเทคนิค” ท่ีสามารถทําไดดีท่ีสุดคือ ควบคุมเครื่องจักร แตตนเรือ (Executive officer) เปน “กําลังรบ”ที่บังคับบัญชาลูกเรือ และเรือในนามของกษัตริยแหงจักรวรรดิ (His ImperialMajesty) เทอรพิทซไดกระทําอยางเต็มท่ี เพ่ือขัดขวางไมใหกําลังพลพรรคกลินเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคนิค (Technical Universities) ชั้นเลิศตาง ๆของเยอรมัน เน่ืองจากเกรงวาการศึกษาอยางเปนทางการสูงขึ้นอาจทําใหตองการความเทา เทียมกันทางสังคม และแมแตในทางทหารการขาดศรัทธาของเทอรพิทซ เฮอรวิก

223สําหรบั สง่ิ ทีเ่ ขาไดอ ธิบายวาเปน “เรื่องผสมปนเปที่สับสน (Hodge-podge)” ของบรรดานายทหารในรูปแบบของอเมรกิ ายงั คงดํารงไปจนเกนิ กวา ป 1917 (พ.ศ.2460)เม่ือนายพลเรือ ไรนฮารด เชียร (Reinhard Scheer) ไดตัดสินอีกครั้งตอ“การรวมกันโดยสมบูรณของสองเหลาดังกลาว” ซึ่งเชียรยังคงยืนกรานวา“อาํ นาจในการบังคับบัญชา เปนเรื่องของตนเรือ (The power to command isthe concern of the executive officer)” ทั้งนี้ เหตุผลทางเทคโนโลยีไมมีอํานาจตอ แนวคดิ ท่สี ืบทอดกนั มาของนายทหารเรอื ปรัสเซีย-เยอรมนั 1718 ฟชเชอ รดาํ เนนิ การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของตนจาก 4 องคประกอบหลักคือ การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีมีอยูเพื่อสรางเรือรบและเรือประจัญบานช้ันใหม,การปรับโครงสรางสถานีเรือตาง ๆ และการบังคับบัญชาในการดําเนินการตามยุทธศาสตรใหม, การลดเรือรบท่ีลาสมัยและเรือของคณะทูตที่ไมใชเรือรบ,และการปรับปรุงการศกึ ษาและการฝกของนายทหารสญั ญาบตั รท่ีดารทมธั (Dartmouth)การใชเทคโนโลยีที่มีอยูอยางสมเหตุผลและเหมาะสมของฟชเชอร และการปรับโครงสรางท่ีเกาแก ทําใหสิ่งน้ีเปนการปฏิวัติทหารเรืออยางแทจริงครั้งแรก ตั้งแตการปรากฏของเรอื รบในศตวรรษท่ี 17 “การปฏิวัติของฟชเชอร (Fisher revolution)” ยังนํามาซ่ึงการแขงขันดานอาวุธคร้ังแรกของโลกและแสดงใหเห็นถึงคาใชจายท่ีเก่ียวของ ตามคํากลาวของแลมเบิรท (Lambert) แรงกดดันของรัฐบาลตอกระทรวงทหารเรืออังกฤษใหประหยัดลงอยางมากในการประมาณการของกองทัพเรือที่สูง เปนแรงผลักดันอยางย่ิงในการปฏิรปู กองทัพเรือของผูบัญชาการทหารเรือคนดังกลาว1819 กาวยางท่ีเพ่ิมข้ึน 18 Holger H. Herwig. “Luxury” Fleet: The Imperial German Navy1888-1918 (London, 1987), หนา 123-30 (อางขอ ความดั้งเดิม). 19 Nicholas A. Lambert, “British Naval Policy, 1913-1914:Financial Limitation and Strategic Revolution,” Journal of Modern การปฏิวัตกิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

224ของการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีหมายความวาบรรดาเรือรบหลักใหม ๆไดเ ริ่มลาสมัยอยางรวดเร็วมากข้ึน และทําใหตองใชจายมากขึ้นในการวิจัยและพัฒนาเรือรบตนแบบใหม ๆ การประมาณการของกองทัพเรือ ทําใหกระทรวงการคลังตกอยูภายใตแรงกดดันท่ีรุนแรง จากการทราบวารัฐบาลเสรีนิยมใหม พิจารณาผลักดันโครงการปฏิรูปสังคมที่ใชงบประมาณสูง ทําใหป 1909 (พ.ศ.2452) และหลังจากนั้นไดเ กิดความขดั แยงเร่ืองภาษกี ับสภาขุนนาง (House of Lords) ท่ีดอ้ื รน้ั อยางมาก เยอรมันก็มีแรงกดดันทางการเงินยิ่งกวาอังกฤษ เทอรพิทซตองทําตามแผนกาวกระโดดในการดําเนินการเกี่ยวกับเรือรบติดอาวุธหนัก (Dreadnought)ของฟชเชอร บรรดาผูวางแผน, รัฐบาล, สภาลาง (Reichstag – ไรซทาก),และสหพันธรัฐ (Federal states) ไดคัดคานการเพ่ิมคาใชจายของกองทัพเรืออยางมากในทุก ๆ จุด เรอื รบตดิ อาวุธหนกั (Dreadnought) ลําแรกของเทอรพิทซ คือเรือชั้นแนสซอ (Nassau) ทําใหตนทุนตอหนวยเพิ่มขึ้นมากกวา เรือรบชั้นดอยชแล็นด(Deutschland) เมื่อกอนหนาน้ี 15 – 20 ลานมารก ขนาดที่เพิ่มข้ึนอยางมากของเรือรบใหมเหลานี้ทําใหตองเสียคาใชจายเพิ่มเติมเพ่ือขยายอูเรือ, หองตอเรือ(Lock), และคลองตา ง ๆ ซึ่งระหวา งป 1907 (พ.ศ.2450) และ 1918 (พ.ศ.2461)จักรวรรดิเยอรมัน (Reich - ไรซ) ไดใชจายในลักษณะน้ีไปประมาณ 244 ลานมารกรวมท้ัง 115 ลานมารก สําหรับคลองไกเซอร-วิลเฮม (Kaiser-Wilhelm)เพียงอยางเดียว ความพยายามที่จะชดเชยจํานวนเงินท่ีขาดดวยภาษีมรดกแตพอสมควร ทาํ ใหเ กดิ การกอ การของกลุมอนุรักษนิยมตอ ตา นรัฐบาลอยางเตม็ รปู แบบและ “กองเรือที่อัปลักษณ (Ugly fleet)\" ท่ีชวยเรงการเปล่ียนตัวเสนาบดีเจาชายเบิรนฮารด วอน บิวโลว (Bernhard von Bülow) โดย ทีโอบอลด วอนเบทแมนน-ฮอลเวก (Theobald von Bethmann-Hollweg) ในป 1909(พ.ศ.2452) ซึ่งกษัตริยไกเซอร วิลเฮม ท่ี 2 (Kaiser Wilhelm II) ไดแสดงความรูสึกในสิ่งท่ีพระองคเรียกวา “เกลียวที่ไมมีท่ีส้ินสุด” ดานการเงินการคลังที่History 67 (1995), หนา 595-626. เฮอรว ิก

225“นากลัว”1920 (“ghastly” financial “screw without end”) ซึ่งรัฐมนตรีไมนอยกวาสามคนของกระทรวงการคลัง (เฮอรแมนน วอน สเตงเกล (Hermannvon Stengel), เรโนลด ซีโดว (Reinhold Sydow), และอดอลฟ เวอรมุท(Adolf Wermuth)) ไดลาออกจากตําแหนงแทนท่ีจะรับผิดชอบการเปนหน้ีสินของเยอรมนั การปฏวิ ัติหรอื วิวัฒนาการ (Revolution or Evolution) แมการปฏิวัตินี้จะนาประทับใจ แตก็ไมควรทําใหเราเชื่อวา “การปฏิวัติ”ของฟชเชอรจะสมบูรณช่ัวขามคืน หรือการปฏิวัติน้ีใหประโยชนที่ย่ังยืนแกอังกฤษฝายเดียวตามท่ีไดกลาวไปแลว ความเช่ือเกาแกท่ีฝงลึกอยูภายในกองทัพเรืออังกฤษ ไดพยายามที่จะขัดขวางแผนงานของฟชเชอร “กลุมบุคคลที่ไมพอใจ (Syndicate ofDiscontent)” ในคําชี้แจงที่เหมือนนํ้ากรดของผูบัญชาการทหารเรือภายใตการนําของนายพลเรือ ลอรด ชารลส เบเรสฟอรด (Charles Beresford)ผูบัญชาการกองเรือชองแคบ (Channel Fleet) (ป 1907-09 (พ.ศ.2450-52)กลาวอยางรุนแรงในส่ิงที่เบเรสฟอรดเรียกวา ฟชเชอร “คนวิกลจริตที่อันตราย”(“Dangerous lunatic” Fisher) คนกลุมน้ีกลาวหาวาการปฏิรูปของผูบัญชาการทหารเรือดังกลาว ต้ังแตโครงการเซลบอรน ไปจนถึงนโยบายกําจัดเรือเกา ตั้งแตการยายที่ต้งั กองเรือ ไปจนถึงรูปแบบของเรือรบและเรือประจัญบานท่ีเปล่ียนแปลงใหมแบบปฏิวัติ เปนการถอยหลัง และอันตราย2021 เบเรสฟอรดและพลเรือตรีจอหนเจลลิโค (Rear Admiral John Jellicoe) ซึ่งตอมา ไดบัญชาการกองเรือใหญ(Grand Fleet) ท่ีจต๊ั แลนดในป 1916 (พ.ศ.2459) ไดปฏิเสธคํากลาวของฟชเชอร 20 Herwig, “Luxury” Fleet หนา 89. 21 ดู Richard Hough, Admiral of the Fleet: The Life of JohnFisher (London, 1969), หนา 212. การปฏิวตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

226ที่วา “กองเรือเล็ก (Flotilla defence)” สามารถปองกันชาติจากการรุกรานไดโดยเรือดํานํ้ายังคงเปนอาวุธที่ยังไมไดทดลองใช และกองเรือตอรปโด (Torpedo-boat flotillas) ถาไมใชเรือท่ีมีเกราะหนาคุมครอง ก็จะตกอยูในเง้ือมมือของกองเรือรบใหญท่ีรุกราน เหนืออื่นใด คนเหลาน้ีโตแยงวา ในอนาคตบางครั้งกองเรือรบอังกฤษจะไมมีทางเลือก แตตองเสี่ยงออกไปในทะเลเหนือและตองทําการรบกับขาศึกท่ีเปนไปไดมากที่สุดของตน คือ กองเรือทะเลหลวงของเยอรมัน(German High Seas Fleet)2122 ส่ิงที่อาจสําคัญท่ีสุด ฟชเชอรไมสามารถเปล่ียนแปลงรากฐานของการวางแผนดานเคร่ืองจักรกล หรือวัฒนธรรมเชิงสถาบันของกองทัพเรืออังกฤษไดปลายป 1910 (พ.ศ.2453) นายพลเรือ เซอร อาเธอร วิลสัน (Arthur Wilson)ผูบัญชาการทหารเรือคนตอไป ไดปฏิเสธการใชกระสุนเจาะเกราะแทนกระสุนระเบิดแรงสูง (High-explosive) ท่ัวไป โดยออกคําสั่งวาการยิงของเรือตองกระทําเฉพาะท่ีระยะพอสมควร ท่ีประมาณ 4,600 ม. และยืนยันวาการยึดเกาะเฮลโกลันด (Helgoland) เปนความจําเปนท่ีตองกระทํากอน สําหรับการปดลอมทาเรือตาง ๆ ในทะเลเหนือของเยอรมันอยางแนนหนา วิลสันยังไมมีแนวความคิดใด ๆ ของยุทธวิธีของกองเรือเล็กหรือหมูเรือ ไดคัดคานการต้ังเสนาธิการกองทัพเรือ และตอมาก็ไดเปดเผยตัวเองดวยการตัดขาด อยางเด็ดขาดจากความเปนจริงทางยุทธศาสตร รวมท้ังไมสนใจตอความตองการเรงดวนของกองทัพอังกฤษสําหรับการขนสงทางทะเลไปยังฝร่ังเศส2223 สุดทายเชนเดียวกับสมาชิกตาง ๆ ใน “กลุม” วิลสันไดดูถูกการวิจัยเทคโนโลยีเรือดํานํ้า วาเปน 22 Lambert, “Admiral Sir John Fisher and the Concept ofFlotilla Defence,” หนา 658-9. 23 การประเมินของ James Goldrick ใน J. R. Hill, ed., The OxfordIllustrated History of the Royal Navy (Oxford and New York, 1995),หนา 290-1. เฮอรวิก

227ยานใตน้ําท่ีเหมาะกับการปองกันชายฝงเทาน้ัน และ “เปนปฏิบัติการอยางลับ ๆ,ไมยุติธรรม, และไมมีความเปนอังกฤษอยางยิ่ง”2324 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีไมสามารถที่จะทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติใด ๆ ท่ีสอดคลองกันอยา งชดั เจน ในความคิดตามตําแหนง หนา ท่ี ผูบัญชาการทหารเรอื ของตน จากมุมมองที่กวางกวา ชวงกอนป 1914 (พ.ศ.2457) แมวาเทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงรวดเร็ว แตก็ไมนาท่ีจะทําใหเกิดการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA)แบบอสมมาตรที่ใหขอไดเปรียบท่ีย่ังยืน เทคโนโลยีร่ัวไหลอยางรวดเร็วขามแนวชายแดนตาง ๆ ซ่ึงส่ิงนี้เปนยุคท่ีปลอดจากการเก็บงําความลับทางอุตสาหกรรมและการทหารท่ีมีอยูรวมไปกับและตามหลังมหาสงครามโลก (Great War) และในป 1900 (พ.ศ.2443) รัฐตา งๆ ในยุโรปและนอกยุโรปจํานวนมาก ก็ไดเรียนรูความชํานาญและความสามารถในทางอุตสาหกรรมท่ีจําเปนตอการสรางอาวุธสมัยใหม จริง ๆ แลว จะเปน การสะดวกท่ีสุดและตนทุนถูกท่ีสุด ท่ีจะใชประโยชนจากการวิจัยและการพัฒนาของประเทศอ่นื องั กฤษซื้อสทิ ธิบตั รของครปุ ป สาํ หรับแผนเกราะและชนวน และสิทธบิ ัตรของฮอลแลนดของ American Electric BoatCompany สาํ หรบั เรือดาํ นา้ํ ของตน เยอรมันใชเคร่ืองกังหนั ไอนา้ํ ของพารส นั (Parsons)และหมอตมของชุลทซ-ทอรน่ีครอฟ (Schultz-Thornycroft) ที่ออกแบบโดยองั กฤษ2425 ยกเวนเยอรมันที่พยายามปด บงั ความลับอยางสูงสุดในการออกแบบเรือรบ ซ่ึงสวนใหญเน่ืองจากเจตนาของเทอรพิทซท่ีจะหลบเล่ียงการควบคุมของสภาลาง (Reichstag) จึงทําใหมีความลับทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมสูงผิดปกติ 24 อางใน Marder, Dreadnought to Scapa Flow, vol. 1, หนา 332. 25 ดู Hugh Lyon, “The Relations Between the Admiralty andPrivate Industry in the Development of Warships,” ใน Bryan Ranft,ed., Technical Change and British Naval Policy 1860-1939 (London,1977), หนา 52-7. การปฏวิ ตั กิ องเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

228ตัวอยางเชน ในป 1913 (พ.ศ.2456) กระทรวงทหารเรือบังคับใหบริษัทอารมสตรองสงแบบฐานติดตั้งปนใหญใหโรงงานสรรพาวุธโคเวนทรี (CoventryOrdnance Works) ซ่ึงโรงงานดังกลาวไดใชในการติดตั้งแกเรือรบโดยทันที ภายใตการกอสรางสําหรับอํานาจกําลังรบนอกประเทศ รวมท้ังท่ีนายพลเรือฟชเชอรที่ไดใหสําเนาแบบหมอตมแบบทอ (Tube-boiler) ของอัลเฟร็ด ยารโรว (AlfredYarrow) แกผ ูส รางเรือคปู รบั อีกปจจัยหนึ่งที่มีสวนสกัดความกาวหนาทางเทคโนโลยีแบบปฏิวัติ คือความเชื่อถือไดของเครื่องจักรกล การประดิษฐหรือการทดสอบที่เปนรากฐานทําใหเกิดความไมแนนอนอยางหลีกเลี่ยงไมได ถาผลท่ีไดดูไมนาเช่ือถือการสรางเรือก็จะเปนการดําเนินการที่มากกวาเจตนาที่จะสละความเร็วเปนพิเศษจากเครื่องกังหันไอน้ํา หรือระยะยิงของปนใหญท่ีเพิ่มขึ้นอีกพัน ๆ หลา ที่ผูคาดหวังเชนฟชเชอ รห รือสกอ ททต องการ ตัวอยางเชน บรรดาผูออกแบบเครื่องกําเนิดกําลังของอังกฤษไดใชเกณฑความปลอดภัยของเคร่ืองท่ีเพิ่มน้ําหนักหนวยขึ้นอยางนาสังเกตมากกวาแบบของเยอรมันท่ีเปนคูแขง ในยุคหน่ึงที่สถาปนิกสรางเรือพยายามท่ีจะลดน้ําหนักดวยวิธีการที่มีท้ังหมดเพื่อเพิ่มความเร็ว แตตามที่ฮิ้วจ ลีโอน(Hugh Lyon) นักประวัติศาสตรเกี่ยวกับเรือไดเผย ซึ่งจะเปนเหตุผลสําหรับกลุมอนรุ ักษน ยิ มองั กฤษ โดยเปน สงิ่ ทน่ี า ตกใจอยางยิง่ เมือ่ เม.ย.1918 (พ.ศ.2461)เม่ือเฟองตัวหน่ึงไดแตกในหองเคร่ืองของ เรือประจัญบานเยอรมัน เอสเอ็มเอสมอลทเ ก (SMS Moltke) ทาํ ใหเ รอื สญู เสยี กําลงั ทง้ั หมด2526 สุดทาย ความจํากัดตาง ๆ ท่ีมีของการจินตนาการของมนุษยชาติกับขอจํากัดตาง ๆ ของเคร่ืองจักรกลที่สกัดความกาวหนาแบบปฏิวัติกอนป 1914(พ.ศ.2457) เปนเหตุที่กระทบมากท่ีสุดตอความสําเร็จที่ยากลําบากของเรือดําน้ําในการศึกษาการปฏิบัติการของเรือดําน้ําเยอรมันจากขอมูลท่ีเปดเผย ระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 เผยวา ความเรงดวนสูงสุดที่เทอรพิทซไดใหแกกองเรือรบดังกลาว 26 เรือ่ งเดียวกนั , หนา 59. เฮอรว ิก

229ไดสนองความตองการของจักรวรรดิไรซ (Reich) ไมดีพอ เยอรมันไดแสดงการมองการณไกลที่ดีกวา การมี “ฉลามเทา (Gray sharks)” อาจสรางความอดอยากแกอังกฤษไดอยางแนนอน ตามท่ี เซอร อารเธอร โคแนน ดอยล (Arthur Conan Doyle)ไดกลาวเม่ือ 18 เดือนกอนเร่ิมสงคราม2627 แตในความเปนจริง เรือดําน้ําไมใชระบบอาวุธที่ไดผลกอนป 1914 (พ.ศ.2457) ซ่ึงไมใชเรื่องบังเอิญ เยอรมันเปนมหาอํานาจทางเรอื ทสี่ าํ คญั ประเทศสุดทา ยท่นี ําเรอื ดําน้าํ ไปใช ป 1906 (พ.ศ.2449) เทอรพิทซอนุญาตใหครุปปสรางเรือตนแบบลําแรกเรือชั้นคารพ (Karp) ที่ใชพลังงานน้ํามันกาด (Kerosene) โดยต้ังชื่อวา U-1ซึ่งตอมาไดสรางเรือใชนํ้ามันกาด อีก 14 ลําตามมา ระหวางป 1908 (พ.ศ.2451)กับป 1910 (พ.ศ.2453) แมวาจะมีจุดออนหลายประการ ไมวาจะเปนควันไ อเ สี ย สี ข าวห น าทึ บ เ ป น สั ญ ญ าณ แ ส ดงตํ าแ ห น งข องเ รื อบ น ผิ วนํ้ า ,ระยะการดําพรอมแบตเตอรี่ที่ประจุไฟเต็มเพียง 50 ไมลทะเล ที่ 5 นอตนอกจากน้ี เรือไมมีการติดตอส่ือสารทางวิทยุเม่ืออยูบนผิวน้ํา ซึ่งนาเชื่อถือนอยกวาดําน้ํามาก เรือดําน้ํา (U-boat) ของเยอรมันเริ่มใชเครื่องยนตดีเซลและเข็มทิศระบบลูกขาง (Gyrocompass) ที่จําเปนสําหรับการนําทิศทางในการดาํ นาํ้ เปนการเฉพาะในป 1910 (พ.ศ.2453) สวนเรือดํานํ้าแบบ “D” และ“E” ของอังกฤษไมมีเข็มทิศระบบลูกขาง (gyrocompass) จนป 1914(พ.ศ.2457) เทอรพ ทิ ซใชง บท่ีมอี ยา งประหยดั อยางสมเหตผุ ลสาํ หรับเรอื รบของตนโดยปฏิเสธทีจ่ ะสรางสง่ิ ที่เขาเรียกวา “พิพิธภณั ฑแหงการทดลอง (a museum ofexperiments)”2728 27 ดู Michael L. Hadley, Count Not the Dead: The PopularImage of the German Submarine (Montreal and Kingston, 1995), หนา 14. 28 Herwig, “Luxury” Fleet, หนา 86-7. การปฏิวัติกองเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

230 เปน ทเี่ ขาใจไดสาํ หรับมุมมองของขอจํากดั ของเรือดําน้ํา ไมมีการปรับปรุงหลักนิยมรวมไปกับการพัฒนาเรือดํานํ้าในชวงตน ๆ หลักนิยมของเยอรมันท่ีเหนือกวา ไดกําหนดการใชเรือดํานํ้าดังกลาว เปนหมูเรือผิวน้ําระยะทางสั้น ๆในการปองกันชายฝงดานทะเลเหนือตามแนว เจด-เฮลโกแลนด-ลิสเตอร ทิ๊ฟ(Jade-Helgoland-Lister Tief) โดยอุลริช-เอเบอรฮารด บลูม (Ulrich-EberhardBlum) เรือโทท่ีไรชื่อเสียงของหนวยตรวจเรือดําน้ํา (Submarine Inspectorate)ท่ีคีล (Kiel) เปนผูรับผิดชอบเม่ือ พ.ค.1914 (พ.ศ.2457) สําหรับการศึกษาเฉพาะกอ นสงคราม ทีส่ อถึงบทบาทของเรอื ดาํ นํ้า (U-boat) ในอนาคตในฐานะอาวุธของสงครามไลลา (Guerre de course) ตอเรือพานิชยอังกฤษ การประเมินของบลูมท่ีวาจะตองใชเรือดําน้าํ 222 ลาํ ปดลอ มหมเู กาะอังกฤษ (British Isles) อยางไดผลน้ันไมเปนจริงท้ังหมด2829 แตก็ดึงดูดใจเล็กนอยตอเทอรพิทซซึ่งไรความปรานีในการโจมตีเรือสินคาใด ๆ ที่อาจมีการแฝงเรนบังหนาอยู ซึ่งไมวากรณีใด ๆ เยอรมันมีเรือดําน้ําปฏิบัติการเพียง 24 ลํา สวนใหญเปนเรือใชน้ํามันกาดที่ลาสมัยท้ังกองทัพเรือเยอรมันและคูปรับตองเชื่อมชองวางท่ีกวางขวางท้ังในดานเทคโนโลยีและยุทธวิธีกอนที่เรือตอรปโดท่ีสามารถดํานํ้าไดซ่ึงยังไววางใจไมไดของป 1914(พ.ศ.2457) จะสามารถทําใหเ ห็นศกั ยภาพทแี่ ทจรงิ ของเรือเหลาน้ัน เพื่อวางเดิมพนัอนาคตของกองทัพเรือจักรวรรดิ (Imperial Navy) ตอเรือดํานํ้า (U-boat)จะตองดําเนินการเชนเดียวกับการทดแทนทหารราบและปนใหญของทหารบกดวยเครื่องบินปกสองช้ันของรัมเพลอร ทูบ (Rumpler Taube) และฟอกเกอร(Fokker) ที่หมุ ดวย ผา ใบ 29 ดู Philip K. Lundeberg, “The German Naval Critique of the U-Boat Campaign, 1915-1918,” Military Affairs 27 (1963), หนา 106-07,และ Karl Lautenschläger, “The Submarine in Naval Warfare, 1901-2001,”International Security II (1986-87), หนา 246-7, 254. เฮอรวิก

231 ผลลัพธ (Results) ส.ค.1914 (พ.ศ.2457) ฟชเชอรและผูสืบทอดไดสรางกองเรือที่ทรงอํานาจท่ีสุดของโลก ส่ิงที่เชอรชิลลระบุวาเปน “เพชรน้ําเอก (Crown jewels)” ประกอบดวยเรือรบเดรดนอท 20 ลํา และเรือ ประจัญบานเดรดนอท 4 ลํา ซ่ึงเรือเหลาน้ีเปนสุดยอดทางเทคโนโลยี 4 ประการ คือ ยุทโธปกรณหนัก ความเร็วสูง, กลองเล็งปนใหญระยะไกลรักษาการทรงตัวดวยระบบลูกขาง (Telescopic gyroscope-stabilized gunsight), เกราะเหล็กกลาโลหะ ผสม เคลือบผิวหนาแข็ง (Face-hardened alloy steel armor), และระบบขับเคลื่อนดวยกังหันไอนํ้า (Steam-turbine propulsion) เรือรบหลักเหลาน้ี ซ่ึงมีระบบควบคุมการยิงแบบรวมศูนยท่ีอํานวยตอระยะตอสูที่ไดผลเกือบ 20 ไมล ทําใหอังกฤษมีกําลังทางเรือที่แข็งแกรงท่ีสุด (Rule the wave) ต้ังแตป 1914 (พ.ศ.2457) ถึง 1918(พ.ศ.2461) ทั้งน้ี ไมมีระบบอาวุธอ่ืนใดท่ีจะมาแทนที่ได ไมวาเรือพิฆาตใชตอรปโดบนผิวน้ําหรือเรือดําน้ํา (U-boat) และทุนระเบิดใตผิวนํ้า กองเรือนี้ใชเรือพิฆาตเปนเรือคุมกันในการรกุ -รับ และเรอื ดาํ นา้ํ ไมส ามารถจมเรือรบหลักในขบวนเรือรบไดแ มแตล าํ เดยี วตลอดสงครามดังกลา ว การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของฟชเชอรไดใหคํานิยามของการรบทางเรอื ในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) แตผลทต่ี ามมาแทบจะไมไ ดเปน การปฏิวัติซึ่งผูท่ีสังเกตการณมาต้ังแตยุคของเนลสัน อาจไมเขาใจการรบบนผิวนํ้าคร้ังสุดทายคือ การรบที่จั๊ตแลนดเมื่อ พ.ค.-มิ.ย.1916 (พ.ศ.2459) ขนาดของเรือ และกระสุนปนใหญ และการเปดฉากระดมยิงที่ 10 หรือ 12 กม. ในข้ันตนอาจดูเปนเหมือนนิยาย ท้ังนี้ ไมใชทั้งความรอบคอบอยางย่ิงของผูทําการรบทั้งสองฝาย,ผลที่ตามมาของคาใชจายมหาศาลของเรือตาง ๆ และระดับของเสาหลักดานยุทธศาสตรท่กี ระตุนศรทั ธาของเนลสนั แตเปน กองเรือรบที่ทรงพลังมีการวางแผนพ้ืนฐาน ซ่ึงยิงกระสุนใสกันและกันจนกระทั่งอีกฝายหน่ึงหันหัวเรือและหนีไปซ่ึงเปนการดําเนินการท่ีสืบตอกันมาท้ังสิ้น การรบท่ีจ๊ัตแลนดเกิดข้ึนภายในพื้นท่ี การปฏิวตั ิกองเรอื รบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

232200 x 200 กม. และมีเพียงสองมิติ เคร่ืองบินและเรือดํานํ้ามีบทบาท เพียงแคชวยเหลือและมักลมเหลวในภารกิจ ลาดตระเวนหรือโจมตีเนื่องจากสภาพอากาศที่เลวราย, ทัศนวิสัยไมดี, การชํารุดของเครื่องจักรกล, หรือความสับสนที่ซํ้าเติมดว ยระบบการติดตอสอื่ สารทไี่ มส มบรู ณ อยางไรก็ตาม ยุทโธปกรณใหมเหลานี้กระตุนความสนใจของนายพลเรือฟชเชอรอีกคร้ัง ป 1915 (พ.ศ.2458) ฟชเชอรกําหนดความตองการเรือรบผิวน้ําขนาดใหญ (หรือเรือประจัญบานขนาดใหญ) คือ เรืออินคอมแพราเบิล(Incomparable) ใหมท่ียาว 360 ม., ระวางขับน้ํา 40,000 ตัน, ความเร็ว 35 นอต,และติดตั้งปนใหญ 20 น้ิว 6 กระบอก แตเมื่อส้ินสงครามนักรบเกาดังกลาวก็ไดตระหนักวาเรือรบหลักบนผิวน้ําท่ียิ่งใหญน้ันไดลาสมัยไปแลว เรือบรรทุกเคร่ืองบินสมัยใหมไดเกิดข้ึนในฤดูรอนป 1917 (พ.ศ.2460) ในรูปของเรือประจัญบานเรือรบหลวงฟวเรียส (HMS Furious) ในอดีตไดถูกดัดแปลงโดยเพิ่มดาดฟาสําหรับบินขึ้นขนาด 86 x 21 ม., สายเคเบิลเกี่ยวเครื่องบิน, และเครื่องบินปกสองช้ันซอพวิท พัพ (Sopwith Pup) ถึง 10 ลํา ที่เก็บไวใตดาดฟาเรือ เรือบรรทุกเครื่องบินอีกสองลํา อารกัส (Argus) และอีเกิ้ล (Eagle) มีดาดฟาทางวิ่งท่ีราบเรียบสมบูรณดานบนแบบเฉียงเหมือนเกาะลอยนาํ้ ซ่ึงเปนรูปแบบของเรอื บรรทกุ เครื่องบนิ สมัยใหม มิ.ย.1918 (พ.ศ.2461) เรือรบหลวงฟวเรียสไดทําหนาที่ เรือบรรทุกเคร่ืองบินท่ีปลอยเครื่องบิน ในการโจมตีครั้งแรกตอเปาหมายบนพื้นดินซ่ึงเปนฐานเรือเหาะ(Airship base) ของเยอรมันที่ทอนเดิรน (Tondern) เรือบรรทุกเคร่ืองบินตาง ๆไดเขารวมกับกองเรือใหญ (Grand Fleet) ในฤดูรอนของปน้ัน แตสําหรับการยุติสงครามโดยทันที การโจมตีทางอากาศ-กองเรือผิวนํ้ารวมกันคร้ังแรกอาจเริ่มขึ้นเมื่อป 1918 (พ.ศ.2461) หรือตนป 1919 (พ.ศ.2462) ฟชเชอรกลาวอยางปลาบปลื้มใจมากวา “ทั้งหมดท่ีพวกทานตองการ คือ โฉมหนาปจจุบัน เฮอรวิก

233ของกําลังทางอากาศ ซึ่งคือกองทัพเรือในอนาคต”2930 แตก็มีนายทหารเรืออังกฤษเพียงไมก่ีนายท่ีเขาใจโอกาสท่ีมีในการผสมผสานเรือบรรทุกเคร่ืองบินเขากับเทคโนโลยีที่มีอยู คือ เคร่ืองบินโจมตีดวยตอรปโด จนปลายป 1919 (พ.ศ.2462)หัวหนาแผนกชาง (Technical Branch) ของกําลังทางอากาศกองทัพเรืออังกฤษ(Royal Navy’s Air Arm) ไดกลาวอยางข่ืนขมวา “คุณคาเชิงศักยภาพของอาวุธดังกลาวไดรับการยอมรับกันท่ัวไป แตการพัฒนาก็แทบจะถูกปฏิเสธโดยท่ัวไป”3031จนกระท่ัง เหตุการณที่ทารันโท (Taranto) เมื่อป 1940 (พ.ศ.2483) และเพิรลฮารเบอร เมอื่ ป 1941 (พ.ศ.2484) เคร่ืองบินติดตอรปโดท่ีใชเรือบรรทุกเคร่ืองบินเปน ฐานกไ็ ดบรรลุซงึ่ ความเปน ระบบอาวุธโดยสมบูรณ ใ น ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง แ บ บ ป ฏิ วั ติ ท่ี เ ค ย มี ม า ใ น ค ว า ม คิ ด ข อ ง ต นฟชเชอรหวังอยางยิ่งในโอกาสท่ีจะนําสงครามทางเรือเขาสูมิติท่ีสามภายใตอํานาจทางเรือของอังกฤษ กอนลาออกเม่ือป 1915 (พ.ศ.2458) จากวาระท่ีสองในฐานะผูบัญชาการทหารเรือจากความลมเหลวท่ีชองแคบดารดะเนลส (Dardanelles)ฟชเชอรส่ังสรางเรือดําน้ําช้ันใหมที่มีความเร็วสูงขับเคลื่อนดวยกังหันไอนํ้า ติดต้ังดวยปนใหญ 12 นิ้ว 1 กระบอก และเมื่อส้ินสงคราม ฟชเชอร ไดศึกษาอยางจริงจังเก่ียวกับแผนการท่ีชมชอบในเรือดําน้ําในชวงตน ๆ สําหรับ“เรือดํานํ้าลาดตระเวนโจมตี” ที่มีระวางขับน้ํา 30,000 ตัน, ความเร็ว 30 นอต,และติดตั้งปนใหญ 18 นิ้ว หรือ 20 นิ้ว 8 กระบอก ซึ่งเรือดํานํ้าในสายตาของฟชเชอร “คือเรือรบติดอาวุธหนัก (Dreadnought) แหงอนาคต”31 32 30 อางใน Sumida, In Defence of Naval Supremacy, หนา 211. 31 อางใน Christina J. M. Goulter, A Forgoten Offensive: Royal AirForce Coastal Command’s Anti-Shipping Campaign, 1940-1945(London, 1995), หนา 20. 32 Sumida, In Defence of Naval Supremacy, หนา 263, 318 การปฏวิ ตั ิกองเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

234โครงการนี้พิสูจนวาไมสามารถปฏิบัติไดทั้งทางเทคนิคและทางยุทธวิธี ซึ่งความรายกาจท่ีไมตองพึ่งพาสิ่งใดของเรือดํานํ้านี้รอคอยการกําเนิดของพลังงานนิวเคลียรซ่ึงแนวคิดในการรบผสมเหลา ทางอากาศ, ผิวนํ้า และใตนํ้า รอคอยวันมาถึงซ่ึงการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ทางเรือของศตวรรษท่ี 20 ครั้งที่สองแตรูปแบบท้ังหมดของการพัฒนาในอนาคตก็ไมหลุดพนไปจากของฟชเชอรซงึ่ ปจ จุบนั นับเปน ปที่ 77 ของฟชเชอ รน ับแตส งครามโลกครั้งท่ี 1 ยตุ ิ สรปุ การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของฟชเชอรเผยใหเห็นวาฝนรายของผูวางแผนทางทหารท่ีความกาวหนาทางเทคโนโลยีอยางยิ่ง อาจสงผลทางลบตอการตัดสินใจเรงดวนในสงครามนั้น มีผลคุกคาม นอยกวาท่ีคาดไว3233จากป 1860 (พ.ศ.2403) ถึงป 1920 (พ.ศ.2463) จากเรือรบหลวงวอรริเออร(HMS Warrior) ถึงเรือรบหลวงควีนอลิซาเบธ (HMS Queen Elizabeth)รูปลักษณภายนอก, เคร่ืองกําเนิดกําลัง, การปองกัน, อาวุธ, และระบบควบคุมการยิงของเรอื รบไดเ ปล่ียนแปลงไปอยางมาก ตลอดหวงเวลาดังกลาว เทคโนโลยีใหม ๆทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพ้ืนฐานของขีดความสามารถตาง ๆ ถาไมเปนในดานยุทธวิธีเสมอไปทุก ๆ ทศวรรษหรือมากกวา แตไมมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีเฉพาะใด ๆท่ีมผี ลตอ ชวงเวลาเฉพาะหรอื เปลีย่ นแปลงสงครามทางทะเลอยา งมากมาย(อา งขอ ความด้ังเดิม). 33 ผูเขยี นไดประโยชนอยา งย่ิงจากการวิเคราะหของ Karl Lautenschläger,“Technology and the Evolution of Naval Warfare,” ใน Steven E.Miller and Stephen Van Evera, eds., Naval Strategy and NationalSecurity (Princeton, NJ, 1988), esp. หนา 173-4, 218-20. เฮอรวกิ

235 การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ของฟชเชอรไดมาถึงบั้นปลายของยุคและไมมีผลต้ังแตชวงเร่ิมตนของเทคโนโลยีใหมท้ังหมด เครื่องกําเนิดกําลังดวยไอน้ํา,ปนใหญแบบบรรจุทายลํากลอง, เกราะโลหะผสมเหล็กกลา, เครื่องกังหัน,ชนวนระเบิดคอรไดท (Cordite), และปนใหญ 15 น้ิว ลํากลองยาวที่รายแรงที่สามารถยิงกระสุนไดถึง 32 กม. เปนวิวัฒนาการที่ครอบคลุมยอนหลังไปกวาสองทศวรรษ หรือ มากกวา สิ่งที่ฟชเชอรไดบรรลุคือการรวมหรือผสมผสานเทคโนโลยีท่ีมีเหลานี้เขากับการเปล่ียนแปลง ยุทธศาสตรทหารเรือท่ีรุนแรง,ยุทธวิธี, การศึกษา, และการฝก ซ่ึงตองขยายผลการดําเนินการใหย่ังยืนถึงที่สุดซ่ึงผลก็คือ สิ่งที่ใหมโดยส้ินเชิง ซ่ึงส่ิงน้ีเปนการผสมผสานของการปฏิรูป และเทคโนโลยีตาง ๆ ท่ีทําใหเกิดการปฏิวัติในกิจการทหารของฟชเชอร ซ่ึงเปนการเปลีย่ นแปลงพืน้ ฐานในยุทธศาสตรและ ความสามารถตามภารกิจในการดําเนินการฟชเชอรและพันธมิตรใน “Fish Pond (บอปลา)” ตามที่ไดเจตนา ทําใหกองเรอื รบท่มี ที งั้ หมดปฏิบัติตามกองทัพเรืออังกฤษ หรือไมก็พา ยแพใ นทุกการรบ เทคโนโลยีทําใหเกิดผลลัพธนี้แตไมไดขับเคลื่อน ซึ่งส่ิงนั้นเปนหนาท่ีของนโยบายและยทุ ธศาสตร การพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ โดยการผสมผสานดานอุตสาหกรรมและผูมีอํานาจในกองทัพเรือในป 1880 (พ.ศ.2423) และ 1890 (พ.ศ.2433)ไมใชส าเหตุท่ีจะเกิดข้ึนเองของการปฏิวัติที่ทําใหเกิดกองเรือรบ (Dreadnought fleet)ท่ียิ่งใหญของป 1914 (พ.ศ.2457) แตเปนผูบุกเบิกดานกองทัพเรือเชนฟชเชอรและเทอรพิทซ ซ่ึงเปนคนแรกท่ีใหคํานิยามภารกิจ การดํารงหรือการทําลายความเปนมหาอํานาจทางเรือ ของอังกฤษ ท่ีทั้งสองมีเจตนาที่จะดําเนินการตอไปจากน้ันก็ไดระบุเทคโนโลยีที่จําเปนตอการบรรลุเปาหมาย และจากนั้นก็เพียงแตอํานวยการใหภาคเอกชนหรือรัฐบาลปฏิบัติตามวิสัยทัศนของตนโดยการปรับหรือพัฒนาเทคโนโลยีตาง ๆ เขากับงานน้ัน ไมมีใครรูศักยภาพเต็มที่ของการเปล่ียนแปลงเหลาน้ีลวงหนา และขอจํากัดดานเครื่องจักรกลและทัศนคติของมนุษยก็มักจะตอตานการขยายผลอยางเต็มที่และทันทีของนวัตกรรมที่ชาญฉลาด การปฏวิ ตั ิกองเรือรบ พ.ศ.2428-2457 (The battle fleet revolution, 1885-1914)

236เชน ระบบการยิงแบบรวมศูนยข องอาเธอ ร พอลลเลน (Arthur Pollen) แตในที่สุดดวยความมุงมั่นอยางแรงกลาของความเปนทหารอาชีพและความกระตือรือรนในการแขงขนั ของฟช เชอร, เทอรพทิ ซ, และเหลา ผวู างแผนกไ็ ดเ ชอื่ มตอเทคโนโลยตี าง ๆท่ีมอี ยู ไปเปน เคร่ืองมือท่มี อี าํ นาจทําลายลา ง และความสามารถในการเคล่ือนท่ที นี่ าตกใจ เฮอรว ิก

8 สงครามโลกคร้งั ที่ 1 และกาํ เนิดของสงครามสมยั ใหม01 โจนาธาน บ.ี ไบลี่ย (Jonathan B. Bailey) การปฏิวัติการทหารของสงครามโลกครั้งที่ 1 จุดชนวนสงครามอุตสาหกรรมและอุดมการณ ไปสูการไมยอมผอนปรนและไรความปรานีโดยส้ินเชิงที่ในท่ีสุดในรอบท่ีสองของสงครามในป 1935-45 (พ.ศ.2478-88) ทําใหแนวรบตาง ๆและประชาชนตกอยูใ นกงลอของพระเพลิงและความนากลัวในดานเทคโนโลยีของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติดังกลาวที่ถึงจุดสูงสุดในป 1917-18 (พ.ศ.2460-61)ตามทน่ี ักเขยี นชาวเยอรมันผหู น่งึ กลาวไว “การใชเ ครอื่ งมอื ทางเทคนิคท่ีสมเหตุผลและเหมาะสม ทง้ั ในการโจมตี และการปองกัน” อาจเปนการพัฒนากรอบแนวคิดท่สี าํ คญั ทส่ี ดุ ในประวตั ิศาสตรทีย่ าวนานทั้งหมดของสงคราม12 1 สาํ หรับฉบับทย่ี าวกวา นี้ของเอกสารนีท้ ไ่ี ดป รบั ปรุงในรายละเอียดหลงั ป 1918(พ.ศ.2461) และเรือ่ ง ที่เกย่ี วของในยคุ สมยั ดงั กลา วของการพฒั นาทไี่ ดกลา วไว ดูJonathan Bailey, The First World War and the Birth of the ModernStyle of Warfare, Strategic and Combat Studies Institute OccasionalPaper No. 22, British Army Staff Collage Camberly, 1996. 2 Steven Metz and James Kievit (Strategy and the Revolutionin Military Affairs: From Theory to Policy, Strategic Studies Institute,U.S. Army War College [Carlisle Barracks, PA, 1995], p. v)ใหความหมายของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) วาเปน “discontinuousincrease in military capability and effectiveness arising fromsimultaneous and mutually supportive change in technology,systems, operational methods and military organizations”ผูเขียนคนดังกลาวยังอาง Andrew Krepinevich ที่เพ่ิมเติมวาการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) “fundamentally alters the character andconduct of conflict” (p. 3) Quotation: Colonel Max Bauer, Der GrosseKrieg in Feld und Heimat: Erinnerungen und Betrachtungen(Tübingen, 1921), หนา 70.

238 การพัฒนาดังกลาวเปนกําเนิดของ “รูปแบบสมัยใหมของสงคราม(Modern style of warfare)” คือ การกําเนิดของสงครามสามมิติ (Three-dimensional)ดวยการยิงเล็งจําลองของปนใหญ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานในการวางแผนในระดับยุทธวิธี,ยุทธการและยุทธศาสตรของสงคราม23 โดยการรบสามมิติเปนการปฏิวัติท่ีไดพัฒนากําลังทางอากาศและยานเกราะเปนอยางมากในป 1939-45 (พ.ศ.2482-88)และการกําเนิดของยุคสารสนเทศในทศวรรษตอ ๆ มาในจํานวนท่ีไมมากไปกวาการพัฒนาท่ีเพ่ิมขึ้นและองคประกอบตาง ๆ เม่ือไดวางกรอบแนวคิดไวในป 1917-18(พ.ศ.2460-61) องคประกอบทางเทคโนโลยีและทางยุทธวิธีหลายอยางของการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัตินี้เรงใหเกิดสงครามโลกคร้ังที่ 1 แตการตกตะลึงจากสงครามเปนตัวกระตุนองคประกอบท่ีจําเปนของกรอบแนวคิดของสงคราม จากแนวทางเพื่อจํากัดปญหาทางยุทธวิธีหลังป 1914 (พ.ศ.2457) ไดเกิดโอกาสท่ีไมเคยพบเห็นมากอนที่การโจมตีทางลึกวิธีการใหม ๆ อาจสรางแบบของการยุทธแบบใหมขึ้น และในฐานะเครอ่ื งมือของการดําเนินสงครามทางลึก ที่ตอมาไดเริ่มซับซอนและทรงพลานุภาพมากขึ้น หลักการของลักษณะสมัยใหมของสงครามไดเริ่มเขาครอบคลุมและปจจบุ นั ก็ไดม ีอทิ ธิพลในระดบั ยุทธศาสตร สงครามสามมิติ รูปแบบสมัยใหมของสงครามที่กลาวในหนังสือนี้หมายถึงสงครามขนาดใหญที่มีความรุนแรงสูง ซึ่งในขณะที่รูปแบบน้ีเก่ียวของโดยตลอดกับสงครามตามแบบรปู แบบสมัยใหมย ังเปน มหาสงคราม (ลา กรองเด แกร - La grande guerre) ทเ่ี ผยถงึ รูปแบบที่แทจริงของสงครามท่ชี ัดเจนที่สุด ท้งั นี้ รปู แบบดังกลาวมลี ักษณะตามอุดมคตดิ ังตอไปนี้ 3 สาํ หรบั ววิ ัฒนาการทเ่ี กินกวา ศตวรรษท่ี 20 ของปน ใหญแ ละอํานาจการยงิท่ีเปน ปจ จยั ที่สาํ คัญ ในสงคราม ดู Jonathan Bailey, Field Artillery andFirepower (Oxford, 1989). ไบลีย่ 

239 ก. ครอบคลมุ พนื้ ท่กี ารรบทกี่ วางและเปนสามมิติโดยสมบรู ณ ข. เวลาเปนส่ิงสําคัญย่ิง ซึ่งในแงของจังหวะ (Tempo – ซ่ึงสัมพันธกับความเร็วของการปฏิบัติ) และ ความประสานสอดคลอง (Simultaneity)ความเร็วและการผสมเหลาตาง ๆ ในเวลาและพ้ืนที่ (Space) จะสําคัญกวาสิ่งอ่ืนและสรา งภาระยุงยากท่ีเกนิ ความสามารถในการตัดสินใจของฝา ยตรงกันขา ม ค. การขาวเปน หวั ใจสาํ คญั ในการกําหนดเปาหมายและการดาํ เนนิ กลยุทธ ง. อาวุธยทุ โธปกรณที่มี สามารถทําลายเปาหมายท่ีมีคุณคา สงู ไดอยา งแมนยาํ โดยทว่ั พนื้ ที่ (Space) ของขาศกึ ทง้ั แยกจากกันหรอื รวมกับภาคพื้น จ. ผบู ังคับบญั ชาสามารถปรบั การใชอาํ นาจการยิงเพ่ือบรรลุผลเฉพาะตาง ๆ ได34 ฉ. ระบบการควบคมุ บังคับบัญชา และการตดิ ตอ สื่อสาร (C3) และรูปแบบของการบญั ชาการทผี่ สมผสานคณุ ลกั ษณะตา ง ๆ ขา งตน สามารถทาํ ลายบูรณภาพและความมุงมนั่ ของขา ศกึ ดวยหายนะตา ง ๆ ท่ตี ามมา ในการแปลงไปสูการวางแผนในสนามรบ การรบดวยการรุกแบบงาย ๆอาจมลี ักษณะดงั น้ี ก. ฝายเสนาธกิ ารรวบรวมขาวสารเกีย่ วกับท่ตี งั้ ตา ง ๆ ของขา ศกึท้ังโดยเคร่อื งมือทางอากาศ, อิเล็กทรอนิกส, เสยี ง, และทางทัศนะ ข. ฝา ยเสนาธิการแปลงขา วสารเหลาน้ีไปเปนขา วกรองเกยี่ วกบั เจตนารมณของขา ศกึ และเปา หมาย ท่เี ปน ไปไดตลอดความลึกของท่ีต้ังตา ง ๆ ของขาศึก ค. ผูบ ังคบั บญั ชาและฝา ยเสนาธิการทาํ แผนเพอ่ื บรรลกุ ารเจาะ หรือเจาะผานโดยรวดเรว็ ดวยกําลังดําเนนิ กลยุทธที่จะขม หรือทาํ ลายขา ศึกตามทิศทางการเจาะของตนและตลอดความลกึ ของหวงสนามรบ (Space) ของขาศึก 4 ผลในการสงั หารหรือทไ่ี มถงึ แกชวี ติ ท่แี มน ยาํ ตอ งคดิ ถึงระดับของอาํ นาจการยิงที่ใชอาวธุ กระสุน ที่แมนยําสามารถสรา งผลที่คลายคลึงกัน เชนเดียวกับอาวธุ กระสนุ จาํ นวนมากกวาแตมคี วามแมนยาํ นอยกวา อยา งไรกต็ าม การยิงเปน ปริมาณมากอาจสรางผลในการทาํ ลายขวัญที่การยงิ ท่ีแมน ยาํ ไมสามารถทาํ ได. สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกําเนิดของสงครามสมยั ใหม

240 ง. รวมแผนการยิงเขากับการปฏิบัติการทางอากาศและแผนการดําเนินกลยุทธเพื่อใหไดผลทวีกําลังอยางสูงสุด แผนการยิงจะทําใหเกิดการทําลายขวัญ และการยายที่ตั้ง, สรางปญหาอยางมากแกขาศึก ทันทีท่ีระบบการควบคุมบังคับบัญชาและการติดตอส่ือสาร (C3) ของขาศึกเปนอัมพาต เปาหมายท่ีโจมตี ไดแกกองบัญชาการ, ระบบการติดตอส่ือสาร, ปนใหญ, การสงกําลังบํารุง, สะพาน,และคลัง/สถานีขนสง ตาง ๆ ของขาศึก การยิงจะพรางการตรวจการณของผูตรวจการณของขาศึก, ทําลายที่มั่นแข็งแรง และ การตานทานตาง ๆ,โจมตีท่ีตั้งตาง ๆ ของขาศึกในทางลึก, โจมตีกองหนุนของขาศึกกอนที่จะสามารถเขา รว มในการรบภาคพนื้ ดนิ , ปด กนั้ สนามรบ, ทาํ ลายผูท ห่ี ลบหนี, และพรอมกันนี้กใ็ หก ารสนับสนุนโดยใกลช ดิ แกก ําลงั ดาํ เนนิ กลยุทธท่กี ําลงั ทาํ การรกุ จ. ผบู งั คบั บญั ชาตาง ๆ สามารถปรับน้ําหนักของการยิงตามการแยกแยะเพ่ือขมหรือทําลายไดตามที่ตองการ และสามารถปรับหวงเวลาและปริมาณโดยใชแบบของอาวุธ, กระสุน, และอัตราการยิงที่เหมาะสม ขึ้นอยูกับวาตองการผลการทําลายขวัญฉับพลนั หรอื การลดทอนขวัญของขาศึกอยา งตอ เนือ่ ง ฉ. อุบายและการลวงตาง ๆ รวมถึงแผนการยิงลวงท่ีสมบูรณถาจําเปนรว มกับมาตรการเหลานี้ ช. การวางแผนท่ีมีการรวมการอยางสูงจะกําหนดลักษณะเฉพาะของการปฏิบัติการตาง ๆ เหลานี้ แตผูบังคับบัญชาตาง ๆ ตองพยายามวางแผนเพ่ือโตตอบตอ สถานการณทไ่ี มไดค าดไว รูปแบบท่ัวไปนี้อาจเปนท่ีคุนเคยตอผูท่ีมีความชํานาญการในหลักนิยมยุคสงครามเย็นของกองทัพขององคการสนธิสัญญาปองกันแอตแลนติกเหนือ (NATO)และกองทัพของสนธิสัญญากรุงวอรซอว (Warsaw Pact) ซ่ึงรูปแบบนี้คลายกับการปฏิบัติการขามคลองสุเอซของอียิปตเมื่อป 1973 (พ.ศ.2516) และเหตุการณลาสุดในแผนการของสงครามอา ว (Gulf War) ของฝายพันธมติ ร รวมทง้ั ยังเปนตน แบบสําหรับสงครามท่ีไดรับการทดสอบโดยกองทัพอังกฤษท่ีแคมไบร (Cambrai) เม่ือ พ.ย.1917(พ.ศ.2460) และปรากฏในรูปแบบที่สมบูรณกวาท้ังในการรุกของเยอรมัน ไบล่ีย

241ในฤดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461) “สงครามจักรพรรดิ (Kaiserschlacht)” และในการรุกโตตอบของฝา ยพันธมติ รในฤดรู อ นและฤดูใบไมรว งของปด งั กลา ว45 ลกั ษณะเฉพาะของรปู แบบสมัยใหมข องสงครามที่แสดงเปนขอ ๆ ขางตนไมไดมีความทันสมัยในตัวเอง ผูบังคับบัญชาตาง ๆ ควรเขาใจอยางชัดเจนถึงความสําคัญของเวลา, การรูขาศึก, อํานาจการยิงที่เหนือกวา, และบทบาทของการดาํ เนนิ กลยุทธแตกหัก ยทุ ธวธิ กี ารเจาะเพ่ือสรางผลการทําลายขวัญและทําลายสมดุลมีความเกาเทา ๆ กับการสงคราม ยุทธวิธีน้ีถูกใชโดยกษัตริยอเล็กซานเดอรท่ีกัวกาเมลา(Gaugamela) เมื่อ 331 ป กอนคริสตศักราช (พ.ศ.212), โดยมารลโบโร (Marlborough)ท่ีเบลนไฮม (Blenheim) เม่ือป 1704 (พ.ศ.2247), และโดยนโปเลียนที่เอาสเตอรลิทซ(Austerlitz) เม่ือป 1805 (พ.ศ.2348) จนกระทั่งป 1917-18 (พ.ศ.2460-61)เทคโนโลยีไดอํานวยใหและยุทธวิธีตาง ๆ ทําใหตองนําคุณลักษณะเหลาน้ีมารวมกันในแนวคิด “สมัยใหม” แบบสามมิติที่แตกตางไป ซึ่งเปนการปฏิวัติอยางแทจริงทั้งน้ี นวัตกรรมที่สําคัญคือ การสรางวิธีการรบใหมจากการยิงเล็งจําลองซึ่งการพฒั นาทางเทคโนโลยตี าง ๆ ผสมกบั การต่ืนตัว ในการริเรม่ิ ทางยุทธวิธีที่ถูกขับเคลื่อนดวยความจําเปน ทางยทุ ธศาสตรท ่ีทาํ ใหเ กดิ ผลลัพธท ีเ่ ปน ไปได รูปแบบของป 1917-18 (พ.ศ.2460-61) ดูแทบจะไมลาสมัยในอีก80 ปตอไป แตในป 1914 (พ.ศ.2457) เพียงสามปกอนนั้น รูปแบบนี้ยังไมเปนท่ีคุนเคยโดยส้ินเชิง สงครามในป 1914 (พ.ศ.2457) เปนการดําเนินการแบบไมซับซอนซ่ึงใหความสําคัญตอหลักนิยมท่ีเนนการโจมตีทางปก, การโอบ, และการทําลายลางซึ่งการดําเนินการดังกลาวมุงท่ีการเขาปะทะดวยกําลังรบ โดยใชการดําเนินกลยุทธของทหารมา และทหารราบจํานวนมาก สนับสนุนดวยการยิงตรงของปนใหญซึ่งโดยปกติจะมีระยะยิงใกลดวยปนท่ีใชในพ้ืนที่โลง อากาศยานท่ีมีอยูเล็กนอย 5 ความลมเหลวของการปฏิบัติการตาง ๆ เชน ท่ีคอมเบร (Cambrai)และการยุทธขามคลองสุเอซ ตามวัตถุประสงคของบรรดาผูวางแผนการยุทธเหลานี้ในขั้นการขยายผลไมไดทาํ ใหเ ปนการยกเลกิ รูปแบบน้.ี สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกําเนดิ ของสงครามสมยั ใหม

242สามารถทําการลาดตระเวน แตปนใหญไมมีเคร่ืองมือใด ๆ ในการกําหนดเปาหมายในทางลกึ และเฉพาะปนใหญวิถโี คง เพยี งเลก็ นอ ยทีใ่ ชเทาน้ัน ทีส่ ามารถยิงเปาหมายในพื้นที่อับ การปรับการยิงทําไดหยาบ ๆ และมักคํานวณที่ที่ต้ังยิงของปนเองการสื่อสารระหวางผูตรวจการณกับปนจะใชไฟสัญญาณหรือธงสัญญาณ,เครื่องกระจายเสียงแบบกรวย (Megaphone) และ โทรศัพทจํานวนเล็กนอยในกองทัพสนามของอังกฤษ กระสุนปนใหญท้ังหมดเปนแบบแตกระเบิด (Shrapnel)ไมสามารถใชไดผลกับทหารท่ีอยูในหลุมบุคคลที่ดัดแปลงอยางดี เคร่ืองมือในการสงกําลังกระสุนปนใหญจํานวนมากใหแกกําลังดําเนินกลยุทธในสนามขาดแคลนซ่ึงสาเหตสุ วนหนงึ่ ก็คือกองทัพมีกระสุนสํารองคงคลังนอยมาก สุดทายไมมีการวางแผนการใชปนใหญในระดับยุทธการ ยกเวนในการโอบ รวมทั้งกองกําลังปฏิบัติการนอกประเทศของอังกฤษ (British Expeditionary Force (BEF)) ท่ีสงไปยังฝรั่งเศสก็ไมม ีปน ใหญท ่ีเหนือกวา ระดับกองพล การปฏิบตั กิ ารยุทธการเปนไปแบบงาย ๆฝายเสนาธิการท่ีวางแผนการใชปนใหญยังคงมีขนาดเล็ก ซึ่งการบังคับบัญชาระดับสูงแบบรวมศนู ยทีไ่ ดร ับบทบาทเฉพาะทางยุทธวิธี สําหรับปนใหญจะไมมีประสิทธิผลและไมต อบสนองตอความจาํ เปน ตาง ๆ ของชว งนนั้ ๆ ป 1914 (พ.ศ.2457): เครือ่ งมือท่ีมี (The tools at hand) องคประกอบหลายประการของการปฏิวัติการยิงเล็งจําลองไมถือวาเปนเรื่องใหม ความสําคัญของการที่จะสามารถยิงเปาหมายที่มองไมเห็นเปนสิ่งที่ชัดเจนแมแตในสมัยโบราณ วัตถุประสงคของอาวุธเครื่องยิงเหวี่ยง(Trebuchet - เทร็บบูเชท) คือ เพ่ือยิงกระสุนไปยังฝายรับที่แอบอยูขางหลังกําแพงตาง ๆ ซ่ึงอาวุธตอมาก็คือเคร่ืองยิงลูกระเบิด (Mortar) ดังน้ัน การยิงเล็งจําลองจึงเปนท่ีรูจักกันมานานหลายศตวรรษในสงครามปดลอม (Siege warfare) แตโดยท่ัวไปผูตรวจการณตาง ๆ ยังไมสามารถปรับตําบลกระสุนตกได และความแมนยําก็ยงั ไมสาํ คญั มากนัก ไบลยี่ 

243 การรบแรกสุดที่ใชการยิงเล็งจําลองอาจเปนท่ีพัลทซิก (Paltsig) เมื่อก.ค.1759 (พ.ศ.2302) โดยปน ใหญรัสเซยี ทีย่ ิงขามยอดไม56 ในป 1840 (พ.ศ.2382)อังกฤษไดมอบภารกิจยิงแกปนใหญวิถีโคง จากที่กําบังตอปนใหญขาศึก แตการเล็งก็แลวแตวาถูกหรือผิดซึ่งไมมีการคํานวณระบบการยิงเล็งจําลอง ในชวงแรก ๆขึ้นอยูกับแนวการหมาย (Line of markers) จากปนไปยังจุดที่จะสามารถตรวจการณเปาหมายได ซ่ึงทําใหคอนขางตายตัว ดังนั้น สวนใหญจะไรประโยชนในสถานการณทางยุทธวธิ ที ีเ่ คล่อื นทไี่ ดตลอด เยอรมันใชบทเรียนจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย (Franco-Prussian War)ซ่ึงการใชการยงิ เล็งจําลองจะสามารถปองกันบรรดาพลยิงจากปนกล ตอมา คารล กุค(Karl Guk) ชาวรัสเซีย ไดตีพิมพงานที่มีอิทธิพล อยางมากเม่ือป 1882 (พ.ศ.2425)เรื่อง “Indirect Fire for Field Artillery (การยิงเล็งจําลองสําหรับปนใหญสนาม)” ที่กลาวถึงปจจัยสําคัญทั้งหมดของจุดเล็ง, ความสูงตางระหวางจุดสูงสุดของวิถีกระสุนกับยอดเขาท่ีก้ันระหวางปนกับที่หมาย (Crest clearance),และการปรับการยิงโดยผูตรวจการณเยอรมันไดบันทึกการพัฒนาเหลาน้ี และสรางเคร่ืองมือท่ีชวย ในการยิงเล็งจําลองที่เรียกวา การกําหนดท่ีต้ัง (Richtfläche -ริชทเฟลชช) ในป 1904 (พ.ศ.2447) ปนใหญรัสเซียไดติดตั้งดวยกลองยิงเล็งจําลองและใชเปนหลักท่ีเมืองเลียวยาง (Liao-Yang) ในเดือน ส.ค. หลังจากนั้นการยิงเล็งจําลองกเ็ รม่ิ กลายเปน มาตรฐานในสงครามดังกลาว67 6 อางโดย Christopher Bellamy, Red God of War: Soviet Artilleryand Rocket Forces (London, 1986), หนา 16. 7 แมวาจะเปนชวงเร่ิมตน ตัวอยางเชน ท่ีแครนฮิลล (Cairn Hill)รัสเซยี สามารถสง การปรบั การยิง ดวยกระดาษจากมือสูมือตามสายของกลุมทหารที่นอนราบกับพ้ืน (Denis and Peggy Warner, The Tide at Sunrise: A Historyof the Russo-Japanese War, 1904-1905 London, 1975], หนา 363). สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมัยใหม

244ซ่ึงกองทัพสหรัฐฯ ไดบันทึกการพัฒนานี้ทันทีและรวบรวมไวใน “ระเบียบการฝก(Drill Regulation)” ปนใหญป  1907 (พ.ศ.2450) ของตน78 อังกฤษไดทดลองการยิงเล็งจําลองระหวางสงครามบัวร (Boer) และสรุปวาใชไมไดกับสงครามท่ีมีการเคลื่อนท่ีรวดเร็ว การยิงเล็งจําลองจึงยังคงเปนหลักการทไ่ี มมีใครสนใจ และกองปนใหญสนามของ กองทพั องั กฤษ (Royal FieldArtillery) ขาดกลองเล็งสําหรับการยิงเล็งจําลองที่ไดผล จนกระท่ังป 1913 (พ.ศ.2456)ในสงครามปดลอมและกับปนใหญปองกันชายฝงและคายทหาร ปญหาการแผนที่รอดรัด (Survey) ท่ีแมนยําก็ลดความรุนแรงลง ซึ่งสาขาความรูเหลาน้ีที่สรางการเปลยี่ นแปลงตอสนามรบ ทาํ ใหเกิดความกา วหนา ท่สี ดุ แมจะมีองคประกอบตาง ๆ มากมายท่ีในที่สุดก็ไดรวมกันเพ่ือกอเกิดเปนการปฏิวัติการยิงเล็งจําลอง แตกองทัพตาง ๆ ก็ลมเหลว หรือเลือกที่จะไมตระหนักถึงศักยภาพของการยิงเล็งจําลอง โดยอาจไมเห็นความจําเปนทางยุทธวิธีท่ีชัดเจน รวมทั้งทุกกองทัพของป 1914 (พ.ศ.2457) วางแผนจะทําการยุทธที่เคล่ือนท่ีรวดเร็วซึ่งอาจทิ้งปนใหญไวขางหลัง กองทัพฝร่ังเศส ดวยปน “75”ที่ยอดเย่ียม เนนความจําเปน สําหรับปนท่ีเคล่ือนยายไดรวดเร็ว และทําการยิงอยางรวดเร็วดวยปริมาณสูง ในการสนับสนุนหนวยดําเนินกลยุทธแตหลักนิยมของฝร่ังเศสที่มีความเร็วสูงและความหาวหาญ (élan) ทําใหทหารราบอาจตองเขา ตี กอนที่ปนใหญจ ะพรอ ม ไมวาความจําเปนดานยุทธการอยางชัดเจนสําหรับการยิงเล็งจําลองจะมีหรอื ไม แตแนวคดิ ในการใชป น ใหญสนามในระดับยุทธการเพ่ือเจาะแนวขาศึกไดถูกกําหนดไวในอนาคต ขอยกเวนเดียวสําหรับหลักการดังกลาวคือ การเขาตีปอมคาย เชน ที่ลีเอจ (Liège) ท่ีตั้งอยูในทิศทางของการเขาตี จากการปรับปรุง 8 Boyd L. Dastrup, Kings of Battle A Branch History of the U.S.Army’s Field Artillery, Office of the Command Historian, U.S. ArmyTraining and Doctrine Command, Fort Monroe, VA, 1993, หนา 149-50. ไบลย่ี 

245เม่อื ส.ค.1914 (พ.ศ.2457) ทาํ ใหต องใชปน ใหญโอบลอมของออสเตรีย และเยอรมันทีม่ ีขนาดใหญมาก ดว ยการปกปดความลบั อยางยิ่งและซับซอน โดยท่ัวไป กองทัพตาง ๆ ของยุโรปไมสามารถจัดหาปนใหญและกระสุนที่เหมาะสมได เน่ืองจากการยิงเล็งตรงเปนเรื่องปกติ ปนใหญของกองทัพตาง ๆของยุโรปมีระยะยิงคอนขางใกล และไมไดถูกออกแบบมาเพ่ือใชตามแนวคิดการยิงเล็งจําลองปนใหญที่มีระยะยิงไกลกวาจะหนักกวา, มีความสามารถในการเคลื่อนที่นอยกวา จึงมีความเหมาะสมนอยกวาแนวคิดการยิงเล็งตรงท่ีมีอยูทั่วไปซ่ึงแนวคิดดังกลาวฝงแนนอยางยิ่ง โดยในป 1917 (พ.ศ.2460) แมจากความชัดเจนในสงครามสามป กองทัพสหรัฐฯ ก็ยังคงเชื่อม่ันในปนใหญเบาสําหรับการยุทธที่มีการเคลื่อนที่ท่ีรวดเร็ว และจัดใหมีปนใหญขนาด 3 น้ิว 1 กระบอก สําหรับทุก 1 กระบอก ของปนท่มี กี วา งปากลํากลองมากกวา89 เนื่องจากบทบาทหลักของปนใหญไมใชการยิงโตตอบปนใหญ และทหารปนใหญเห็นวาการยิงโตตอบปนใหญสวนใหญจะเปนภารกิจการยิงเล็งตรงปนใหญวิถีโคงจึงมีคอนขางนอย กองทัพตาง ๆ โดยเฉพาะเยอรมันบรรจุปนยิงเล็งจําลอง ในป 1914 (พ.ศ.2457) แตดวยจํานวนคอนขางนอย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยิงดวยมุมสูงจากท่ีกําบังตอปนของขาศึกที่อยูในที่กําบังเปรียบเทียบกับปนใหญรัสเซีย ซึ่งแมจะไดดําเนินการไปอยางมากในการบุกเบิกการยิงเล็งจําลอง แตก็ใชปนใหญยิงเล็งตรงระยะยิงใกลเปนสวนมาก ในขณะที่เยอรมันใชป นใหญวิถโี คง ท่ีมีขนาดใหญก วา ที่แนวรบดานตะวันออก นอกจากน้ี โดยท่ัวไปกองทัพตาง ๆ ไดออกแบบกระสุนปนใหญ เพ่ือใชตอทหารในพ้ืนที่โลงแจง ในกรณีของอังกฤษ กองทัพสนามไมมีทั้งกระสุนระเบิดแรงสูง(High-explosive) เพื่อทําลายการตั้งรับในสนาม, ท่ีกําบัง และเครื่องกีดขวางหรือกระสุนแกส (Gas shell) ซ่ึงเยอรมันใชเปนคร้ังแรกเมื่อป 1915 (พ.ศ.2458)เพ่ือขมที่ต้ังตาง ๆ ขณะน้ันยังไมมีชนวนกระทบแตก (Point-detonating fuse) 9 Dastrup, King of Battle, หนา 164. สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และกาํ เนิดของสงครามสมัยใหม

246ซึ่งเปนสวนสําคัญของผลของกระสุนระเบิดแรงสูง รวมทั้งการสํารองกระสุนท่ีจะอํานวยตอการใชแผนการยิงตาง ๆ ที่รูจักกันดี ในอีกสามปตอมาหลักนิยมการเตรียมการเพื่อการสงครามยังไมเคยพบกับการขาดแคลนกระสุนตาง ๆ ท่ีอาจเกดิ ขึน้ ตอไป สงครามขององั กฤษเม่ือป 1913 (พ.ศ.2456) ไดจายกระสุน 1,000 นัดแกปน 18 ปอนด แตละกระบอก โดย 300 กระบอก อยูในอังกฤษ สวนอีก 500 กระบอกจะไดรับจากโรงงานตาง ๆ ภายในหกเดือน กองรอยปนใหญมีกระสุนเพียง 176 นัดจาก 1,000 นัด ซ่ึงพอสําหรับการยิงเพียง 44 นาที ท่ีอัตรา 4 นัด910 ซึ่งถายิงในอัตรานี้ 6 คร้ัง จะใชกระสุนท้ังหมด ของกองทหารปฏิบัติการนอกประเทศของอังกฤษ (BEF) แมวาเวลา 75 นาที จะคุมคาถาอยูในอังกฤษ แตถาอยูนอกอังกฤษ เวลาอีก 60 นาที กวาท่ีจะสงกระสุนได จะกลายเปน 6 เดือน1011ดวยการเปรียบเทียบ ในป 1918 (พ.ศ.2461) บรรดาผูบังคับบัญชาของทั้งสองฝายคาดวาจะตองยิงประมาณ 600 นัด ตอวัน จากปนใหญเบาแตละกระบอกท่ีระยะเริม่ แรกของการรุกหน่ึง แมจะมีหลายวิธีในการใชการยิงเล็งจําลองที่มีอยูในบางรูปแบบบรรดากองทัพในป 1914 (พ.ศ. 2457) ตระหนักถึงเทคนิคท่ีเปนวิธีหนึ่ง ในการปองกันทางยุทธวิธีมากกวาท่ีจะเปนรูปแบบที่ไดรับการพัฒนาของการเขาตี และความแมนยํา ก็ยังเปนปญหาอยู วิธีกําหนดที่ต้ังเปาหมายในทางลึก และของการวางแผนการยิงยังคงไมมีเหมือน ๆ กัน, ความไมสมบูรณที่มีอยูในการลาดตระเวน,การแผนท่ี, การแผนที่รอดรัด (Survey), การชดเชยการสึกของลํากลองปน(Calibration)1112, การคํานวณวิถีกระสุน และการปรับการยิง รวมท้ังการติดตอส่ือสารที่จําเปน แตประเด็นเหลาน้ีไมใชเรื่องทางเทคนิคเทานั้น เหตุผลหลัก 10 4 นดั ตอนาที. 11 ปน ใหญของฝรงั่ เศสมีจาํ นวนกระสนุ คลายกัน สวนเยอรมนั คอ นขา งนอยกวา . 12 การวัดการสึกของลํากลองปนที่จะชวยในการปรับขอมูลการยิงชดเชยความเร็วของกระสนุ ทีล่ ดลงทป่ี ากลํากลอง. ไบลีย่ 

247สําหรับการไมสามารถ ขยายผลการใชการยิงเล็งจําลอง เน่ืองจากมีหลายวิธีมากเกินไป หรือในแตละวิธียังขาดความสามารถในการคิด (Imagination),ความเชื่องชาดานหลักนิยม, และการคํานวณท่ีผิดพลาด ในชวงตนในป 1890(พ.ศ.2433) มอลทเกไดแสดง ขอหวงใยถึงโอกาสของสงครามท่ียาวนาน ป 1900(พ.ศ.2443) แจน บลอ็ ก (Jan Bloch) นักการคลังชาวโปแลนด ทํานายวา อํานาจการสังหารท่ีรุนแรงของการยิงในการตั้งรับ จะสรางความพายแพยับเยินแกทหารราบท่ีเขาตี ลอรด คิทชเนอร (Kitchener) ทํานายวา สงครามโลกคร้ังที่ 1 (Great War)อาจดําเนินไปเปนเวลาหลายป แตผูที่ติดยึดในวัฒนธรรมทหารแบบอนุรักษในชวงน้ันปดก้ันมุมมองของตน เน่ืองจากขอสรุปและผลท่ีตามมาจากส่ิงเหลาน้ีเปน สง่ิ ทีย่ อมรบั ไมได1213 ในฐานะผบู กุ เบิกดานการยงิ เลง็ จําลอง กองทพั รัสเซยี ใหการยกยองปนใหญของตนวา เปนมืออาชพี และใหการยอมรับในสงั คมอยา งสงู สุด แตแ มก ารดําเนินการดังกลาวของรัสเซียจะซอนความกังขาลึก ๆ ในความสามารถทางเทคนิค และบรรดานายทหารของรัสเซียตอ ๆ มาก็มักจะลมเหลวที่จะใชยุทโธปกรณที่มีอยูสวนใหญของตน ระหวางสงครามรัสเซีย-ญ่ีปุน นายพลคนหน่ึงของรัสเซียเม่ือไดเห็นกองรอยปนใหญ กองรอยหนึ่งเขาท่ีต้ังยิงหลังที่กําบัง ก็สั่งใหกองรอยดังกลาวออกจากที่ตั้งยิงนั้นมายังที่โลงแจง เนื่องจากไมเชื่อวากองรอยปนใหญนั้นจะสามารถยิงขาศึกที่กองรอยไมสามารถมองเห็นได และนายทหารบางนายของญี่ปุนเชอื่ วา ปนท่ีเขาทกี่ ําบังในพื้นทอ่ี ับกระสุนถือวาขีข้ ลาด 13Colin McInnes อธบิ ายวา บรรดาสถาบันทหารเขาใจชัดเจนวา สงครามที่ยาวนานจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงของสังคมสวนใหญ ท่ีทําใหสังคมปฏิเสธโอกาสท่ีจะเกิดสงครามดังกลาว (McInnes, Men, Machines, andthe Emergence of Modern Warfare 1914-1945, Strategic and CombatStudies Institute Occasional Paper No. 2, British Army Staff CollegeCamberley, 1991, หนา 3-5). สงครามโลกครงั้ ที่ 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมัยใหม

248 ในกองทัพอังกฤษ ความฮึกเหิมของปนใหญลากจูงดวยมา ไดเพิ่มลักษณะพื้นฐาน (Ethos) ของพลประจําปนใหญ ซ่ึงการแผนท่ีรอดรัด (Survey),การคํานวณ, และการยุทธท่ีอยูกับท่ี (Static operation) เปนเร่ืองท่ีไมตองพูดถึงของปนใหญป องกนั ชายฝง และคา ยทหาร การใชแ ผนทโี่ ดยนายทหารสัญญาบัตรเพื่อกําหนดที่หมายถือวาไมเปนสุภาพบุรุษ เนื่องจากลดคุณคาความสามารถของเกียรติยศท่ีใชเวลาสั่งสมมาในการประมาณระยะดวยตา กองทัพตอตานอยางชัดเจนในการนํากระสุนระเบิดแรงสูง (High-explosive) มาใช สวนหน่ึงเนื่องจากขาวลือวากระสุนดังกลาวสรางควันพิษ ซึ่งไมใชวิธีท่ีเหมาะสมในการทําสงครามความซับซอนในการสงกําลังบํารุงที่จะมีผลและการขาดความตองการท่ีเขาใจถึงความจําเปนของกระสุนระเบิดแรงสูง (High-explosive) จึงอาจเปนท่ีชัดเจนเมื่อ พ.ค.1914 (พ.ศ.2457) รอยเอกฮิลล (Hill) แหงหนวยปนใหญปองกันปอมคายของกองทัพอังกฤษ (Royal Garrison Artillery) ไดทําหนังสือถึงโรงเรียนทหารปนใหญกองทัพอังกฤษ (Royal Artillery Institute) เกี่ยวกับเรื่องการยิงเล็งจําลองโดยในคํากลาวนํา ของรอยเอกผูนี้เรียกเสียงหัวเราะเยยหยันตอคํายืนยันของเขาวาภายในสองเดือนนับแตเร่ิมสงครามปนใหญ สนามจะทําการแกไขสําหรับตัวแปรดา นลมฟาอากาศ (Meteorological variation) ฝร่ังเศส, เยอรมัน และอเมริกาก็ไมไดดีไปกวานั้น ปนใหญไมไดรับการยกยองมากนักในกองทัพเยอรมัน จีออรก บรุคมิลเลอร (Georg Bruchmũller)ผูริเร่ิมดานสงครามสมัยใหมท่ีมีอิทธิพลที่สุดของ เยอรมันไดเขาประจําการช่ัวคราวจนจบสุดทายก็ไดรับเคร่ืองราชอิสริยาภรณในการประกอบคุณงามความดี (Pour le Mérit -พัวร ลี เมอริท) ในการดําเนินการของเขาตอชัยชนะตาง ๆ ในการโจมตีของเยอรมันแตก็ไมไดรับการเล่ือนยศเปนพันเอกและเกษียณโดยไดรับการตอบแทนเปนแคพันโทแมจะเนนเร่ืองการยิงเล็งจําลองในคูมือป 1907 (พ.ศ.2450) ของกองทัพบกสหรัฐฯแตพันโท อี. แมคกลาชลิน (E. McGlachlin) ไดบันทึกเมื่อตอนปลายป 1916(พ.ศ.2459) วาผูท่ีจบจากโรงเรียนการยิงปนใหญ (School of Fire) ของกองทัพบก ไบล่ยี 

249ที่มีป ร ะ ส บ ก า ร ณที่ส ุด บ า ง ค น ไ ม ส า ม า ร ถ ป ฏิบัติภ า ร กิจ ยิง เ ล ็ง จํา ล อ ง ไ ด13 14กองทัพบกสหรัฐฯ มีอาวุธยุทโธปกรณและทฤษฎี เพื่อใชการยิงเล็งจําลองแตขาดกาํ ลังพลทีม่ คี ุณภาพและอาจรวมทัง้ ความต้ังใจ ป 1914 (พ.ศ.2557): ประเมินปญหา (The Problem Assessed) ในสงครามของฤดูรอนป 1914 (พ.ศ.2557) โดยปกติปนใหญจะเขาท่ีต้ังยิงในพ้ืนที่โลงแจง, ใชกระสุนของตนไปอยางรวดเร็ว และสลายไป ท่ีเลอ คาทู(Le Cateau) ปนใหญของกองพลท่ี 5 เขาท่ีต้ังยิง ภายในระยะ 500 ม.จากทหารราบท่ีตนเองสนับสนุน ซึ่งการยิงของขาศึกไดทําลายหนวยน้ีลงหายนะเดียวกันน้ีเกิดข้ึนกับเยอรมันในหลาย ๆ สงคราม เชน ที่เบอรทริกซ(Bertrix) ปนกลและการยิงปนเล็กยาว อยางรวดเร็วจากฝายต้ังรับ ทําใหฝายดําเนินกลยุทธตองหยุดรุก อํานาจการยิงของปนใหญยังไมเพียงพอ ท่ีจะเปดถนนใหแกฝายรุก จากน้ันไมนานก็เริ่มชัดเจนวาปญหานี้ตองใชแนวทางใหมโดยส้ินเชิงในการโจมตีแนวตานทานที่เปนปญหานี้จากหลักการแรก การแกไขแมวาในข้ันตนจะไมเปนแนวทางแกไขที่สมบูรณ แตก็ใชเวลาส่ีป แตในแกนแท ก็ยังคงอยูกับเราจนถึงปจจุบัน ปญหาทางยทุ ธวิธีเปน ท่ีชดั เจน ฝา ยเขาตีตองเจาะหรือทําลายเคร่ืองกีดขวาง,ทําลายหรือขมทหารที่คุมครองเครื่องกีดขวางใหมากที่สุดเทาที่จะทําได,ยิงโตตอบปนใหญเพื่อคุมครองทหารราบที่เขาตีของตนเอง, และยิงเปาหมายท่ีมองไมเห็นในทางลึกของขาศึกเพ่ือคุมครองทหารที่ขยายผลจากความสําเร็จกอนปนใหญที่รวมปฏิบัติจะสามารถเคลื่อนมาขางหนาได ในป 1914-15(พ.ศ.2457-58) ปนใหญไมสามารถดําเนินการส่ิงเหลานี้ไดอยางเพียงพอ และสวนใหญไมสามารถดําเนินการไดเลย ซ่ึงพลประจําปนเพียงแคพยายามมีชีวิตรอดในชวงตน ๆ เมื่อ 30 ต.ค.1914 (พ.ศ.2457) ปนใหญอังกฤษไดรับคําสั่งใหใช 14 Dastrup, Kings of Battle, หนา 154, 160. สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และกําเนิดของสงครามสมยั ใหม

250ลาดหลังเนินเพอ่ื ปอ งกันจากผูต รวจการณของปนใหญวิถีโคง 5.9 นิ้ว ของเยอรมันแตในการปฏิบัติตามคําสั่งดังกลาวก็มักจะเปนไปไมได มีเพียงปน 60 ปอนด เทาน้ันท่ีสามารถยิงไดไกลกวา “ปนขนาด 5.9” แตวิถีกระสุนรุนเกายังเปนแนวราบเกินไปจนมกั ไมส ามารถยงิ ตอบได ในการรบป 1915 (พ.ศ.2458) ที่เนิฟชาเพลล (Neuve Chapelle),ฟสทูแบร (Festubert), และลูซ (Loos) บรรดาผูวางแผนของอังกฤษ เร่ิมเขาใจหลักการใหมของอํานาจการยิงและรูปแบบทางเรขาคณิต (Geometry) ของสนามรบดวยการลองผิดลองถูกท่ีเนิฟชาเพลล เมื่อ 10-12 มี.ค.1915 (พ.ศ.2458)กองทัพอังกฤษใชปนใหญ 354 กระบอกตอปนใหญเยอรมัน 60 กระบอกในพ้ืนท่ีกวาง 1,200 ม. ซึ่งความหนาแนน ในการใชยังไมเหมาะสมจนถึงป 1917(พ.ศ.2460) แตอังกฤษก็สามารถยิงไดเพียง 200-400 นัดตอกระบอก และการกําหนดเปาหมายก็ยังไมสมบูรณแมวาจะมีภาพถายทางอากาศใชเปนครั้งแรกท่ีฟสทูแบร เม่ือ 15 พ.ค.1915 (พ.ศ.2458) แผนการยิงมีระยะเวลาถึง 48 ชม.แทนท่ีจะเปน 35 นาที ของการเขาตีท่ีเนิฟชาเพลลกอนหนาน้ี แตผลในการทําลายยังไมเพียงพอและระยะเวลาในการยิงโจมตีทําใหการเขาตีไมเปนการจูโจมท่ลี ซู เมอ่ื 15 ก.ย.1915 (พ.ศ.2458) พืน้ ท่ีเขาตีกวางกวา 8 เทา และความหนาแนนของปนมีเพียง 1 ใน 5 ของที่เนิฟชาเพลล เพื่อใหไดน้ําหนักการยิงท่ีตองการปนใหญตาง ๆ ตองทําการยิงเปนระยะเวลาท่ีนานกวา ซ่ึงเปนอีกคร้ังหนึ่งที่ทําใหเสียการจโู จม ประเด็นหลัก ๆ ที่สําคัญยังคงไมไดรับการแกไข ซึ่งจําเปนหรือไมในการทําลายเครื่องกีดขวาง และสนามเพลาะของขาศึก หรือควรขมทหารที่คุมครองส่ิงเหลานี้? ตองยิงมากเทาไร เปนเวลานานเทาไร จึงจะบรรลุผลท่ีตองการ?มีสูตรทางคณิตศาสตรที่ใชกันท่ัวไปบางหรือไมเก่ียวกับปริมาณการยิงท่ีตองการ?และถามีจะแสดงสูตรน้ีไดดีท่ีสุดในรูปของจํานวนปนตอกวางดานหนาเปนหลาหรอื จาํ นวนกระสุนทที่ ําการยงิ ตอกวา งดานหนา ทไี่ ดรบั ในหวงเวลาทก่ี ําหนด? ไบลีย่ 

251ควรใชกวางปากลํากลองของปนใหญเหลานั้นเปนเทาใด? อัตราการยิงท่ีมีศักยภาพของกวางปากลํากลองที่เหมาะสมเปนสิ่งสําคัญหรือไม หรืออยูที่กระสุนที่มีตอวัน?ถา ปน ใหญส ามารถบรรลอุ ตั ราการยงิ ท่สี งู เพียงพอในชวงระยะเวลาวิกฤต สําคัญหรือไมที่จะสามารถรักษาอัตราการยิงน้ันไว? ควรใชระยะเวลาการยิงนานเทาไรกอนเร่ิมขน้ั การดําเนินกลยทุ ธ? การรบจะกนิ เวลานานเทา ไร 5 วัน หรอื 5 เดือน? ความซับซอนเหลาน้ีไมใชเพียงแคเรื่องทางยุทธวิธี ชัยชนะในสนามรบโดยไมมีมิติทางดานยุทธการ ทําไดเพียงแคการเสียดทาน (Attrition) เทาน้ันปริศนาทางยุทธการสําหรับท้ังสองฝายคือ ทําอยางไรท่ีจะบรรลุทั้งการรุก (Break-in)และการทําลาย (Break-out) เยอรมันปลอยใหฝายพันธมิตรไดรับชัยชนะทางยุทธวิธีท่ีไรประโยชน เชน โดยการสรางและการถอนตัวไปยังพ้ืนท่ีท่ีลึกเขาไปและเสริมสรางการปองกันท่ีนากลัวมากขึ้นภายในการตั้งรับที่ “ออนตัว” กวาของตนโดยแนวสุดทายคือ แนวฮินเดนเบิรก เยอรมันกําหนดที่ต้ังแนวตานทานหลักของตนในความลึกดังกลาวและมักจะเปนลาดหลังเนินที่ทหารราบของขาศึกจะถึงจุดนั้นหลังจากท่ีไดท้ิงการสนับสนุนปนใหญท่ีอยูกับท่ีสวนใหญของขาศึกไวขางหลังและถูกสังหารอยางยับเยินดวยการยิงตานทานอยางหนาแนนและการตีโตตอบซึ่ง “หลักการงาย ๆ (Rule of thumb)” กําหนดวา ควรจัดกองหนุนไวขางหลัง 9 กม.และใหสามารถตีโตตอบได ภายใน 2 ชม. หลังจากเร่ิมเขาตี ดังน้ันระยะยิงของปนใหญจึงเปนตัวกําหนดรูปรางของสนามรบ1415 ซ่ึงการกําหนดท่ีหมายและการยิงท่ีหมายตาง ๆ ในทางลึกและการเคล่ือนยายปนใหญรวมไปกับทหารราบที่รุกหนาไปอยา งรวดเร็ว ไดเ ร่มิ กลายเปนสิ่งสําคญั ทางยุทธการ 15 Foch สรุปหลักนิยมของฝรั่งเศสดังนี้ “การรบประกอบดวย การปฏิบัติการซ้ํา ๆประการแรก โจมตีที่ตั้งหน่ึงดวยปนใหญที่จําเปนท้ังหมด จากนั้นสงทหารราบท่ี เพียงพอรุกหนาเพื่อยึดท่ีตั้งนั้นขณะที่ปนใหญ ทําการยิงตอท่ีตั้งตอ ๆ ไป”(อางใน Hubert C. Johnson, Breakthrough! Tactics, Technology and theSearch for Victory on the Western Front in World War I [Novato, CA, 1994]). สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมัยใหม

252 กําเนิดของสงครามสมยั ใหม ป 1916-18 (พ.ศ.2459-61) ความโหดรายท่ีหลีกเล่ียงไมไดทําใหกองทัพตาง ๆ ตองหาปญหาทางยุทธวิธีและยุทธการของป 1914 (พ.ศ.2457) ซึ่งการแกไขท่ีเกิดข้ึนผานลําดับของสงครามทางบกท่ีสําคัญ ๆ คือ การรุกของบรูสิลอฟ (Brusilov Offensive) ของป1916 (พ.ศ.2459), การรบของกองทัพอังกฤษที่ซอมม (Somme) ในปเดียวกัน,การเขาตีแคมไบร (Cambrai) เม่ือ พ.ย.1917 (พ.ศ.2460), การรุกของเยอรมันในฤดใู บไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461) และการรกุ ขององั กฤษท่ีเกิดขึน้ ตามมา การรุกของเยอรมันท่ีกอรลิซ-ทารนาว (Gorlice-Tarnow) เมื่อป 1915(พ.ศ.2458) และการเขาตีของรัสเซียที่วางแผนโดยบรูสิลอฟในฤดูรอนป 1916(พ.ศ.2459) ถือวาเปนสงครามสมัยใหม ซ่ึงในท้ังสองกรณี ผูบังคับบัญชาตาง ๆไดใหความสําคญั ยิ่งในการประสานการยิงปนใหญ กับการเคล่ือนท่ีของกําลังรบอ่ืน ๆและการรวมการยิงตอเปาหมายที่ไดถูกลาดตระเวนและคัดเลือกแลวอยางรอบคอบผูบัญชาการปนใหญของกองทัพท่ี 9 ของรัสเซีย คือ พันโท วี. เอฟ. ไคร่ีย (V. F. Kirey)ซ่ึงไดเขียนเรื่องดังกลาวท่ีกองทัพแดง ตีพิมพเม่ือป 1926 (พ.ศ.2469) และ 1936(พ.ศ.2479) ในฐานะที่เปนงานมาตรฐาน ซ่ึงไคร่ียเนนวา การวางแผนควรเร่ิมตนดวยและข้ึนอยูกับจํานวนปนใหญ และกระสุนตาง ๆ ที่มี จากนั้นกวางดานหนาและการเลือกพื้นท่ีการเจาะแคบ ๆ เปนเร่ืองตอไป ในกรณีของกองทัพท่ี 9 ของรัสเซียกวางดานหนาครอบคลุมมากกวา 14 กม. สวนพ้ืนที่การเจาะกวาง 3.5 กม.ซึ่งขอสนใจหลักของไคร่ียไมใชการบรรลุการเจาะมากเทากับการรักษาความหนุนเนื่อง(Momentum) ของการเขาตีดวยการเจาะลึกและความตอเน่ืองในการยิงสนับสนุนไครยี่ บ รรลผุ ลดงั กลาวไดโ ดยยิงปนใหญอยางหนกั หนว งตอ ที่กําบังท่ีอยูใกลกับแนวหนาเพื่อให “การเขาถึง (Reach)” ตอไปในสนามรบ และดวยการ ใหปนใหญภูเขาเบา(Light mountain gun) รวมไปกับกําลังท่ีเขาตี ซึ่งเปนภารกิจท่ีดําเนินการโดยปนใหญอัตตาจรในสงครามโลกครั้งที่ 2 และตอ ๆ มา ไคร่ียยังรักษาการยิงเตรียมใหสั้นเพ่ือรักษาการจูโจมและลดเวลาท่ีมีของขาศึกที่จะใชกองหนุน ไบล่ยี 

253นอกจากนี้ การขาดแคลนกระสุนและสภาพการสึกของปนใหญรัสเซียยงั เปนตัวกําหนดระยะเวลาการดาํ เนินการที่สั้น การยิงเล็งจําลองมีบทบาทสําคัญ ในป 1916 (พ.ศ.2459) รัสเซียไดทาํ การยิงกําหนดจุดพิกัดเปาหมาย (Registration point shoot) คร้ังแรกของตนซึ่งเปนการปรับการยิงตอเปาหมายหน่ึงเพื่อหาความคลาดเคล่ือน จากน้ันก็เปล่ียนไปยังเปาหมายอ่ืนพรอมกับใชการปรับที่รูแลวน้ันเพื่อใหไดความแมนยําและการจูโจมแตก็ยังไมมีประสิทธิภาพมากนักในการยิงเล็งจําลองในชวงการพัฒนาที่สําคัญตอไปเพื่อบรรลุการคาดการณที่แมนยํา ซึ่งแมวาจะมีแผนที่ที่ดีแตก็ดูเหมือนขาดเคร่ืองมือตาง ๆ ที่จะคํานวณขอมูลจากแผนท่ี หรือการใชภาพถายทางอากาศผลที่ได การยิงท่ีคาดการณไวยังไมแมนยํา และไมสามารถยิงเปาหมายตาง ๆอยางไดผล โดยไมมีผูตรวจการณและการปรับการยิง อยางไรก็ตาม ไครี่ย และหนวยของเขา สามารถกําหนดท่ีตั้งเปาหมายและทําแผนที่รอดรัดพิกัดเปาหมายตาง ๆ(Survey) และแบงปนใหญออกเปนกลุม ๆ ตามกิจเฉพาะ เชน การยิงขมท่ีม่ันแข็งแรงและการเจาะเคร่ืองกีดขวางตาง ๆ ท้ังนี้ ไดจัดใหมีผูตรวจการณอยูในแนวหนาเพอ่ื ปรับการยงิ จํานวนปนใหญที่ใชในสนามรบและความหนาแนนของปนใหญมีนอยตามมาตรฐานแนวรบตะวันตก แตปนใหญรัสเซียก็ไดผลอยางยิ่ง การรวมกําลังจํานวนปนใหญท่ีนอยกวาตอตนทําใหผูบัญชาการทัพออสเตรีย คารล วอนแฟลนเซอร บัลทิน (Karl von Pflanzer-Baltin) ใหความเห็นที่ผิดวา “อํานาจการยิงปนใหญระยะไกลท่ีเหนือกวาอยางมากของขาศึก คือ ... ความไดผลท่ีไมคาดคิด”ไคร่ียยังไดเขียนเกี่ยวกับยุทธวิธีตอสูรถถัง ท่ีแมเขาจะไมเคยเห็นรถถัง และใหคาํ แนะนําสาํ หรบั สงครามครั้งหนาของตนวา ทําการยงิ รถถังดวยปน ตอสูอ ากาศยาน การรุกของบรูสิลอฟ (Brusilov Offensive) เปนการเจาะตามแนวความคิดในการใชการยิงเล็งจําลอง แตรูปแบบของการรุกน้ีอาจลมเหลวตอขาศึก และเคร่ืองกีดขวางท่ีนาสะพรึงกลัวที่แนวรบตะวันตก (Western Front) เพ่ือเอาชนะการตา นทานเหลา นตี้ องใชน ้าํ หนกั การยิงอยางมาก การยงิ เลง็ จําลองยังคงไมแมนยํา สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกาํ เนิดของสงครามสมัยใหม

254เนื่องจากความสามารถในการกําหนดที่ต้ังเปาหมายอยางถูกตองยังไมสมบูรณและระบบคํานวณวิถีกระสุนท่ีมีอยูยังมีความไมสอดคลองกัน ดังน้ัน การทําลายเปาหมายท่ีม่ันคงตองใชนํ้าหนักการยิงที่มากตอบริเวณใกลเคียงรอบเปาหมายทําใหแผนการยิงมีระยะเวลายาวนาน นอกจากน้ี เพ่ือประกันการยิงที่แมนยําตอคูสนามเพลาะ และเครื่องกีดขวางตาง ๆ ดานหนาของกําลังที่เขาตี ตองมีการจัดทําบัญชีตาง ๆ ลวงหนา แตการดําเนินการใหเหมาะสมของปนใหญ,กระสุน, และ พลตาง ๆ, การจัดทําบัญชีปนใหญ, และการทําการยิงเปนเวลาหลาย ๆ สปั ดาห และแมแ ตเดือน จะทาํ ใหส ญู เสยี การจูโ จม ทาํ ใหขา ศึกเสรมิ สรา งความแข็งแรงของท่ีม่ันตาง ๆ ของตนและกําหนดท่ีตั้งกองหนุนตาง ๆ ซ่ึงการเตรยี มการตง้ั รับทเี่ พิม่ ขนึ้ จะทําใหฝายเขา ตตี อ งเพิ่มนา้ํ หนกั การยิงมากข้นึ กองทัพทั้งหมดเร่ิมยอมแพตอภาระของตน แผนการยิงเริ่มกวางขวางและซับซอน โดยท่ีการวางแผนในระดับสูงแบบรวมการเทาน้ัน ที่จะสามารถทําแผนการยิงดังกลาวได แตก็ไมมีเครื่องมือใด ๆ ท่ีจะปรับแผนการยิงเหลาน้ีเมื่อเหตุการณตาง ๆ คอย ๆ ปรากฏขึ้น การประสานกับทหารราบทําไดยากเมื่อการเขาตีเดินหนาตอไป ทหารราบก็มักจะเคล่ือนที่ล้ําหนาเสนข้ันที่ตายตัวที่วางไวในแผนดังกลาว เมื่อการตานทานหรือเครื่องกีดขวางหยุดย้ังทหารราบแผนการยิงมกั จะเคล่ือนตอ ไป ท้ิงทหารราบใหพบกับการยิงและการตีโตตอบของขาศึก บรรดาผูวางแผนของอังกฤษที่ซอมม (Somme) ใชปนใหญเปนคอนยักษเพ่ือทําลายทุก ๆ ส่ิงที่อยูในวิถีของปน ผูวางแผนเหลาน้ียอมเสียการประสานและความออนตัวเพ่ือผลการทําลายท่ีไดคาดไวอยางมั่นใจ แตก็ลมเหลวทั่วไปที่จะทําลายการตานทานของเยอรมัน การรบท่ีซอมมแสดงถึงความกาวหนายิ่งข้ึนของการพัฒนาการยิงเล็งจําลอง โดยไดมีการกําหนดหลักการในการกําหนดท่ีตั้งเปาหมายในระดับสูง, การวางแผนและการบัญชาการ และเปนความสําเร็จสําหรับการจัดหนวยใหมดานสงกําลังบํารุงตอปนใหญ บรรดาผูบัญชาการปนใหญไดใ ชก ระบวนการตา ง ๆ ซงึ่ แมจะยงั ไมส มบรู ณเพอ่ื ทําใหก ารยงิ เล็งจาํ ลองแมนยํามากขนึ้ ไบลี่ย

255การทาํ บัญชีพิกดั เปา หมายไดกลายเปนมาตรฐานแมวาจะทําใหเกิดผลเสียอยางย่ิงตอการสญู เสยี การจโู จมทางยุทธการ สิ่งท่ีสูญเสียไปคือ ความสามารถในการยิงอยางแมนยําโดยไมมีการทําบัญชีเปาหมาย ซึ่งก็คือ การยิงที่คาดการณไวลวงหนา ความสามารถดังกลาวไมเพียงแตทําใหมีโอกาสที่จะสรางการจูโจม แตยังอํานวยตอการยิงเปาหมายตาง ๆในทางลึกโดยไมใชผูตรวจการณหนาถาพลประจําปนสามารถกําหนดตําแหนงเปาหมายตาง ๆ ไดอยางแมนยํา การทดลองตาง ๆ ดวยการคาดการณลวงหนาในการรบที่ซอมมเ ปนทผี่ ดิ หวงั แตบ รรดาผเู ช่ยี วชาญก็ไดเพียรพยายามมาโดยตลอดของปต อมา เมื่อ 20 พ.ย.1917 (พ.ศ.2460) กองทัพอังกฤษไดทําการรุกที่แคมไบร(Cambrai) ท่ีมีความสําคัญ ที่ชัดเจนสองสวน โดยเปนคร้ังแรกท่ีมีกองทัพหน่ึงใชรถถังจํานวนมาก ซึ่งฝายเขาตีใชรถถังรวม 476 คัน ท่ีสําคัญกวานั้น เปนครั้งแรกทป่ี ระสบผลสําเร็จในการใชแผนการยิงท่ีคาดการณลวงหนาขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากแรงบันดาลใจของพลจัตวา เอช. เอช. ทูเดอร (H. H. Tudor) ผูริเร่ิมในการปฏิบัติการรวมกันของยานเกราะและปนใหญ ในที่สุดการโจมตีก็พังทลายเนอ่ื งจากองั กฤษไมสามารถคาดการณลวงหนา ถึงความเรว็ และรุนแรงของการตีโตตอบของเยอรมัน แตแผนการยิงข้ันตนก็ประสบความสําเร็จอยางสูง การตัดสินใจใชรถถังเพื่อตัดสายการโทรคมนาคมของเยอรมัน ไดปลดปลอยทรัพยากรปนใหญจากภารกิจดังกลาว, ลดเวลาของแผนการยิง, และทําใหเพ่ิมการจูโจม การลาดตระเวนทางอากาศท่ีแมนยําและการคํานวณวิถีการยิงและการแผนท่ีท่ีไดรับการพัฒนาทําใหปนใหญสามารถยิงเปาหมายตาง ๆ ที่คาดการณไวลวงหนาอยางไดผลในกวางดานหนา 10 กม. ปน 1,003 กระบอก รวมในการประสานการยิงดวยการวางแผนแบบรวมการในรายละเอียด กองรอยปนใหญ 150 กองรอย ท่ีเพ่ิมเติมการยิงแกพื้นที่ดังกลาวกอน การเขาตียังคงนิ่งเงียบและปกปดกําบังไวจนกวาจะถงึ การระดมยิงจริง ปนที่มาถึงใหม ๆ ตองทําการปรับ มาตรฐาน (Calibrate)ณ ท่ีอื่นกอนเขาท่ีต้ัง และทําการยิงโดยไมมีการทําบัญชีเปาหมาย แผนการยิงมี3 สวน คือ สวนยิงคุมกันการเคลื่อนท่ีเพื่อสนับสนุนทหารราบและรถถัง, สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกําเนิดของสงครามสมัยใหม

256การโจมตีพรอมกันโดยปนใหญหนักตอที่มั่นแข็งแรง การติดตอส่ือสาร และกองหนนุ ตาง ๆ, และการยิงตอบโตป น ใหญโดยใชแกสน้ําตา แลว ใชกระสุนระเบดิ แรงสูง(HE) ตอไป นอกจากน้ียังมีกองรอยปนใหญจํานวนหน่ึงท่ีไดรับภารกิจในการยิงติดตาม(Follow up) เพ่ือขับไลการตีโตตอบ ซึ่งจากการวิเคราะหตอมาพบวา ปนใหญตาง ๆของอังกฤษ ท่ีใชการยิงท่ีมีการคาดการณลวงหนาประสบผลสําเร็จในการยิงกองรอยปนใหญขาศึกรอยละ 90 ขอบกพรองเดียวคือ การลมเหลวของการติดตอส่ือสารของปนใหญในข้ันการไลติดตาม (Follow up) ซึ่งมีการระบุวาหลาย ๆปของสงครามอยูกับที่ไดทําลายความชํานาญการในการดําเนินกลยุทธไปความสําเร็จท่ีนาจดจํานอกจากนี้คือ การประสานแผนการยิงกับกําลังทางอากาศโดยอากาศยาน 289 ลํา ไดเขารวมเปนอากาศยานลาดตะเวน, อากาศยานกําหนดเปา หมายการยิงปนใหญ, อากาศยานโจมตี ภาคพ้นื ดนิ และ อากาศยานทง้ิ ระเบิด เยอรมันไดโตตอบในทํานองเดียวกันทันที เม่ือ 30 พ.ย.1917 (พ.ศ.2460)กองทัพนอยหนุนที่ 23 (XXIII Reserve Corps) ของเยอรมันทําการยิงเตรียมทแี่ คมไบรตอกองทัพนอยอังกฤษที่ 7 (British VII Corps) ท่ีมีกําลังนอยกวาอยางมากการระดมยิงเตรียมคลายกับท่ีบรุคมิลเลอร (Bruchmüller) ไดบัญชาการวางแผนและทําการยิงที่รีกา (Riga) เมื่อ ก.ย.1917 (พ.ศ.2460) นอกจากนี้ ยังเปนการปรากฏตัวครั้งแรกของ บรุคมิลเลอรที่แนวรบตะวันตก โดยลูเดนดอรฟฟไดสงตัวเขาไปสมทบกับกองทัพนอยที่ 23 (XXIII Corps) ในฐานะที่ปรึกษาเปาหมายของบรุคมิลเลอร คือ เพื่อเปล่ียนกองทัพในแนวรบตะวันตกไปใชวิธีตาง ๆที่ไดริเร่ิมที่แนวรบดานตะวันออก เมื่อ 28 ก.พ. โอเบอรสที เฮียเรสไลโทน(Oberste Heeresleitung) ไดออกคําส่ังทางยุทธวิธีชุดใหมที่รวมแนวคิดตาง ๆของบรุคมิลเลอรไว แมวาจะยังคงติดยึดกับการทําบัญชีเปาหมาย และตอตานวิธีการยิงที่คาดการณลวงหนาใหมท่ีรอยเอกพุลเคาวสก้ี (Pulkowski) ไดเสนอ1516 16 แผนการยงิ ท่ีรกิ า (Riga) ไมไ ดใชการคาดการณ แตค อ นขางจะเปน การทาํบัญชีเปาหมายแบบสัน้ ๆ ที่ดาํ เนินการดว ยการกาํ หนดระยะทแ่ี นนอนมากกวา ไบลย่ี 

257ผูออกคําสั่งดังกลาวตระหนักถึงความจําเปนในการจัดหนวยปนใหมตามภารกิจและเพื่อเพ่ิมเติมการยิงใหกลุมการยิงตอตานปนใหญระหวางการระดมการยิงเตรียมที่สําคัญย่ิง ผูออกคําสั่งดังกลาวยังมุงท่ีจะตั้งที่ตั้งปนใหญทั้งหมดใหไกลไปขางหนาเทาที่จะสามารถทําไดและเพื่อใหสอดคลองกับการยิงโจมตีดวยแกสไมคงตัว(Non-persistent gas) ที่สนับสนุนโดยใกลชิดสําหรับการโจมตีของทหารราบสุดทา ยผูอ อกคําสั่งดังกลาว ไดย อมรบั ความจาํ เปนในการทําบัญชีเปา หมายแบบสรุป ระบบทางยุทธวิธีของบรุคมิลเลอรมีสวนประกอบหลัก 6 ประการ คือการยิงขม (Neutralization), การจัดเฉพาะกจิ , การเตรยี มสนามรบ, การประสานการรบผสมเหลา, การระวังปองกันและ การจูโจม, และ การวางแผนการยิง1617การยิงสนับสนุนสําหรับสําหรับการบุกตลุยเอาชนะโดยรวดเร็วทางยุทธการของลูเดนดอรฟฟในฤดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461) ตออังกฤษ ใชวิธีการบัญชาการแบบแยกการและการแทรกซึมตามวิธีการของบรุคมิลเลอร1718 ผูบังคับบัญชาระดับสูงวธิ กี ารของพลุ เคาวส ก้ี (Pulkowski) รวมถึงการชดเชย สําหรับการสกึ ของลํากลอง,การเปลี่ยนแปลงดา นอุตุนิยมวิทยา และกระสนุ ตามหมายเลขการผลติ . 17 สําหรับวิธีตาง ๆ ของบรุคมิลเลอร (Bruchmüller) ดู David T.Zabecki, Steel Wind. Colonel Georg Bruchmüller and the Birth ofModern Artillery (Westport, CT, 1994), Chapters 3-6 (ผลงานทุนการศึกษาการตรวจสอบหาความจริงท่ีดีเยี่ยมที่แสดงวาทําไมบรุคมิลเลอร(Bruchmüller) จึงมีอทิ ธพิ ลอยางยิง่ ตอแนวคิดของการสงคราม ในศตวรรษท่ี 21). 18แนวคิดของการแทรกซึมไดเปนเร่ืองที่ยอมรับโดยทั่วไปในกองทัพอังกฤษในฤดรู อนของป 1918 (พ.ศ.2461) ซึ่ง “Hints on Training (ความสําคัญของการฝก)”ท่ีออกโดยกองทัพนอยท่ี 18 เมื่อ ส.ค.1918 (พ.ศ.2461) กลาววา “เมื่อสงสัยวาจะมุงไปที่ใดเม่ือไมแนใจทําส่ิงท่ีจะสังหารทหารเยอรมันไดมากท่ีสุด อยากลัวตอปกที่เปด”: Paddy Griffith, Battle Tactics of the Western Front: The BritishArmy’s Art of Attack, 1916-8 (London, 1994), หนา 98 รวมทั้งดูหนา 99 สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมยั ใหม

258ของเยอรมันไดประกาศใชแนวทางใหม ใน The Attack in Positional Warfare(การเขาตีในสงครามรักษาที่มั่น) ซึ่งตีพิมพเมื่อ ม.ค.1918 (พ.ศ.2461) โดยมีเปา หมายคอื การแทรกซมึ ทางยุทธวิธีทน่ี าํ ไปสูการเจาะทางยทุ ธการ1819 เมื่อ 21 มี.ค.1918 (พ.ศ.2461) เยอรมันไดโจมตีระหวางอาราส (Arras)กับลาแฟร (La Fère) ดวยปนใหญ 6,608 กระบอก โดยเปนปนใหญขนาดหนักหรือหนักมากประมาณ 2,598 กระบอก ทําใหมีปนใหญมากกวาอังกฤษที่เผชิญอยู2.5:1 ในวันแรกของการรุก ปนใหญเยอรมันยิงกระสุน 3.2 ลาน นัด โดย 1 ใน 3เปนกระสุนแกส แผนการยิงเตรียมไมใชรูปแบบที่คอย ๆ พัฒนาขึ้นจนสมบูรณของเดือนตอ ๆ ไป แตประกอบดวย 7 ข้ัน ท่ีมีข้ันยอย ๆ บางสวนในการรุกครั้งตอไป บรรดาผูวางแผนไดลดขั้นตอน เหลือเปน 3 ขั้นตอน ตามดวยฉากการยิงท่ีเคล่ือนนําหนาทหารราบท่ีเขาตี เจ็ดสัปดาหกอนการรุกกองทัพเยอรมันไดฝกทบทวนวิธีการใหม ๆ แกนายทหาร 6,000 นาย และกองรอยปนใหญท่ีมาถึงใหมทั้งหมดไดปรับมาตรฐานปนใหญของตน ในสนามจริงที่อยูในเขตหลังเมื่อลูเดนดอรฟเริ่มการรุกเม่ือ 5 เม.ย. เยอรมันไดยึด พื้นท่ีมากกวาพื้นท่ีรวมท่ฝี ายพนั ธมติ รยึดไดใ นระหวางสงครามทง้ั หมด แตค วามสําเร็จทางยุทธวิธีของลูเดนดอรฟเปนความลมเหลวทางยุทธการและยุทธศาสตร ทั้งน้ี เน่ืองจากผลการปฏิบัติที่ทําใหเสียแผนของกองทัพท่ี 17โดยมีหนึ่งในสามประการท่ีเกี่ยวของ พลโท วอน แบเรนดท (von Berendt)ผูบัญชาการปนใหญซึ่งเคยเปนผูหมวดอยูกับบรุคมิลเลอร และปจจุบันไมพอใจสําหรับคําส่ังของกองทัพนอยท่ี 22 เม่ือ 18 ก.ค.1918 (พ.ศ.2461) ท่ีกลาวถึงประสิทธิภาพของการโจมตีที่ม่ันแข็งแรงในทางลึกของขาศึก พรอมกับการโจมตีตรงหนาของขา ศกึ . 19 Jũrgen Förster, “Evolution and Development of GermanDoctrine,” British Army Conference, “The Origins of ContemporaryMilitary Doctrine,” Larkhill, 28 March 1996. ไบล่ีย

259ความเหน็ ของเขา แมวาคําสั่งที่ชัดเจนจะเปนไปในทางตรงกันขาม วอน แบเรนดท(von Berendt) ไดทําใหสูญเสียการจูโจมโดยทําการยิงหมายพิกัด (Registration)นอกจากน้ีปนใหญสวนใหญของเขายังไดหยุดยิงท่ีจุดหน่ึงนานครึ่งช่ัวโมงซ่ึงลูเดนดอรฟ ไดกลาววา “พลังสําคัญยิ่งจากพันเอกบรุคมิลเลอรไดขาดไปนี่เปนอีกตัวอยางหนึ่งของอิทธิพลท่ีชัดเจนของเร่ืองสวนตัวตอแนวทางปฏิบัติตาง ๆในสงครามเหมือนในการดํารงชีวิตทั่ว ๆ ไป” 20 เม่ือ 26 มี.ค. จักรพรรดิไกเซอร 19ไดทรงประดับใบโอคแกบรุคมิลเลอรดวยพระองคเองที่แนวหนาสําหรับเหรยี ญอสิ ริยาภรณความดคี วามชอบ (Pour le Mérite) ของเขาเม่ือ 9 เม.ย. เยอรมันไดโจมตีอังกฤษอีกครั้งที่ล๊ีส (Lys) ดวยสัดสวนปนใหญ3.3:1 และความหนาแนนของปนใหญ 100 กระบอก ตอ กม. ซ่ึงสูงสุดในสงครามดังกลาว ผูบัญชาการระดับสูงไดสั่งใหบรุคมิลเลอรและฝายเสนาธิการทั้งหมดของเขาข้ึนสมทบกองทัพท่ี 6 สําหรับการปฏิบัติการยุทธดังกลาว ซึ่งไดรับความสําเร็จทางยุทธวิธีเชนกันแตสูญเสียแรงหนุนเน่ือง (Momentum) สําหรับความตองการของกองหนุนตาง ๆ เพื่อขยายผลแหงชัยชนะที่ไดรับตั้งแตตน ท้ังนี้ มีการรุกอื่น ๆตอไปในรูปแบบเดียวกันนี้ ท่ีเชเมน เดส แดเมส (Chemin des Dames) เม่ือ27 พ.ค. บรุคมิลเลอรเปนผูบังคับทหารปนใหญของ กลุมกองทัพท้ังหมด และสามารถไดมาซ่ึงการจูโจมโดยส้ินเชิงดวยการยิงเตรียมแมนยํามากข้ึน และมีระยะเวลาสั้นกวาท่ีเคยมากอ น2021 ที่นัวยง (Noyon) และแชมเปญ-มารน (Champagne-Marne) 20 Erich Ludendorff, My War Memories, 1914-1918 (London, 1919),vol. 2, หนา 606. 21 นอกจากน้ียังใหหลักฐานสําคัญของความกาวหนาในการดําเนินการของปนใหญในสี่ป เม่ือ 27 พ.ค.1918 (พ.ศ.2461) ปน 9 น้ิว ยิงรอบท่ีสอง จากปนติดต้ังบนรถไฟที่ระยะ 23,000 หลา ถูกที่บังคับการปนใหญหนัก ของอังกฤษที่ไกเอนคอรท (Guyencourt)(Timothy Travers, How the War was Won: Command and Technology inthe British Army on the Western Front 1917-1918 (London, 1992), หนา 103. สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และกาํ เนิดของสงครามสมยั ใหม

260เมื่อ มิ.ย. และ ก.ค. รูปแบบดังกลาวประสบความสําเร็จนอยกวาสวนใหญเน่ืองจากฝายพันธมิตรไดเขาใจยุทธวิธีใหม ๆ และเริ่มนําเอายุทธวิธีเหลานี้มาใชในการต้งั รบั “สงครามจักรพรรดิ (Kaiserschlacht -ไกเซอรชล็อค)” ไดพิสูจนวาวิธีการท่ีใหม ๆสามารถเจาะแนวต้ังรับของอังกฤษและบรรลุผลที่นาตกใจ แตลมเหลวทางยุทธการและยุทธศาสตร การบุกทะลวงของลูเดนดอรฟไมสามารถเจาะผานชายฝงชองแคบ(Channel coast) หรือไปถงึ ปารสี ทแ่ี ยไปกวาน้ันในแตล ะกรณผี ูบัญชาการตาง ๆของเยอรมันไดสูญเสียการควบคุมการรบหลังจากหาหรือหกวัน เม่ือหนวยจูโจม(Storm troopers) รุกไปขางหนา จะมีทหารราบท่ีฝกมาไมดีจํานวนหน่ึงที่ติดยึดในการปฏิบัติตามรูปขบวนแบบเกา ตกอยูภายใตอํานาจการยิงของอังกฤษและฝร่ังเศสนอกจากนี้ กองทัพเยอรมันยังไมสามารถ สนับสนุนการสงกําลังบํารุงตอการรุกท่ีไดด ําเนินการไป ชัยชนะของลูเดนดอรฟท่ีหลั่งเลือดของกองทัพอนุรักษนิยมเยอรมันผิวขาวโดยการสญู เสียเกอื บหน่งึ ลานนายระหวา ง มี.ค.-ก.ค. 1918 (พ.ศ.2461) ไดนําไปสูวังวนท่ีเลวรายแหงหายนะหลังจากนั้น2122 ที่แยไปกวาน้ันหนวยท่ีดีที่สุดตาง ๆของกองทัพเยอรมันยังพบกับการสูญเสียมากที่สุด โดยเดือน มิ.ย. ลูเดนดอรฟไดสูญเสียกองพล 27 กองพล โดยสิ้นเชิงจาก 36 กองพล “เขาตี” ชั้นยอดความหายนะของกองพลเหลานี้หลงเหลือกลุมทหารราบเกือบลวน ๆ ที่จะปฏิบัติการรบการสูญเสียทหารมาทําใหเยอรมัน ตองพึ่งปนใหญมากขึ้น เพื่อครองท่ีม่ันตาง ๆท่ีกระจัดกระจาย2223 ระหวางเดือน ก.ค. และท่ีอารมิสท๊ิซ (Armistice) เยอรมัน 22 เรื่องเดียวกัน, หนา 108. 23 เร่ืองเดียวกัน, หนา 157 โชคชะตาท่ีสับสนของเยอรมันที่แนวรบดานตะวันออก (Eastern Front) ในสงครามโลกคร้ังที่ 2 ไดแสดงรูปแบบที่คลายกันในไมชาหนวยยานเกราะท่ียอดเยี่ยมก็ถูกทําลาย หลงเหลือหนวยทหารราบที่เคราะหรายใหทําการรบท่ีมีแตสูญเสีย ป 1940 (พ.ศ.2483) สวนระวังหนา ท่ียอดเยี่ยม ไบลี่ย

261สูญเสีย ประมาณมากกวา 760,000 นาย ในสนามรบดังกลาว พรอมกับผูปฏิเสธจะเปน ทหารหรือผูที่หนีทัพประมาณหนึ่งลาน เม่ือ 1 ส.ค.1918 (พ.ศ.2461)เยอรมัน ยังคงมีกองพลพรอมรบ 98 กองพล ท่ีแนวรบดานตะวันตก ซึ่งเม่ือ 11 พ.ย.คงเหลือเพียง 4 กองพล2324 เม่ือ 4 ก.ค.1918 (พ.ศ.2461) อังกฤษไดทําการรุกท่ีฮาเมล (Hamel)ซ่ึงในการยุทธดังกลาว แมวาท้ังขนาดและความสําเร็จจะมีเพียงพอประมาณกก็ อ ใหเ กดิ รูปแบบของสงครามรวมทางอากาศและทางบก ดวยยานเกราะที่ซับซอนกวาที่ริเร่ิมท่ีแคมไบร (Cambrai) เมื่อฤดูใบไมรวงกอนน้ี บรรดาผูวางแผนไดเตรียมการตาง ๆของตนดวยความลับอยางสูงสุด และก็เปนอีกคร้ังหน่ึงท่ีไมมีการยิงเตรียมรถถังรุกตามหลังฉากการยิงท่ีคืบไป โดยมีทหารราบตามรถถังเคลื่อนท่ีไดโดยอิสระหาเปาหมายตามโอกาส ขณะท่ีปนใหญยิงคุมกันปกและรวมการยิงโตตอบปนใหญโดยเฉพาะตอปนใหญตอสูรถถังของเยอรมัน การพัฒนาท่ีนาประทับใจท่ีสุดคือการประสานกันระหวางอากาศยานกับปนใหญ ทั้งในบทบาทการตรวจการณและในการวางแผนระดมยิงทางลึก ซ่ึงที่ฮาเมลไดพิสูจนวาปนใหญและรถถังสามารถทํางานรวมกนั ได และวางบทบาทรองแกท หารราบ นอกจากนี้ยังเปน ท่ีชดั เจนวาภายใตส ภาวะพิเศษของแนวรบดานตะวันตกซึ่งดวยปนใหญเอง ก็เกือบสามารถเอาชนะการรบได ดังนั้น จึงลดการสูญเสียทหารราบลงชัยชนะตาง ๆ เชนของกองพลที่ 9 ที่เมทเทอเรน (Meteren) เม่ือ 19 ก.ค.1918(พ.ศ.2461) ท่ีไดยํ้าชัยชนะอีกครั้งท่ีเมสซีนส (Messines) เมื่อหน่ึงปกอนสวนใหญเนื่องจากการทําลายความเหนือกวาของปนใหญ แตก็อีกคร้ังหนึ่งท่ีกองทัพอังกฤษ ไดใชรูปแบบที่ “ฮาเมล (Hamel)” ในสัดสวนขนาดใหญเมื่อ 8 ส.ค.ในการรบท่ีอาเมียงส (Battle of Amiens) ซ่ึงเปนขอดีของรถถังและอากาศยานประสบความสําเร็จทางยุทธการซ่ึงเม่ือป 1918 (พ.ศ.2461) และป 1941-45(พ.ศ.2484-88) ไดพสิ จู นวา เปนไปไมได. 24 เรื่องเดยี วกนั , หนา 154. สงครามโลกครงั้ ที่ 1 และกาํ เนิดของสงครามสมยั ใหม

262ในสงครามทหารราบ-ปนใหญท่ีชัดเจน การรบดังกลาวไมเชิงเปนการเจาะเทาการโอบสามมิติตอแนวรบทั้งแนว นอกจากน้ี การรบนี้ยังเปนการรบครั้งสุดทายของป1918 (พ.ศ.2461) ที่รถถังมีบทบาทมาก จาก ก.ย. ถึง ต.ค.1918 (พ.ศ.2461)กองทัพอังกฤษสูญเสียรถถังของตนไป รอยละ 62 ซ่ึงปนใหญไดเสริมชองวางท่ีเกิดข้ึนน้ี การอาศัยปนใหญเพ่ิมข้ึนที่อารมิสทิ๊ซเพียงแคตองการออมกําลังพลกองทัพอังกฤษใชกระสุนมากที่สุดตลอดสงครามท่ีเกิดข้ึนเมื่อ 28-29 ก.ย. 1918(พ.ศ.2461) ซึ่งพลประจําปนไดทําการยิงกระสุน 945,052 นัด เพ่ือเจาะแนวฮนิ เดนเบริ ก2425 ยงั คงมกี ารถกเถียงกันตอไปวาการพัฒนายุทธศาสตร, ยุทธวิธี, อาวุธยุทโธปกรณ,เทคโนโลย,ี ภาวะผูนํา, ประสิทธิภาพของฝายเสนาธิการ, หรือเพียงแคจํานวนท่ีมากกวาที่นําไปสชู ัยชนะขององั กฤษ ในฤดรู อนป 1918 (พ.ศ.2461) ทราเวิรส (Travers)ไดแสดงใหเห็นถึงแนวทางท่ีตางกันสองแนวทางของสองกองทัพ คือ การรุกโดยอาศัยปนใหญแนวทางหนึ่ง และการปฏิบัติการของยานเกราะอีกแนวทางหนึ่งซึ่งบทบาทของปนใหญมีความสําคัญย่ิงตอท้ังสองแนวทาง นายทหารของเยอรมันผูหน่ึงกลาวเมื่อ 21 ส.ค.1918 (พ.ศ.2461) โดยไดแสดงความเห็นวาการเขาตีของกองกําลังปฏิบัติการนอกประเทศของอังกฤษ (BEF) ท่ีดําเนินการดวยรถถัง,ทหารราบ และปนใหญผสมผสานกัน จะสามารถทําการเจาะไดทุกครั้ง แตถามีเพยี งทหารราบและปนใหญ ฝายเขาตีจะสามารถทําการเจาะได 3 ครั้งใน 4 ครั้งและถาเขาตีดวยทหารราบ และรถถังเทาน้ันจะสําเร็จผลเพียง 1 คร้ังใน 4 คร้ัง2526ซ่ึงการวิเคราะหกรณีสุดทาย วิธีท่ีใชปนใหญชนะ ในการรบตาง ๆ ของป 1918(พ.ศ.2461) โดยสงวนอํานาจการยิงปนใหญใหกับสนามรบซึ่งเปนแผนการดําเนินการทอี่ าํ นาจการยิงของทหารราบไดทาํ ลายเมื่อป 1914 (พ.ศ.2457) 25 เรอื่ งเดยี วกัน, หนา 180. 26 เร่อื งเดยี วกนั , หนา 140. ไบลย่ี 

263 เครอื่ งมือและบทเรยี นตาง ๆ ของการปฏวิ ตั กิ ารยิงเล็งจําลอง การทดสอบการสูญเสียจํานวนมากที่แวรดง (Verdun) และท่ีซอมม(Somme) พบวาการรวมการยิงที่เหมาะสม ทําใหสามารถรุกหนาได 2 ถึง 3 กม.ไมวาท่ีใด ๆ แตวิธีดังกลาวไดซ้ือความสําเร็จทางยุทธวิธี โดยแลกกับความสําเร็จทางยุทธการหรือการจูโจมในระยะเวลาส้ัน ๆ อยางนาตกใจ จนบัดน้ีหนวยทหารที่คิดแบบอนุรักษนิยม ไดพยายามหาเครื่องกีดขวางทางยุทธวิธีและคิดวิธีการตาง ๆที่จะทําใหไดชัยชนะทางยุทธการอีกคร้ัง บุคคลสําคัญของเรื่องน้ีคือบรรดานายพลปนใหญ เชน พลตรี เซอร เฮอรเบิรท ยูนิแอ็ค (Herbert Uniacke)และพลจัตวา เอช. เอช. ทูเดอร (H. H. Tudor) ซึ่งพยายามหาทางท่ีจะใหมั่นใจวากองทัพ ไดเรียนรูบทเรียนตาง ๆ จากทุกการรบ และไมทําความผิดพลาดของตนซ้ําอีก ซ่ึงบุคคลเหลาน้ีมีผูท่ีคิดเหมือนกันของตนในท้ังสองดานของแนวรบท้ังน้ี วิธีการตาง ๆ ที่พวกเขาพัฒนาขึ้นยังคงย่ังยืน ผานการทดสอบของกาลเวลาและยังคงเปนพน้ื ฐาน ดา นหลกั การยิงปน ใหญส มยั ใหม ต้ังแตป 1915 (พ.ศ.2458) การถายภาพและการตรวจการณ ทางอากาศชวยใหสามารถกําหนดตําบลเปาหมายไดอยางแมนยําทั่วทั้งสนามรบ และการทําแผนที่สนามเพลาะท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาใหทันสมัย หลังจากการใชครั้งแรกที่เนิพชาเพลล (Neuve Chapelle) เมื่อป 1915 (พ.ศ.2458) การถายภาพไดกลายเปนการดําเนินการมาตรฐานในป 1916 (พ.ศ.2459) จนกระทั่งป 1917(พ.ศ.2460) หนวยกําลังรบตาง ๆ ไดเอาชนะความผิดเพี้ยนของภาพถายและไดความคมชัดที่เพียงพอ ความกาวหนาในการสํารวจทางทหาร ชวยใหสามารถกําหนดที่ตั้งยิงของปนใหญไดอยางแมนยํา ซึ่งเปนความสําเร็จที่ทําใหการทําสงครามแบบอยกู บั ทที่ ําไดง า ยขึน้ แตความผดิ พลาดก็ยังคงเกิดข้ึน แมจะรูท่ีตั้งยิงจริงของปนใหญและเปาหมาย ทหารปนใหญของท้ังสองฝายไดสรางเครื่องมือตาง ๆเพือ่ ลดขอ ผิดพลาดดงั กลา ว การรวบรวมขอมลู ดา นอุตุนิยมวิทยา และการคํานวณเพ่ือชดเชย ขณะเดียวกันก็เผื่อสําหรับการสึกของลํากลองปนใหญ แตละกระบอก(การปรับเทียบ) การยายท่ีต้ังปนแตละกระบอกจากจุดที่ไดสํารวจไวแลว สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และกําเนิดของสงครามสมัยใหม

264ผลของอุณหภูมิตอดินขับ และปจจัยตาง ๆ ในการผลิตกระสุนตามชุดท่ีผลิตเมื่อป 1918 (พ.ศ.2461) ปนใหญขนาด 18 ปอนด สามารถ ยิงไดแมนยําถึง 80 ม.ในระยะที่ไกลกวา 4 กม. ซึ่งเปนมาตรฐานเดียวกับที่คาดหวัง สําหรับปนใหญสนามในปจจุบนั การส่ือสารตาง ๆ เพื่อปรับตําบลกระสุนตกยังคงเปนปญหา กระสุนปนใหญท่ีตกทําใหสายโทรศัพทขาด สวนวิทยุตาง ๆ ยงั คงอยูในชวงเรม่ิ ตน ผตู รวจการณทางอากาศไดพัฒนาแผนในรายละเอียดถาระบบ การสื่อสารไมปลอดภัยสําหรับการติดตอสื่อสารโดยตรงกับปนใหญตาง ๆ ของตน ป 1918 (พ.ศ.2461)กองทัพฝร่ังเศสมีผูเชี่ยวชาญดานโทรศัพท 50,000 นาย โดยมีพนักงานสื่อสาร200 นาย ตอ กรมปน ใหญ และความตอ งการในการทําสงครามไดระดมสายโทรศัพทตามบานทั้งหมดของฝรั่งเศส นอกจากนี้ หนวยกําลังรบตาง ๆ ยังพัฒนาวิธีดําเนินสงครามอิเล็กทรอนิกสคร้ังแรกขึ้น คือ การดักฟงการติดตอส่ือสารทางวทิ ยแุ ละโทรศพั ท เ ค รื่ อ ง มื อ พ้ื น ฐ า น ข อ ง ท ห า ร ป น ใ ห ญ เ ป ลี่ ย น ไ ป จ น เ กื อ บ จํ า ไ ม ไ ดโดยปนใหญกระสุนวิถีโคงและวิถีราบขนาดหนักไดกลายเปนอาวุธหลัก ป 1914(พ.ศ.2457) กองทัพอังกฤษมีกองรอยปนใหญหนักเพียง 6 กองรอย เทียบกับกองรอยปนใหญสนาม 72 กองรอย เดือน พ.ย.1918 (พ.ศ.2461) กองทัพอังกฤษมกี องรอ ยปนใหญห นัก 440 กองรอย เทียบกับกองรอยปนใหญสนาม 568 กองรอยซึ่งเปน ตัวอยางการปฏริ ูปของหนว ยกําลังรบหลกั อนื่ ๆ กระสุนทีจ่ ายแกปนใหญเหลาน้ีตั้งแตป 1918 (พ.ศ.2461) มีหลากหลาย ประกอบดวยกระสุนระเบิดแรงสูง (HE)และกระสุนแกสและชนวน ที่สําคัญที่สุดชนวนกระทบแตกและชนวนถวงเวลาชนวนกระทบแตกทําใหกระสุนระเบิดแรงสูง (HE) มีผลคลายกับของกระสุนแบบสาดสะเก็ด แตไมตองใชความชํานาญการเทาเพ่ือทําการยิง ซ่ึงตามวิถีทางของมันแลวนับเปนส่ิงสําคัญเทียบเทาชนวนวิทยุ (Radar proximity fuse) ของป1944 (พ.ศ.2487) (ทํางานโดยตั้งระยะที่หางจากเปาหมาย กระสุนจะแพรคล่ืนไปกระทบเปา หมาย เมอื่ กระสนุ เขา ใกลเปาหมายในระยะทต่ี ั้งชนวนจะจุดระเบิดกระสุน) ไบลีย่ 

265 ตง้ั แตป 1917 (พ.ศ.2460) เปนตนไป อํานาจกําลังรบทางอากาศ รวมทั้งการใหการลาดตระเวนและการตรวจการณการยิงปนใหญ ไดเพิ่มบทบาทมากขึ้นในการโจมตีทางลึกและการยุทธภาคพ้ืน-อากาศ ที่มีการประสาน อังกฤษฝกกําลังพลทําการยิงกราดจากเคร่ืองบินระดับต่ําที่ซอมม เม่ือ 31 ก.ค. 1917 (พ.ศ.2460)เคร่ืองบินเยอรมันไดรับภารกิจท้ิงระเบิดโจมตีตอกําลังทหารอังกฤษที่กําลังโจมตีพิลเคม ริดจ (Pilkem Ridge) ซึ่งเปนหน่ึงในภารกิจท้ิงระเบิดโจมตีสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดครั้งแรกของสงคราม เยอรมันรวบรวมเครื่องบิน 730 ลําสําหรับ “สงครามจักรพรรดิ (Kaiserschlacht - ไกเซอรชล็อค)” และไดต้ังฝูงบินโจมตีทิ้งระเบิด (Schlachtstaffeln - ชล็อชสตาฟเฟลน) เพ่ือใช ณตําบลแตกหักของการเขาตี เม่ือไดรับคําสั่งจากผูบัญชาการหนวยภาคพ้ืนโดยบินในระดับตํ่าดวยรูปขบวนประชิดเพื่อทําลาย ขวัญกําลังใจของขาศึก เมื่อ18 มี.ค.1918 (พ.ศ.2461) รอยเอก (Oberleutnant - โอเบอรลอยทนั้นท)ริทเทอร วอน เกรม (Ritter von Greim) ไดทําการบินภารกิจตอสูรถถังท่สี าํ เรจ็ ผลเปนครั้งแรกท่ีซอมม นอกจากนี้ ฝร่ังเศสยังตั้งหนวยสําหรับการปฏิบัติการทางอากาศโดยเฉพาะ คือ Division Aérienne (ดิวิชิออง ไอเรียนน - หนวยบิน)เพื่อสนบั สนนุ การรบภาคพ้ืนดิน อังกฤษสวนใหญดวยวิสัยทัศนของพันโท เจ. เอฟ. ซี. ฟุลเลอร (J. F. C. Fuller)ไดมอบบทบาทหลัก แกเครื่องบินในการรบที่แคมไบร สําหรับการรุกที่อาเมียงส(Amiens) เมื่อ ส.ค.1918 (พ.ศ.2461) ผูบัญชาการของอังกฤษไดมอบภารกิจแกเคร่ืองบินใหบินนําหนารถถัง คนหาและทําลายปนใหญตอสูรถถัง การสกัดกั้นตอทางรถไฟตา ง ๆ ท่ใี ชเคล่ือนยายกองหนุน เร่ิมกลายเปนภารกิจปกติ เม่ือ 4 มิ.ย.1918(พ.ศ.2461) เคร่ืองบินโจมตีทิ้งระเบิด เบรเกต 14 (Breguet XIV) ของฝรั่งเศส120 ลํา ไดทิ้งระเบิด 700 ลูก ตอกําลังสวนใหญของกองหนุนของเยอรมันทเ่ี ขา ทก่ี ําบงั จากการยิงของปนใหญใ นหว ยลกึ ท่ีมตี ลิง่ ชนั แหงหน่ึง กําลงั ทางอากาศยงั สามารถสงกําลังแกหนวยตาง ๆ จากทางอากาศ ดังเชนเมื่อ ก.ค.1918 (พ.ศ.2461)การท้ิงของทางอากาศสามารถสนับสนุนแกกองพันหน่ึงของฝรั่งเศสท่ีถูกตัดขาด สงครามโลกครงั้ ที่ 1 และกําเนิดของสงครามสมัยใหม

266ที่ชาโต วอนเดียร (Château Vandières) จนกระท่ังกองพันดังกลาวไดรับการผลัดเปลี่ยนในสองวันตอมา ขอเสนอแนะของพันเอก วิลเลียม (บิลล่ี) มิทเชลล(William (“Billy”) Mitchell) ที่ใหทหารราบอเมริกากระโดดรมลงท่ีเมทซ (Metz)จากเคร่ืองบินท้ิงระเบิดแฮนดล่ีย เพจ (Handley Page) ที่ไดรับการดัดแปลงเปนการริเร่ิมอีกประการหน่ึงของการยุทธสามมิติสมัยใหม รวมท้ังสรางผลการจูโจมในทางลึกของขาศึก เมื่อบทบาทของกําลังทางอากาศเพิ่มขึ้น ความสําคัญของการตอตานทางอากาศก็เพ่ิมขึ้น สอดคลองกับการกาวหนาท่ีคลายกันของการปฏิบตั กิ ารยงิ ตอ ตา นปน ใหญ เชนกัน ปนใหญและการบัญชาการไดมีการปฏิวัติการจัดหนวย คือไดมีการจัดหนวยในการบัญชาการ, การขาว และการวางแผนใหม ทั้งในระดับยุทธวธิ แี ละระดับยุทธการ ในกองทัพอังกฤษ ป 1916 (พ.ศ.2459) ผูบัญชาการปนใหญกองทพั นอยไดบังคบั บญั ชาหนวยปน ใหญก องพลท้ังหมดภายใน กองทัพนอยของตนผบู ัญชาการคนดงั กลา วไดก ําหนดระยะเวลาในแผนการยิงและแบงมอบผูตรวจการณแกกองรอยปนใหญตาง ๆ ท่ัวท้ังหนวยดังกลาว ป 1918 (พ.ศ.2461) การวางแผนการยิงปนใหญไดกลายเปนหนาท่ีระดับกองทัพ โดยจะมอบอํานาจใหกองพลเมื่อเริ่มเขาตี และคร่ึงหนึ่งของปนใหญกองพลไดรุกไปกับ กําลังที่เขาตีหลังเวลาน. 90 นาที นอกจากน้ีดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461) ยังเปนท่ียอมรับวาทหารราบไมสามารถอาศยั การยิงชวยเหลอื ในเวลาฉุกเฉนิ (SOS) ของปนใหญแมจะดูเหมอื นวาจาํ เปน2627ซงึ่ ผบู ญั ชาการปน ใหญไ ดตกลงใจมอบปนใหญในระดับสูงกวาท่ีมีภาพดานการขาวทก่ี วางขวางกวา เยอรมันไมมีปนใหญกองทัพนอยจนกระทั่ง ก.พ.1916 (พ.ศ.2459)โดยภารกิจในข้ันตนเปนเพียงแคหนวยสํารองอาวุธ การประสานการปฏิบัติระหวางกองพลกบั ปนใหญกองทพั นอยยงั ไมมีและกองพล ไมสามารถรองขอการสนับสนุน 27การยิงชวยเหลือในเวลาฉุกเฉิน (SOS) เปนการปฏิบัติปกติประจําทท่ี หารราบสามารถรอ งขอการยิง ในการต้งั รบั โดยทนั ทจี ากปน ใหญท สี่ นับสนนุ ตน. ไบล่ยี 

267จากปนใหญกองทัพนอยได แตเม่ือฤดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461) เยอรมันไดจัดหนวยปนใหญเฉพาะกิจของตนเปน 7 กลุมพันธกิจท่ีไดแบงออกเปนกลุมยอยซ่ึงนับเปนการเริ่มปฏิวัติจากสายการบังคับบัญชาตามแบบเดิม ๆ 28 ตั้งแตน้ัน 27เยอรมันก็ไดตระหนักอยา งเตม็ ท่ี ถึงความแตกตางระหวางการรบระยะใกลกับการรบทางลึกและความจําเปนในการประสานการปฏิบัติระหวางการรบท้ังสอง ป 1918(พ.ศ.2461) ปนใหญเยอรมันไดรับการกําหนดเวลา, ภารกิจ และพื้นที่การยิงตาง ๆจากหนวยบัญชาการระดับกองทัพ แตหมูกองทัพและหมูกองทัพยอยจะเลือกเปาหมายตาง ๆ ท้ังน้ี การฝกและการวางแผนจะเนนท่ีการประสานการปฏิบัติของทุกเหลาและการวางแผนการยิงท่ีออนตัวท่ีเพียงพอท่ีจะใหสอดคลองกับยทุ ธวธิ ใี หม ๆ ของทหารราบ2829หนวยกําลังรบตาง ๆ ไดจัดต้ังหนวยสงกําลังบํารุงแบบใหมขนาดใหญเพ่ือสนองความตองการที่คาดไมถึงของปนใหญ กองทัพตาง ๆ ของป 1914(พ.ศ.2457) ไดเปนกองทัพของการปฏวิ ัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) แลวแตกระน้ันก็ตาม กองทัพเหลานี้ก็เปนเพียงแคเงาของสิ่งท่ีมหาสงครามปนใหญ(Great Artillery War) นํามา หนวยปนใหญของกองทัพอังกฤษ (Royal Artillery)เริ่มใหญกวาราชนาวี อังกฤษ (Royal Navy) และป 1917 (พ.ศ.2460)สัดสวนของพลประจําปนใหญตอทหารราบในหลาย ๆ การรบไดเพ่ิมเปน 8:10ในกรณีของอังกฤษและเยอรมัน สัดสวนของพลประจําปนใหญตอทหารราบเพ่ิมขึ้นเปนสองเทาระหวางป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) และในกรณีของฝรั่งเศส 28 Zabecki, Steel Wind, หนา 36-42. 29 สําหรับวิธีการใหม ๆ ของกองทัพเยอรมัน ดู Bruce Gudmundsson,Stormtroop Tactics: Innovation in the German Army 1914-1918 (NewYork, 1989) และ Timothy T. Lupfer, “The Dynamics of Doctrine: TheChanges in German Tactical Doctrine During the First World War,”Leavenworth Papers 4 (1981). สงครามโลกครงั้ ที่ 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมัยใหม

268ไดเพิ่มข้ึนเปนสามเทา เชนเดียวกัน กรมปนใหญสนาม 9 กรม ของสหรัฐฯเมื่อ เม.ย.1917 (พ.ศ.2460) ไดเพิ่มขึ้นเปน 234 กรม จากอารมิสทิ๊ซ2930 ในป 1914(พ.ศ.2457) กองทัพรัสเซียมีปนใหญหนัก 797 กระบอก แตในป 1917 (พ.ศ.2460)ไดมีถึง 2,550 กระบอก3031 เพ่ือสนับสนุนความตองการท่ีไมรูจักพอของปนใหญตาง ๆของตน หนวยกําลังรบตาง ๆ ไดตั้งโรงงานอาวุธและกระสุนใหม ๆ ขนาดใหญที่มีผลตอ สงั คมอยา งมาก สงครามโลกครั้งท่ี 1: การยิงเลง็ จาํ ลองและการปฏวิ ัติการทหาร สงครามโลกคร้ังท่ี 1 ไดเปลี่ยนแปลงโฉมหนาของสงครามในศตวรรษท่ี 20ในหลาย ๆ ทาง สงครามน้ีไดน าํ มาซึง่ การตอสูกันระหวา งรถถัง และอาวุธตอสูรถถัง,การรบระหวางอากาศยาน, การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร, การลาดตระเวนทางอากาศและการปองกันภัยทางอากาศ และทําใหเกิดทัศนะวาเครื่องบินอาจทําหนาที่เปน“ปนใหญบิน (Flying artillery)” ในการสนับสนุน การปฏิบัติการของยานเกราะการสงกําลังบํารุงไดกลายมาข้ึนอยูกับเครื่องยนตสันดาปภายใน และการบัญชาการทางยุทธการและยุทธวิธีขึ้นอยูกับการติดตอสื่อสารในสนามรบดวยอิเล็กทรอนิกสความนากลัวของสงครามเคมีไดกลายมาเปนเรื่องของการปฏิบัติประจําความคล่ังไคลดานชาติพันธุ (Ethnic fanaticism) และทางการเมือง, การรุกราน,และการปองกันตัวกระตุนสังคมอุตสาหกรรมใหระดมกําลังคนของสังคมทั้งหมดและเปล่ยี นตัวเองไปเปนโรงงานอาวธุ ขนาดใหญ3132 ที่ระดับเทคโนโลยปี นใหญ 30 Dastrup, Kings of Battle, หนา 163. 31 Richard Simpkin, Deep Battle: The Brainchild of MarshalTukhachevskii (London, 1987), หนา 109. 32 The War of Invention (London, 1988) ของ Guy Hartcupไดก ลา วถงึ การพัฒนาทางวิทยาศาสตร ในป 1914-1918 (พ.ศ.2457-2461). ไบลย่ี 

269ไดเขามามีอิทธิพลเหนือการสงคราม และการยิงเล็งจําลองก็มีอิทธิพลเหนือปนใหญ3233การปฏิวัติดังกลาวทําใหเกิดความตองการอยางมากสําหรับระบบควบคุมบังคับบัญชาและการติดตอส่ือสาร และการขาวกรองสนามรบ เพื่อบริหารทั้งการขาวกรองและการวางแผนการยิงที่ระบบน้ีสนับสนุนความจําเปน สําหรับระยะ และความแมนยําท่ีมากกวาและสรางความเสียหายขางเคียงนอยลงดวยเหตุผลของความไดเปรียบทางทหาร ไดกลายเปนลักษณะเฉพาะของความกาวหนาทางเทคนิคที่เกิดขนึ้ ตอ จากการปฏิวตั ิทางทหาร การปฏวิ ตั กิ ารยงิ เลง็ จําลองจาํ เปน ตองปรับการจัดหนว ยใหมต ง้ั แตร ากฐานของกองทพั ตา ง ๆ ท่แี ขง ขันกัน ซึง่ การยุตโิ ดยสนิ้ เชงิ ของหนวยทหารมาใชม า และการจัดตง้ั หรอื ขยายเหลา หรอื สายงานใหม สําหรับปน กล, รถถงั , การปอ งกนั ภยัทางอากาศ, สงครามเคมี, ส่ือสาร, ชางยนต, และการรบทางอากาศ 33 จํานวนการสูญเสียแสดงอิทธิพลของปนใหญหลังป 1914 (พ.ศ.2457)ปน ใหญทาํ ใหเกิด การสูญเสียของอังกฤษท่ีแนวรบดานตะวันตก ในสงครามโลกครั้งท่ี 1รอยละ 58 ซ่ึงจํานวน การสูญเสียไดเพ่ิมเปนรอยละ 75 ในยุทธบริเวณแอฟริกาเหนือในสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ปนใหญของเยอรมันมีสวนตอการสูญเสียของรัสเซียรอยละ 51 ในป 1945 (พ.ศ.2488) จํานวนการสูญเสียเพ่ิมเปน รอยละ 61แมวากองทัพเยอรมันท่ียึดถือแนวทางเดิม ๆ จะไมใหความสนใจปนใหญของตนตรงกันขาม ปนใหญทําใหเยอรมันสูญเสียยุทโธปกรณและกําลังพล ประมาณรอยละ 70 ในสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 และมผี ลตอการเสียชวี ิตของทหารอเมริการอยละ 60ในสงครามเกาหลี กองทัพโซเวียตไดคํานวณในป 1980 (พ.ศ.2523) วาจรวดและปนใหญประกอบอยูในอํานาจกําลังรบของตนรอยละ 80 กําลังทางอากาศไดมีความสําคัญมากขึ้นกวาแตกอน แตไดใชเปนพิเศษในการสนับสนุนการยิงจากผิวพื้นสูผิวพื้นซึ่งความทาทาย คือ การใชประโยชนสูงสุดของการแบงมอบงาน (Division of labor)ระหวางทรัพยากรตา งๆ ของอาํ นาจการยงิ ทปี่ ฏิบัตกิ ารรว มกับหนว ยดําเนินกลยุทธ. สงครามโลกครง้ั ที่ 1 และกําเนิดของสงครามสมยั ใหม

270ทั้งน้ี เน่ืองมาจากการแยกเหลาทหารอากาศออกไปเปนการเฉพาะความออนตัวในการจัดหนวยที่ยังแปลกใหมตอความคิดของกองทัพตาง ๆ กอนป 1914(พ.ศ.2457) เปน องคประกอบที่สําคญั ของ การปฏวิ ัตกิ ารทหารแผนชลีฟเฟน (Schlieffen Plan) และการรุกของเยอรมันเมื่อป 1914(พ.ศ.2457) ท่ีเกิดจากแผน ดังกลาวเปนตัวอยางท่ีชัดเจนของรูปแบบหนึ่งของสงครามคือ มีลักษณะแบบเชิงเสนสองมิติ (Two-dimensional linearity) ซึ่งเกาแกเทากับการสงครามเอง การเจาะตรงหนาเปนสวนหน่ึงขององคประกอบทั้งหมดของผูบัญชาการรบ แตการทําลายลางดวยการโอบประกันชัยชนะโดยรวมปกของขาศึกเปนจุดแตกหัก จุดก่ึงกลางสามารถใหพื้นที่ที่แสดงใหเห็นการเคลื่อนท่ีของปกหรือปกตาง ๆ 34 เยอรมันไดดําเนินแผนกลยุทธนี้ในภาพใหญเม่ือ 33ส.ค.-ก.ย.1914 (พ.ศ.2457) ซึ่งลมเหลวและไมชาก็ไมมีปกปรากฏ เมื่อกองทัพที่มีกําลังพลจํานวนมากซ่ึงไดรับการสงกําลังดวยทางรถไฟตาง ๆ และเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไดเติมเต็มพ้ืนท่ีการรบจากชองแคบ (Channel) ไปยังชายแดนสวิส ผลลัพธนั้นคือเสนแบงเขตแหง สหัสวรรษ (Millennial watershed) ในสงครามความวุนวาย, ความทุกขยาก และการนองเลือด ของสี่ปตอไป เปนการคนหาดวยการลองผิดลองถูก เสริมดวยความหลักแหลมทางยุทธวิธีและทางเทคนิคเพื่อทดแทนระบบท่ีใชมานับพัน ๆ ป ซ่ึงรูปแบบใหมนี้ใชมิติท้ังสามมิติ และแงมุมดา นจิตวิทยา เปาหมายไมใชเพ่อื โอบปก , โอบลึก และการทําลายลาง แตเพ่ือเจาะจากดา นหนา พรอมกบั ทําลายลางตลอดทางลึกในพื้นที่สวนหลังของขาศึก การหยุดยั้งการเจาะไมใชการโอบ ไดกลายเปนเปาหมาย และอํานาจการยิงเล็งจําลองเปนหัวใจสําคัญของการดําเนินการดังกลาว แตขอจํากัดท่ียากลําบากยังคงจํากัด 34 สําหรับการเปรียบเทียบน้ี ดู Guenter Roth, “Operational Thinkingin Schlieffen and Manstein,” ใน MIlitặrgeschichtliches Forschungsamt,Development, Planning and Realization of Operational Conceptionsin World War I and II (Herford, 1989). ไบลี่ย

271ความสําเรจ็ ของวธิ ีการใหมน้ี กองทพั ตา ง ๆ ในสงครามโลกคร้ังที่ 1 (Great War)ขาดการขนสงเพื่อเคล่ือนยายกําลังพล, ปนใหญ และสิ่งอุปกรณตาง ๆผานภูมิประเทศที่ยากลําบากในการรุก และการติดตอสื่อสารเพ่ือดํารงการควบคุมแผนการยงิ แบบแยกการเมื่อเริ่มการรกุ ในทีส่ ุด การขนสงดวยยานยนต, การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด, และการติดตอสื่อสารท่ีไมใชสาย ก็ไดแกปญหาความยุงยากเหลาน้ีอยางมาก แตความขาดแคลนท่ีทําใหไมสามารถดําเนินการไดท่ียังคงอยูในสภาพการใชแรงงานจํานวนมากในป 1918 (พ.ศ.2461) ไมไดขัดขวางการกําเนิดของรูปแบบใหมของสงคราม ซ่ึงส่ิงเหลานี้เปนผลจากการแกไขทางเทคนิคไมใ ชการปฏวิ ตั ิกรอบแนวคดิ 3435 ปจจัยทางประวัติศาสตรใดที่ทําใหวิธีการใชความรุนแรงท่ีมีการจัดระบบไดเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้งเพิ่มขึ้น? อะไรเปนพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของป 1917-18 (พ.ศ.2460-61)? จะแยกแยะความแตกตางระหวางหลักการที่สําคัญ กับ ยุทธวิธี, เทคนิค และกับดักทางกายภาพ ไดอยางไร?หัวใจสําคัญของการปฏิวัติการยิงเล็งจําลอง คือ การสังเคราะหแนวความคิดที่มีมายาวนานเก่ียวกับสงคราม และความเขาใจในชวงตนของศักยภาพของเทคโนโลยีหลักการยิงปนใหญท่ีมีอยูเพ่ือสรางแนวทางใหม ภายใตการบีบบังคับกอนสงครามแนวความคิดและโครงสรางทางทหารข้ึนอยูกับกรอบแนวคิดตาง ๆ ท้ังหมด 35 Earl H. Tilford (The Revolution in Military Affairs: Prospectsand Cautions, Strategic Studies Institute, U.S. Army War Collaee[Carlisle Barracks, PA, 1995]) กลาววา สงครามโลกครั้งที่ 1 เปนการปฏิวัติการทหารทางเทคนิค (Military-technical revolution) ซงึ่ ไมไ ดถกู เปลีย่ นไปเปนการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) จนหลังจากไดส้ินสุดลง ซ่ึงทัศนะดังกลาวไดปฏิเสธพ้ืนฐานกรอบแนวคิดที่ไดกําหนดไว ของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA)ท่ีบรรลุผลในป 1918 (พ.ศ.2461) และเนนความสําคัญของยกระดับ ทางเทคนิคท่ตี ามมาอยา งยิง่ . สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมัยใหม

272ซง่ึ ตองมตี วั เรงหนง่ึ สําหรับการปฏวิ ัตดิ งั กลาว ตวั เรงดังกลาวเปนสิ่งที่นาตื่นตะลึงอยางยิ่งของสงครามป 1914 (พ.ศ.2457) ซึ่งลบลางหลักนิยมที่มีอยูทั้งหมดการปฏิวัติน้ีเกิดขึ้นเนื่องจากการจัดต้ังหนวยทหาร ณ ชวงเวลาที่ไมสามารถสรางแรงกดดันตาง ๆ ตอการเปลี่ยนแปลงท่ีกองทัพมีเสรีท่ีจะไมสนใจไดในยามปกติ แตไมใชในยามสงคราม ผูสังเกตการณบางคนของสงครามรัสเซีย-ญี่ปุน(Russo-Japanese War) ไดรูสึกถึงการสั่นเตือนของการเปล่ียนแปลงแบบแผนดินไหวที่จะเกิดข้ึน ซ่ึงบรรดาฝายเสนาธิการและผูบัญชาการระดับสูงไมรูสึกหรือไมสนใจสิง่ เหลา น้ี หลกั การพนื้ ฐานของอํานาจการยิง และการดาํ เนนิ กลยทุ ธ กําลงั เปล่ยี นแปลงไปซึง่ ไมว าการอนรุ ักษน ิยมทางเทคนิคและสังคม หรือการรับรู ที่ผิดพลาดของบทเรียนของสงครามครั้งกอน ๆ หรือทฤษฎีของฝายเสนาธิการทั่วไปที่เหมาะสมไมสามารถยับยง้ั การเปลีย่ นแปลงเหลาน้นั ได กองทัพตาง ๆ วางแผนที่จะใชทหารราบจํานวนมากท่ีความสามารถในการเคล่ือนที่ทางยุทธวิธี ไมไดเปลี่ยนแปลงไปอยางสําคัญนักต้ังแตยุคหินเกา(Paleolithic) ในการเผชิญหนากับกองกําลังท่ีคลายกัน ที่มีอาวุธท่ีถึงแกความตายมากขึ้น,ยิงเร็วข้ึน, มีระยะยิงไกลข้ึน กองทัพตาง ๆ ไมสามารถคาดการณถึงผลที่จะเกิดข้ึนของอํานาจการยิงท่ีความเหนือกวาของทหารราบ ตอความสามารถในการเคล่ือนท่ีทางยุทธวิธีของทหารราบ และในฤดูรอนป 1914 (พ.ศ.2457)การเปลี่ยนแปลงดังกลา วก็ยตุ ิ ส่ิงทนี่ าตื่นตะลึงประการทส่ี อง จากการเปลีย่ นแปลงอยางรุนแรงทางทหารนี้เกิดขึ้นในฤดูใบไมรวงและฤดูหนาวถัดไป เมื่อแนวสนามเพลาะที่พัฒนาข้ึนใหมไดเพิ่มพลังในการตั้งรับมากขึ้น และทําใหไมสามารถเคลื่อนท่ีอยางหลีกเล่ียงไมได ผลก็คือสภาพการคุมเชิงกันท่ีนองเลือด และกําเนิดของกรอบแนวคิดใหม ๆ ท่ใี นท่สี ุดกไ็ ดเชอื่ มโยงอํานาจ การยงิ จากการพฒั นาอุตสาหกรรมเขา กับการรกุ และทําใหสามารถทจ่ี ะดาํ เนินกลยทุ ธไดอกี คร้งั การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติของป 1917-18 (พ.ศ.2460-61) ไมใชเพียงหนึ่งเดียวท่ีหนวยกําลังรบเดียวไดรับขอไดเปรียบแบบอสมมาตรตอคูตอสูอื่น ๆ ทั้งหมดป 1918 (พ.ศ.2461) ทง้ั สองฝายไดเ ริ่มเขาใจ เร่ืองเรขาคณิตและพลวัตของรูปแบบใหม ไบล่ยี 

273ของสงครามผานกระบวนการท่ีนองเลือดของการศึกษารวมกัน ทั้งสองฝายมีความสามารถในการปฏิบัติการยุทธภายในกรอบของตน สมดุลของพลังอํานาจทางเศรษฐกิจ และการตัดสนิ ใจทางยุทธศาสตรท ผ่ี ิดพลาดอยา งนาตกใจของเยอรมนัเปนตวั กําหนดผลลพั ธในท่ีสดุ แตใ นรูปแบบใหมก็ไดปรากฏแนวทางสองแนวทาง3536โดยท้ังสองแนวทางจะขึ้นอยูกับอํานาจการยิงสามมิติของปนใหญและกําลังทางอากาศแตแนวทางแรก ซ่ึงไดปรากฏที่แคมไบร และในรูปแบบท่ีพัฒนาข้ึนในการรบที่อาเมียงส (Battle of Amiens) ใน ส.ค. ถัดไป ซึ่งไดรวมเอาการใชเคร่ืองยนตตาง ๆในสนามรบมากขึ้น แนวทางท่ีสอง ซ่ึงไดใชใน “สงครามจักรพรรดิ (Kaiserschlacht)”องั กฤษไดเ ขา ตีท่ีเมทเทอเรน (Meteren) เม่ือ ก.ค.1918 (พ.ศ.2461) และอังกฤษไดเขาตีแนวฮินเดนเบิรก ซึ่งไดอาศัยปนใหญท้ังหมดมากข้ึน เยอรมันไดนําเอาแนวทางทสี่ องมาใชเ นอ่ื งจากขาดทางเลอื กดานเคร่อื งยนต เชนเดียวกับกองทัพบกอเมริกาที่แซ็งมิเยียล (St. Mihiel) เมื่อ ก.ย.1918 (พ.ศ.2461)3637 ซึ่งอังกฤษไดสรุปวาแนวทางท่ีสองใชงบประมาณนอยกวา และจาก ก.ย.1918 (พ.ศ.2461)การขาดแคลนรถถังทําใหไมสามารถพัฒนาแนวทางแรกไดตอไปไมวาในกรณีใด ๆ3738 36 ดู Travers, How the War was Won. 37 ตามท่ี Jehuda L. Wallach (The Dogma of the Battle ofAnnihilation [Westport, CT, 1986], หนา 19 ไดระบุวา ลูเดนดอรฟตองรับผิดชอบบางสําหรับความลมเหลวของเยอรมันในการบรรจุรถถังตาง ๆ;รวมท้ัง Rod Paschall, The Defeat of Imperial Germany, 1917-1918(Chapel Hill, NC, 1989), หนา 173. 38แนวทางทั้งสองท่ีพัฒนาข้ึนเม่ือป 1918 (พ.ศ.2461) ยังคงมีผลอยูในปจจุบันแมวาจะมีการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว ตัวอยางเชน บรรดาผูบัญชาการของอังกฤษไดเห็นการใชปนใหญ จํานวนมากเปนเคร่ืองมือในการลดการสูญเสียในการโจมตีตอแนวฮินเดนเบิรก เชนกันพันธมิตร ในสงครามอาว (Gulf War Coalition)ไดเลือกแนวทางทส่ี อง ซ่ึงอาศัยความเหนือกวาของอํานาจการยิง ท่ีไดรับการสนับสนุน สงครามโลกครงั้ ที่ 1 และกาํ เนดิ ของสงครามสมยั ใหม

274ในสองแนวทางดังกลาวภายในกรอบ ท้ังหมดของรูปแบบใหมของสงครามไดเปนกําเนิดของการถกเถียงทางยุทธวิธีและยุทธการที่กําหนดรูปรางของสงครามโลกคร้ังที่ 2 และยังคงเปนส่ิงสําคัญยิ่งในศตวรรษที่ 21 ในการปฏิสัมพันธระหวางการกําหนดยุทธศาสตรและเทคโนโลยีท่ีมีอยูยังคงควบคุมตัวเลือกพ้ืนฐานซึ่งเห็นไดในป 1918 (พ.ศ.2461) ในระดับยุทธการและยุทธวิธีของสงคราม คือระหวางการดําเนินกลยุทธท่ีไดรับการสนับสนุนดวยอํานาจการยิง กับ อํานาจการยิงท่ีไดร บั การสนับสนุนดวยการดาํ เนนิ กลยทุ ธดวยการดําเนินกลยุทธ การยิงทางลึกจะทําลายที่มั่นตาง ๆ ในการตั้งรับแบบอยูกับท่ีและพ้นื ฐานตา ง ๆ ทางยทุ ธศาสตรข องการตั้งรับน้ัน ในระยะไกล ดวยการสูญเสียนอยที่สุดและกําลังภาคพื้นดินเคล่ือนรุกหนาเพื่อยึดครองภูมิประเทศ ซึ่ง Foch เห็นดวยอยางย่ิง แตในกรณีอื่น โดยเฉพาะเมื่ออํานาจการยิงเหนือกวา แนวทางแรกอาจใหค วามไดเปรียบมากกวา ในทง้ั สองกรณี อาํ นาจการยงิ สามมติ ิยังคงจําเปนอยางยิ่งเชนเดยี วกบั ทีม่ ีมาต้งั แตป 1918 (พ.ศ.2461). ไบลี่ย

9 พ.ค.1940 (พ.ศ.2483):ความประจวบเหมาะและความเปราะบางของการปฏวิ ัตใิ นกิจการทหารของเยอรมนั (May 1940: Contingency and Fragility of the German RMA) วิลเลยี มสัน เมอรเ รย (Williamson Murray) สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ทําใหการปฏิวตั กิ ารทหารของป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)กลับมาเริม่ ใหม หลงั จาก 20 ป ของการสงบศึกท่ีปนปวน ซึ่งสงครามท่ีใหญที่สุดในประวัติศาสตรไมใชเพียงแคผลลัพธหนึ่งที่ตามมา โดยเปนภาวะตอเน่ือง(Continuation) หลังจากหยุดช่ัวคราวส้ันๆ และภายใตการบริหารจัดการใหมของความพยายามที่จะเปนเจาโลก ที่จักรวรรดิเยอรมัน (Imperial German)ไดกระทําเม่ือป 1914 (พ.ศ.2457) สงครามดังกลาวเปนการบรรลุถึงจุดสูงสุดของการหลอมรวมการปฏิวตั ฝิ รงั่ เศสและการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมของสงครามโลกครัง้ ท่ี 1(Great War) ไปเปน ส่งิ ชั่วราย 3 ประการ (Unholy trinity คือ ซาตาน, ผูตอตานพระคริสต (Antichrist), และผูเผยแพรคําสอนที่ช่ัวราย (False Prophet)) ของความบาคล่ังของมวลชน, วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, และความสามารถในการสรา งสรรค-ทาํ ลาย และความเปน องคก ร ทีไ่ มม ที ่เี ปรยี บของรัฐอุตสาหกรรม แมจ ะเปนท่ชี ดั เจนวารปู แบบสมัยใหมของสงครามที่ไดกลา วไปในบทกอนหนาน้ีไดเกิดขึ้น เม่ือมองยอนหลังไปแลว เคร่ืองมือทางเทคโนโลยี, ยุทธวิธีและยุทธการสงครามโลกครั้งท่ี 1 ก็ยังไมชัดเจนพอ สําหรับผูท่ีไดตรวจสอบความหายนะหลงั ป 1918 (พ.ศ.2461) ดวยปริมาณทมี่ ากเกนิ ไปอยางหาท่ีเปรยี บไมไดของการปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ที่เกิดข้ึนในชวงระหวางสิ้นสงครามโลกคร้ังที่ 1กับการเร่ิมสงครามโลกคร้ังที่ 2 (Interwar period) บนพื้นฐานของความเขาใจอยางลึกซึ้งที่ไดรับ และเทคโนโลยีตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)ทามกลางความคลุมเครอื ท้งั ความหลากหลายและความลกึ ซึง้ 01 ผูที่อุทิศตอการพัฒนา 1 การปฏวิ ัตใิ นกจิ การทหาร (RMA) ในชวงระหวางสนิ้ สงครามโลกคร้ังที่ 1กับเร่ิมสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ คอื การรบดําเนนิ กลยุทธผ สมเหลา,การโจมตที ้งิ ระเบดิ ทางยุทธศาสตร, การรบดวยเรอื บรรทกุ เคร่อื งบิน, การรบสะเทนิ น้าํ สะเทนิ บก,และการปองกันภัยทางอากาศ รวมทง้ั ดเู ปนพเิ ศษใน Williamson Murray and

276วิธีการใหม ๆ ยังคงไมแนใจถึงศักยภาพของวิธีการเหลาน้ัน จนกระท่ังไดตรวจสอบความรนุ แรงของสงครามในป 1939-45 (พ.ศ.2482-88) การพัฒนาของยุทธการและยทุ ธวิธีการรบผสมเหลา สูกาวยา งของเคร่อื งยนตสันดาปภายใน โดยกองทพั เยอรมนัระหวางป 1871-1945 (พ.ศ.2414-2488) (Reichswehr - ไรซเวียร) และ กองทัพเยอรมันกอนและระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 (Wehrmacht - เวอรมัค) ทําใหเห็นตวั อยางทีช่ ดั เจนทสี่ ดุ ของขอบเขตของความไมแ นน อนและความคลุมเครือเหลานั้น ปลาย พ.ค.1940 (พ.ศ.2483) ผลของการปฏิวัติในกิจการทหารเกี่ยวกับสงครามยานเกราะผสมเหลา (Combined-arms armored warfare RMA)ปรากฏชัดเจนในที่สุดในชัยชนะที่ทําลายลางของกองทัพเยอรมันตอกําลังพันธมิตรในตอนเหนือของฝรั่งเศส ผูตรวจการณของฝรั่งเศสคนหนึ่งซ่ึงบินในระดับสูงเหนือกองทัพเยอรมนั ที่ทําการรุก กลา วถงึ ผลลพั ธด งั นี้: หนวยรถถังอิสระ (ของเยอรมัน) ท่ีเคล่ือนที่ผานภูมิประเทศไดอยางงายดายเนื่องจากไมมีรถถังของฝร่ังเศสตอตาน สรางความเสียหายอยางไมสามารถแกไขไดแมวาการทําลายท่ีแทจริงโดยหนวยรถถังเหลานี้จะเปนเพียงผิวเผินเทานั้น เชนการจับฝายเสนาธิการของหนวยในพ้ืนท่ีเปนเชลย, สายโทรศัพทถูกตัดขาด,การเผาหมูบาน [รถถังเหลานั้น] แสดงบทบาทของสารเคมีที่ไมเพียงแคทําลายกองทัพโดยรวม แตทาํ ลายระบบประสาทของกองทัพ โดยทั่วพ้ืนท่ีท่ีเยอรมันไดตีกวาดเหมือนสายฟาแลบ กองทัพ [ฝร่ังเศส] แมจะดูวาแทบจะไมถูกกระทบกระเทือนกห็ มดสภาพความเปน กองทัพ กองทพั ฝรง่ั เศสถูกเปล่ียนไปเปนกลมุ เล็ก ๆ กระจายกนัถายังมีหนวยใดหนวยหน่ึงอยู ก็จะยังคงเหลือเฉพาะการรวมกันของหนวยตาง ๆที่แยกจากกัน แมวาระหวางหนวยเล็ก ๆ เหลาน้ัน อาจมีกาํ ลังรบอยูบาง!แตขาศึกก็สามารถเคล่ือนไหวไดตามท่ีตองการ ซึ่งเปนกองทัพที่ไมไดมีอะไรมากไปกวาAllan R. Millett, eds., Military Innovation in the Interwar Period(Cambridge, 1996). เมอรเรย

277การรวมเชงิ จาํ นวนของทหารทไ่ี มมผี ล12 การเจาะของเยอรมันที่มิวส (Meuse) และการขยายผลการเจาะไดพิชิตฝรั่งเศสกําจัดอิทธิพลของอังกฤษในผืนแผนดินใหญของยุโรป และสถาปนาอิทธิพลของเยอรมันในยุโรปตะวันตก ในไมถึงสามสัปดาหกําลังภาคพื้นดินของเยอรมันนําโดยหนวยหัวหอกซ่ึงเปนหนวยยานเกราะไดพิชิตกองทัพฝร่ังเศส ซ่ึงเปนภารกิจหนึ่งของเยอรมันท่ีไดพายแพในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) จากส่ีปของการนองเลือดชัยชนะของป 1940 (พ.ศ.2483) เปนที่เด็ดขาดอยางยิ่ง, นาเชื่อมั่นอยางยิ่งจนเปน แบบอยางที่ชวงโชตขิ อง การปฏวิ ัติในกิจการทหารของกลางศตวรรษที่ 20 และเม่ือมองเขาไปใกล ๆ ในลักษณะท่ีเยอรมันไดสรางนวัตกรรมเม่ือป 1920 (พ.ศ.2463) และป 1930 (พ.ศ.2473) และการวางแผนของเยอรมันและการปฏิบัติการตาง ๆ ในป 1940 (พ.ศ.2483) พบวาแมวา สิ่งที่ดูเหมือนวาจะเปนการปฏิวัติในกิจการทหารท่ีชัดเจนที่สุดก็ยังมีความชัดเจนนอยกวาจากมุมมองของผูท่ีกําหนดวิถีของเหตุการณตาง ๆ สําหรับนายทหารของฝร่ังเศสและอังกฤษในฤดูรอนป1940 (พ.ศ.2483) เยอรมันไดพัฒนารูปแบบของสงครามแบบปฏิวัติโดยชัดเจน23 2 Antoine de Saint Exupéry, Pilote de guerre (New York, 1942), หนา 94-5. 3 ฝรัง่ เศส เชนเดียวกับเยอรมันเอง ท่ีดูเหมือนวาไดนําบทเรียนที่มีการจูงใจดานอุดมคติและขวัญ ที่เปนปจจัยสําคัญในชัยชนะของเยอรมัน: ดู Robert O.Paxton, Parades and Politics at Vichy: The French Officer Corpsunder Marshal Pétain (Princeton, NJ, 1966) เจ. เอฟ. ซี. ฟุลเลอร (J. F. C.Fuller) เจาของทฤษฎีสงครามยานเกราะในชวงระหวางส้ินสงครามโลกคร้ังท่ี 1กับเริ่มสงครามโลกคร้ังที่ 2 ท่ีดูเหมือนวากองทัพอังกฤษปฏิเสธอยางดูหม่ินมีอิทธิพลอยางย่ิงตอขอสรุปท่ีกองทัพอังกฤษไดนํามาจากป 1940 (พ.ศ.2483)ซึ่งโชคไมดีท่ีการเนน “รถถังทั้งหมด (All-tank)” ของเขาทําใหไมสามารถเขาใจพ้นื ฐานการรบผสมเหลาของชัยชนะของเยอรมัน. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกิจการทหารของเยอรมัน

278แตสําหรับนายทหารเยอรมันบางนาย ความลับของชัยชนะเยอรมันคือการพัฒนากรอบแนวคิดตาง ๆ อยางรอบคอบที่ไดกําเนิดในการรบของ สงครามโลกครั้งที่ 1และนายทหารฝายเสนาธิการที่เช่ียวชาญ เชน นายพลอีริคซ มารคซ (Erich Marcks)ซึ่งตอมาเสนาธิการกองทัพเยอรมันไดขอใหทําแผนขั้นตนสําหรับบารบารอซซา(BARBAROSSA) ไดอ ธิบายทมี่ าของชยั ชนะของเยอรมนั ในรูปที่เปลย่ี นแปลงไปอยา งมากจากยุทธการและยุทธวิธีที่มีนวัตกรรมและความชํานาญการ สําหรับมารคซระดับท่ีนาตกใจของชัยชนะของกองทัพเยอรมัน กอนและระหวางสงครามโลกคร้ังที่ 2(Wehrmacht) อยางนอยที่สุดสัมพันธกับการทุมเทดานอุดมคติของหนวยตาง ๆของเยอรมัน: ...การเปล่ียนแปลงดานจํานวนคนมากกวาดานเทคโนโลยี ทหารฝร่ังเศสที่เราเจอในการรบไมใชทหารในป 14/18 (พ.ศ.2457-61) อีกตอไป ความสัมพันธจะเหมอื นกับระหวางกองทพั ปฏิวัตขิ องป 1796 (พ.ศ.2439) และของสัมพนั ธมิตร (ครั้งแรก)ซง่ึ เฉพาะครั้งนี้ เราคอื ฝา ยปฏิวัตแิ ละชนชั้นปฏวิ ัติ (Sans-Culottes - ซอง คิวลอต)34 ในบทนี้จะพยายามหาความซับซอนของปญหาที่ดูจะนอยท่ีสุดน้ีของการปฏิวัติในกิจการทหาร ซ่ึงวัตถุประสงคนี้จะตองมีการวิเคราะหเหตุการณ และประเดน็ หลัก ๆ 3 ประการ ประการแรก คือ กําเนิด และลักษณะของกระบวนการนวัตกรรมและการพัฒนาท่ีสรางกองทัพของเยอรมันที่ทําการรบในฤดูใบไมผลิป 1940(พ.ศ.2483) ประการท่สี อง คอื ลักษณะของกระบวนการวางแผนที่เยอรมัน และขาศึกของเยอรมันไดเตรียมการสําหรับการรบ และประการสุดทาย สถานการณตาง ๆในสนามรบที่ใหหลักฐานสําคัญเกี่ยวกับความคลุมเครือและความไมแนนอน 4 พลตรีอีริค มารคซ (Generalmajor Erich Marcks), 19 June 1940(emphasis in original), อางใน Knox, “The ‘Prussian Idea of Freedom’”รวมท้ังดู Knox, “1 October 1942: Adolf Hitler, Wehrmacht OfficerPolicy, and Social Revolution,” The Historical Journal 43:3 (2000),หนา 801-25. เมอรเรย

279ท่ีคูสงครามเผชิญสงครามของฝร่ังเศสอาจแสดงไดดีถึงจุดสูงสุดของการปฏิวัติในกิจการทหาร แตลักษณะของการปฏิวัติดงั กลาวแตกตา งอยางมากจากที่ไดกลาวไวหรือคาดการณเ ชิงหลกั การโดยบรรดาผูที่มแี นวคิดวา เหตุการณทางดา นเทคโนโลยีท้ังหมดจะเกิดข้ึนภายใตกฎเกณฑท่ีแนนอนและมีการกําหนดเวลาท่ีแนนอน(Technological determinist) ท่ีไร ประสบการณ ซึ่งเปนเจาของมุมมองที่ไดกําหนดประเดน็ การถกเถียงในชวงหัวเล้ียวหัวตอของศตวรรษท่ี 21 การพัฒนาและนวตั กรรมของกองทพั เยอรมันระหวา งป 1871-1945 (Reichswehr) ถงึ กองทพั เยอรมันกอนและระหวา งสงครามโลกครั้งที่ 2 (Wehrmacht): 1920-40 (พ.ศ.2463-83) นักประวัติศาสตรมีนิสัยท่ีไมดีในการเริ่มตรวจสอบเหตุการณทางประวัติศาสตรท่ีรุนแรงที่เหตุการณนั้นเอง แลวจึงเริ่มทํางานยอนกลับเพื่อใหเห็นการตัดสินใจเหลาน้ันและจุดเปลี่ยนตาง ๆ ที่ดูเหมือนจะนําไปสูเหตุการณนั้นดวยลําดับการมองภาพแบบเสนตรงของสาเหตุและผลลัพธ ซ่ึงกระบวนการทางประวัติศาสตรทํางานแตกตางกันอยางมาก แตละคนและหนวยเผชิญกับทางเลือกท่ีตางกันโดยไมมีเคร่ืองมือที่จะวิเคราะหหนทางขางหนาท่ีชัดเจน45 การตัดสินใจตาง ๆทน่ี กั ประวตั ศิ าสตรเลอื กในท่ีสดุ แสดงถึงลกั ษณะสว นตวั และวัฒนธรรมตาง ๆ ขององคกรซ่ึงนักประวัติศาสตรมักจะไมสนใจการโตแยงภายในและมองขามหนทางตาง ๆที่ไมไดเลือกตัวแสดงในประวัติศาสตรมักตัดสินใจที่ถูกตองดวยเหตุผลตาง ๆท่ดี แู ปลกประหลาด เมือ่ มองยอนกลับไปและบรรดาผูบัญชาการและหนวยทหารตาง ๆก็ไมคอยจะเปดเผยอยางเต็มที่นักเกี่ยวกับวาอะไรที่เกิดข้ึนจริง ไมวาจะหลังชยั ชนะหรอื พายแพ 5ตามทีว่ ลู ฟ (Wolfe) แนะนาํ กอ นพิชติ คิวเบค (Quebec): “สงครามเปนทางเลือกหนง่ึของความยุงยาก”ซ่ึงเปนคํากลา วหนึง่ ทสี่ ามารถใชไดอยางเต็มท่ี กบั นวัตกรรมทางทหาร. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารของเยอรมนั

280 นักประวัติศาสตรยังมักจะมองความสัมพันธระหวางเหตุการณกับการพัฒนาตาง ๆ ที่ในที่สุดแลว แสดงบทบาทในชวงเวลาที่ตกผลึก แตจริง ๆ แลวอาจไมมีสวนสมั พนั ธกัน56 ตัวอยางเชน นักประวัติศาสตรจํานวนหนึ่งลงความเห็นวามีนัยสําคัญในการแตงตั้งไฮนซ กูเดอเรียน (Heinz Guderian) นายทหารเหลาสื่อสารเม่อื ป 1926 (พ.ศ.2469) ใหเ ปนหัวหนาโครงการพฒั นารถถังของ กองทัพเยอรมันระหวางป 1871-1945 (พ.ศ.2414-88) (Reichswehr) ซึ่งไดสรางบทบาทของวิทยุซ่ึงตอ มาไดม บี ทบาทในการควบคุม ทางยทุ ธวธิ ีและทางยุทธการของหนว ยรถถังแพนเซอรแตกย็ งั หา งไกลจากความนาจะเปนท่ีวากองทัพเยอรมัน ไดเลือกกูเดเรียนเพียงเพราะวามีเขาอยูในขณะท่ีคนอ่ืน ๆ ที่มีเสนทางเติบโตที่รวดเร็ว สําหรับการเลื่อนยศตําแหนง 6 เบอรตัน ไคลน (Burton Klien) และคนอื่น ๆ สันนิษฐานถึงความสัมพันธระหวางความสามารถ ดานเศรษฐกิจท่ีไมนาประทับใจของเยอรมันในตนป 1940(พ.ศ.2483) และการพัฒนายุทธวิธี สงครามสายฟา แลบ (Blitzkrieg) ของเยอรมนั กอ นสงครามโดยคนเหลาน้ีเห็นวา เยอรมันไดพัฒนา “ยุทธศาสตรสงครามสายฟาแลบ(Blitzkrieg strategy)” เปนเคร่ืองมือของการหลีกเล่ียงท่ีจะระดมเศรษฐกิจของเยอรมันและรบกวนพลเมืองของเยอรมัน หนทางไปสูชัยชนะสุดทายวางอยูบนลําดับของสงครามระยะสั้นตาง ๆ ที่ใชระบบเชิงปฏิวัติ และใหม ตามความเปนจริงแลวเยอรมันไมไดมีความตั้งใจดังกลาว ซ่ึงเยอรมันพัฒนาระบบการรบผสมเหลาของตนของสงครามท่ีไมขึ้นอยูกับขอพิจารณาทางยุทธศาสตรโดยสิ้นเชิง (ดู BurtonKlien, Germany’s Economic Preparations for War [Cambridge, MA,1959], และ Alan Milward, The German Economy at War [London,1965]; สําหรบั ขอ โตแ ยงของบทความนี้ Williamson Murray, The Change inthe European Balance of Power, 1938-1939: The Path to Ruin[Princeton NJ,1984], หนา 3-52, และ “Force Structure, BlitzkreigStrategy, and Economic Difficulties: Nazi Grand Strategy in the1930s,” Journal of the Royal United Services Institute, April 1983). เมอรเ รย

281สูงขึ้นที่มองเห็นงานในรถถังวาเปนส่ิงท่ีไมนาดึงดูดใจอยางยิ่ง ไดปฏิเสธตอกองทัพเยอรมันระหวางป 1871-1945 (พ.ศ.2414-88) (Reichswehr) สําหรับอนาคตสามารถมองเห็นได แลวนักวิเคราะหการปฏิวัติในกิจการทหารจะสามารถทําอยางไรในการสรางความสมเหตุสมผลของอดีต? จุดเริ่มตนหนึ่ง คือ การตระหนักวาอดีตไมไดเปนไปแบบตรง ๆ เสนทางท่ีชัดเจนไปสูอนาคต เปนเร่ืองที่สรางขึ้นและเหตุการณในอดีตเพียงแคสามารถเสนอปญหาและโอกาสท่ีจะเกิดข้ึนประวัติศาสตรตามความหมายของเคลาสวิทซ สามารถชวยกลั่นกรองการตัดสินใจของเราไดเกี่ยวกับลักษณะของสงคราม และเกี่ยวกับกลุมพฤติกรรมองคกรที่สามารถกระตุนการสรางนวัตกรรมท่ีสําเร็จผล67 แตประวัติศาสตรก็ไมสามารถเสนอหนทาง ที่ชดั เจนและไมคลมุ เครอื ตอ การปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารในอนาคต อยางไรก็ตาม ในกรณีของเยอรมันไดใหบทเรียนท่ัวไปเก่ียวกับการประโยชนของอดีตผูวิจารณตาง ๆ มักกลาววา องคกรทหารมักใหความสนใจเพียงส้ัน ๆตอสงครามหลังสุด จึงทําใหตัวเองไมสามารถทําการรบในสงครามครั้งตอไปไดภาพท่ีสืบตอกันมาของกําเนิดสงครามสายฟาแลบ (Blitzkrieg) สรางภาพที่สอดคลองของกองทัพเยอรมันท่ีเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติซึ่งกาวกระโดดอยางหาวหาญสูอนาคตแหงเทคโนโลยีขณะที่อังกฤษและฝรั่งเศสท่ีเฉ่ือยชายังคงจมปลักอยูในโคลนตมของป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) แตไมมีอะไรท่ีจะดีไปกวาความจริง ฝรั่งเศสไดพิสูจนถึงการไมสามารถดึงบทเรียนตาง ๆ จากป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)นอกเหนือไปจากท่ีไดคิดไวกอนแลวและสุดทายก็เปนความคิดท่ีไมไดมาจากประวตั ศิ าสตร สวนกองทพั อังกฤษ ก็ไมไดพ ยายามทีจ่ ะกลนั่ กรองบทเรียนตา ง ๆของสงครามโลกครั้งท่ี 1 (Great War) จนกระทั่งป 1932 (พ.ศ.2475) จากนั้น 7 Carl von Clausewitz, On War, eds. and trans. MichaelHoward and Peter Paret (Princeton, NJ, 1975), หนา 141. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกิจการทหารของเยอรมนั

282จึงไดตรวจสอบรายงานผลอยางหนักเนื่องจากผูเขียน รายงานนั้นกลาวิพากษวิจารณขดี ความสามารถขององั กฤษ78 เปนเยอรมันมากกวาที่ศึกษาสงครามครั้งหลังสุดดวยความใสใจอยางสูงสุดแทบจะโดยทันที หลังยุติสงครามดังกลาวเสนาธิการคนแรกและรองผูบัญชาการ(Second commander) ของกองทัพเยอรมัน ระหวาง ป 1871-1945 (พ.ศ.2414-88)(Reichswehr) พลเอกฮานซ วอน ซ๊ีคท (Hans von Seeckt) ไดตั้งคณะกรรมการไมนอยกวา 57 คณะ เพ่ือศึกษาวาอะไรท่ีเกิดข้ึนจริงเม่ือป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)“ขณะท่ีชัยชนะที่นาประทับใจในสนามรบเพิ่งผานพน และนายทหารที่มีประสบการณสวนมากยังอยูในตําแหนงผูนําหนวยตาง ๆ” ซี๊คทเปนประธานคณะกรรมการเหลานั้นดว ยบคุ ลกิ ทีแ่ นว แนของตนเพอ่ื สรา ง: การศึกษาท่ีสั้นรัดกุมของประสบการณท่ีไดรับใหมของสงครามและพิจารณาประเด็น ตอ ไปน:ี้ สถานการณใดท่เี กิดขน้ึ ในสงครามทย่ี งั ไมไ ดพ ิจารณามากอน?ตองพิจารณาวิธีที่มีประสิทธิภาพใดกอนสงครามในการเผชิญกับสถานการณตาง ๆ ขางตน? ไดพัฒนาแนวทางใหมใดจากการใชอาวุธยุทโธปกรณใหมในสงครามน้นั ? ปญ หาใหมใ ดที่เกดิ ขนึ้ ในสงคราม ที่ยังไมพ บคําตอบ?89 ประเด็นสําคัญ ตามคําถามสุดทายที่เนนย้ําของซ๊ีคท คือ เยอรมันใชการทบทวนโดยละเอียดของประสบการณในสนามรบที่พึ่งผานมา เปนจุดเริ่มสาํ หรับการคดิ เกี่ยวกบั สงครามในอนาคต การสรางความสามารถดา นการทหารแบบปฏิวัติในยามสงบ จึงข้ึนอยูกับขอบเขตท่ีคอนขางมากของการวิเคราะหอดีตโดยละเอียด 8 สําหรบั วัฒนธรรมของกองทัพองั กฤษในชว งระหวางสิ้นสงครามโลกคร้ังท่ี 1กับเรม่ิ สงครามโลก ครั้งที่ 2 ดู Brian Bond, British Military Policy Betweenthe Two World Wars (Oxford, 1980). 9 James S. Corum, The Roots of Blitzkrieg: Hans von Seecktand German Military Reform (Lawrence, KS, 1992), หนา 37. เมอรเ รย

283 แตความมุงมั่นท่ีกองทัพดําเนินการวิเคราะหดังกลาว ซ่ึงเปนความมุงม่ันที่ในทางกลับกันไดมาจากวัฒนธรรมทางทหารของตน เปนสิ่งสําคัญเทากับความจริงของการวิเคราะหเอง ความสนใจของเยอรมันในความรูจากประสบการณรวมดวยการยืนหยัดในความจริงที่ไมบิดเบือน ซึ่งลูเดนดอรฟ (Ludendorff) ไดแสดงทัศนะของพื้นฐานวัฒนธรรมของกองทัพของตนในการบรรยายในบันทึกของเขาในการตรวจเย่ียมแนวรบตะวันตก (Western Front) เม่ือป 1916 (พ.ศ.2459)วา: (บรรดาฝายเสนาธิการ) รูวาขาพเจาตองการไดรับฟงมุมมองท่ีแทจริงของพวกเขาและมีความคิดที่ชัดเจนของสถานการณจริง ไมใชรายงานสนับสนุนท่ีทําเพือ่ ออกคําสงั่ ”910 โดยสอดคลองกัน หลักนิยมในชวงระหวางสิ้นสงครามโลกคร้ังที่ 1กับเริ่มสงครามโลกครั้งท่ี 2 ของเยอรมันท่ีไดตกผลึกเม่ือป 1921 (พ.ศ.2464)ใน Leadership and Combat of Combined-Arms Forces (ผูนํา และการรบในกําลังรบผสมเหลา) และปรับปรุงใหมโดยนายพลเวิรนเนอร วอน ฟริทช(Werner von Fritsch) และลุดวิก เบค (Ludwig Beck) เม่ือป 1932 (พ.ศ.2475)เปน การใชหนวยผสมเหลา (Truppenführung – ทรูพเพนฟวริ่ง) ซ่ึงเปนคูมือท่ีใหแนวทางแกกองทัพปรัสเซีย-เยอรมันในการเตรียมการและการรบของสงครามคร้ังหลังสุดและใหญท่ีสุดของเยอรมัน โดยสะทอนถึงสนามรบจริงท่ีเกิดขึ้นเม่อื ป 1918 (พ.ศ.2461)1011 ส่ิงท่สี ําคัญเทา กับทฟี่ ริทชแ ละเบค ไดเ ขยี น คือ สถานภาพของคนท้ังสอง ซึ่งท้ังสองไมไดอยูในคณะคลังสมอง (Think-tank) บางคณะ 10 Erich Ludendorff, Ludendorff’s Own Story, August 1914 –November 1918, vol. I (New York, 1919), หนา 24. 11 Führung und Gefecht der verbundenen Waffen (Berlin, 1921);Germany, Oberkommando des Heeres, H.Dv. 300/I, Truppenführung(Berlin, 1936) (published 1933). พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกิจการทหารของเยอรมัน

284แบบผิวเผินของเบอรลินที่กองทัพเยอรมันไดแบงมอบภารกิจในการคิดหลักนิยมแตเ ปน ผูบญั ชาการกองทพั และเสนาธิการกองทัพในอนาคต ดังนั้น เยอรมันจึงไดสรางความรูจากประสบการณการสงครามของตนในรูปแบบท่ีสอดคลองกัน, รอบคอบ และมีวิวัฒนาการ ไมเปนท่ีนาแปลกใจเยอรมันเปดรับตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ท่ีอาจลดความดอยกวาของตนหลังป 1918 (พ.ศ.2461) คูมือการใชหนวยผสมเหลา (Truppenführung)ใหความชัดเจน เชน จะใชรถถังในบทบาทที่ใหผลแตกหัก แมวากองทัพเยอรมันจะยังไมมียานยนตดังกลาวแมแตสักคันเดียว คูมือนี้เนนความสําคัญยิ่งของยุทโธปกรณใหมน้ี ในการขยายผลการเจาะวา: “เปนหลักการหน่ึงท่ีจะใชรถถังเพ่ือเขาตี ณ ที่ที่ไดเห็นวาเปนตําบลแตกหัก”1112 และนอกจากการถกแถลง และการศึกษาภายในของตนเองแลว เยอรมันยังไดติดตามอยางสนใจและวิเคราะหอยางละเอยี ด ถึงการทดสอบหนวยรถถังขององั กฤษทท่ี ี่ราบซัลสบร่ี (Salisbury Plain)1213แตสุดทายยุทธวิธียานเกราะของเยอรมันก็เปนเพียงการปรับส่ิงท่ีรูเขากับกรอบแนวคิดของเคร่ืองยนตสันดาปภายในและวิทยุท่ีพัฒนาข้ึน เมื่อป 1917-18 (พ.ศ.2460-61)ของการรบผสมเหลาที่มีพื้นฐานอยูบนการยิงและการดําเนินกลยุทธ, การมอบอํานาจในการทําขอตกลงใจ และการขยายผลอยางไมยอมผอนปรน ซ่ึงสิ่งดังกลาว 12 Truppenführung โดยเฉพาะ paragraph 339. 13 สําหรับเอกสารสําคัญอื่น ๆตามบรรทัดนี้ ดู Reichswehrministerium,Berlin, 10 November 1926, “Darstellung neuzeitlicher Kampfwagen,”National Archives and Records Administration (ซึ่งตอไปจะใชคําวาNARA), microcopy T-79/62/000789; Reichswehrministerium, “England:Die Manöver mit motorisierten Truppen,” September 1929, NARA T-79/30/000983; และ Der Chef des Truppenamts, December 1934,“England: Manöver des Panzerverbandes, 18. bis 21.9.34,” NARA T-79/16/000790. เมอรเรย

285เปนการเชื่อมตอระหวางสนามรบเม่ือ มี.ค.1918 (พ.ศ.2461) กับของเม่ือ พ.ค.1940(พ.ศ.2483) จุดสําคัญอีกประการหนึ่งที่ตองเนนยํ้า คือ กรอบแนวคิดของหลักนิยมและระบบควบคุมบังคับบัญชาท่ีเยอรมันไดมาจากประสบการณ ซ่ึงแตกตางจากศัตรูตาง ๆ ของตนอยางยิ่ง โดยแนวทางใหมน้ีขึ้นอยูกับความเขาใจอยางแทจริงถึงธรรมชาติของสงครามซึ่งเปนปจจัยหน่ึงของการปฏิรูปท่ีตอเน่ืองวาไมสามารถคาดการณไดอยา งแมนยาํ ทง้ั นี้ คูมอื การใชห นวยผสมเหลา (Truppenführung)ใหค วามชัดเจนทสี่ ุด ใน 2 ขอกวาง ๆ คือ: 1. การทําสงครามเปนศิลปะหน่ึง เปนการสรางสรรคที่อิสระที่ขึ้นอยูกับพ้ืนฐานเชิงวิทยาศาสตร ซ่ึงการทําสงครามนี้ทําใหเกิดความตองการอยางยิ่งยวดในแตละบุคคล 2. ก า ร ทํ า ส ง ค ร า ม ขึ้ น อ ยู กั บ ก า ร พั ฒ น า ที่ ดํ า เ นิ น ไ ป อ ย า ง ต อ เ น่ื อ งเคร่ืองมือใหม ๆ ของสงครามทําใหการขัดกันดวยอาวุธมีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปอยา งตอ เน่ือง1314 ในอีกนัยหนึ่ง กองทัพเยอรมันมองวานวัตกรรมทางทหารไมใชขั้นหนึ่งหรือลําดับขั้นตาง ๆ ที่นําไปสูผลลัพธที่หยุดน่ิง แตเปนกระบวนการเปล่ียนแปลงและพัฒนาท่ีตอเน่ืองไมมีหยุดที่ถูกขับเคลื่อน ไมเพียงดวยเทคโนโลยี แตรวมถึงโดยธรรมชาตขิ องสนามรบและของขาศึก อิทธิพลโดยสมบูรณของอํานาจการยิงจากการพัฒนาอุตสาหกรรมไดทําใหเกิดเหตุการณที่ไมเคยพบมากอน คูมือการใชหนวยผสมเหลา (Truppenführung)ไดสรุปอยางคมคายถึงผลความจําเปนอยางกวาง ๆ วา: “ความไรขอจํากัดของสนามรบตองการนักรบ (Kämpfer - แคมปเฟอร) ที่คิดและทําดวยตนเองและ 14 Truppenführung, หนา 1. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกิจการทหารของเยอรมัน

286สามารถวิเคราะหสถานการณใด ๆ และขยายผลดวยความเด็ดขาดและหาวหาญ”1415ตางจากศัตรูของตน เยอรมันเขาใจดีวาสงครามไดใหโอกาสมากมายที่สลายไปเหมือนหมอกในตอนเชาถาผูนําทุกระดับต้ังแตนายพลถึงพลปนเล็กไมสามารถที่จะควาไวได สําหรับนักวิเคราะหชาวเยอรมัน ระบบการควบคุมบังคั บัญชาที่กระจายอํานาจที่ไดรับมาจากการสืบทอดของปรัสเซียต้ังแตชานฮอรส(Scharnhorst) จนถึงมอลทเกคนกอน (Moltke the Elder) และที่ไดเพิ่มเติมและขยายขอบเขตในสงครามท่ีพายแพ เปนเพียงแนวทางที่สามารถเห็นภาพไดระบบดังกลาวยังกําหนดวาเมื่อจําเปน ปนใหญ, ทหารราบ และเหลาสนับสนุนอ่ืน ๆควรประสานและปฏิบัติรวมกันแมจะไมมีคําสั่งจากหนวยเหนือ1516 ผลก็คือรูปแบบการบังคับบัญชาที่ทําใหผูบังคับบัญชาตาง ๆ ใหความสนใจจากระดับบนสูระดับลาง และขยายออกไปสูสนามรบ การไหลท่ีจํากัดของขอมูลขาวสารขึ้นไปตามสายการบังคับบัญชาทําใหบรรดา ผูบังคับบัญชาตองมองเห็นเพื่อตัวเองซ่ึงเปนเหตุผลท่ีทําไม กูเดเรียน, รอมเมล, โมเดล (Model), และคนอื่นๆ อีกมากมายจึงไดบัญชาการจากแนวหนา ส่ิงท่ีกองทัพยุโรปอื่น ๆ ท้ังหมดปฏิบัติตามรูปแบบท่ีรวมศูนยอยางมากและแตกตางโดยส้ินเชิงมาหลายศตวรรษ ไดแก การควบคุมจากบนลงลาง,จากกองทัพสูระดับกองพัน กองรอย และหมวด ไมไดเปนปญหาตอเยอรมัน 15 เรอ่ื งเดยี วกัน, paragraph 10. 16 สําหรับวิธีปฏิบัติในการริเร่ิมสวนบุคคลของกองทัพปรัสเซีย ดู Knox,“”The ‘Prussian Idea of Freedom’”; Dieter Ose, “Der ‘Auftrag’: einedeutsche militärische Tradition,” Europäische Wehrkunde 31:6(1982), หนา 264-5; Bruce I. Gudmundsson, Stormtroop Tactics:Innovation in the German Army, 1914-1918 (Westport, CT, 1989); และMartin Samuels, Command or Control? Command, Training andTactics in the British and German Armies, 1888-1918 (London, 1995). เมอรเ รย

287เน่ืองจากกองทัพเหลาน้ีอาจรูวาเม่ือตนเยาะเยยฝร่ังเศสและอังกฤษวาเปน“พวกติดยึดระบบ (Schematism)” ผูบัญชาการทัพในทุกระดับในระบบรวมศูนยก็ตองเพงเล็งวาไมใชอะไรท่ีกําลังเกิดข้ึนในสนามรบ แตเปนการใหขอมูลขาวสารแกผ ทู อี่ ยเู หนือตนในสายการบังคับบัญชา1617 เม่ือ พ.ค.1940 (พ.ศ.2483) บรรดาผูบงั คับกองรอ ยของฝร่ังเศสสวนใหญยังคงอยูในท่ีกําบังของตน เฝาอยูกับโทรศัพทสนามท่ีเชื่อมตนกับผูบังคับบัญชา แตบรรดานายพลของเยอรมันกลับอยูบนฝงตาง ๆของแมน ํ้ามวิ ส (Meuse) วฒั นธรรมทหารทีส่ นบั สนุนแนวทางปรสั เซยี -เยอรมันในการดาํ เนนิ สงครามไดดําเนินการมากวาศตวรรษเพ่ือคอย ๆ พัฒนาขึ้น ซึ่งคําส่ังจากระดับบนไมสามารถกระจายอํานาจในการทําสงครามไดอยางปาฏิหาริย บรรดาผูบังคับบัญชาของเยอรมันตองไดเรียนรูเพ่ือมอบอํานาจและเสรีในการสรางสรรค แกผูใตบังคับบัญชารอง ๆของตน ซ่ึงเปนวิธีการท่ีไมไดคาดคิดลวงหนาและสวนใหญจะเปนการโตตอบตามสถานการณ และผูใตบังคับบัญชารอง ๆ เหลานั้นซึ่งรวมถึงกลุมนายทหารประทวนท่ีมีความเปนทหารอาชีพสูง ตองเขารับการศึกษา, ฝกอบรมอยางทรหด และการสงเสริมในการเตรียมการท่ีจะใชเสรีน้ัน อยางชาญฉลาด เปาหมายที่ยอหยอนไมไดตามที่ฮานซ วอน ซี๊คท (Hans von Seeckt) ไดกําหนดไวเมื่อป 1921 (พ.ศ.2464) คือเพื่อสราง “กาํ ลงั พลแตละนายของกองทัพใหเ ปนทหารทง้ั ในคุณลกั ษณะขีดความสามารถและความรู เปนผูไววางใจในตนเอง, เช่ือมั่นในตนเอง, ทุมเท และยินดีท่ีจะรับผิดชอบ (Verantwortungs freudig – เวอรอันทวอรทุง ฟรอยดิจ)ในฐานะลกู ผชู ายและในฐานะผนู ําทหารคนหนึง่ ”1718 17 ผูเขยี นขอบคณุ เปน อยา งสูงในประเดน็ นีแ้ ด พันเอกคารล โลว (Karl Lowe)นายทหารนอกราชการของสหรฐั ฯ ซึง่ ปจ จุบนั อยูทส่ี ถาบันวเิ คราะหการปอ งกนั ประทศ(Institute of Defense Analyses), Alexandria, Virginia. 18 คําส่ังท่ีสําคัญของซ๊ีคท (Seeckt) ของวันที่ 1 ม.ค.1921 (พ.ศ.2464) ใน พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกิจการทหารของเยอรมนั

288 รถถัง (Armor) และหนวยยานยนต (Motorization) เขาไดอยางดีย่ิงกับวัฒนธรรมน้ี และเขากับแนวทางการรบทางลึกผสมเหลาท่ีเยอรมัน เกือบจะเขาสูความสมบูรณแบบเม่ือป 1917-18 (พ.ศ.2460-61)1819 กรอบแนวคิดของหลักนิยมของเยอรมันเนนความสําคัญของยุทธวิธีแบบแยกการและการขยายผลโดยรวดเร็วดังนั้น รถถังและทหารราบยานยนต, ปนใหญ และขบวนสงกําลังตาง ๆจึงเปนการพัฒนาแบบคอยเปนคอยไป โดยรวมความเร็ว, ความเด็ดขาดและความสามารถในการอยูรอดภายในกรอบแนวคิดท่ีมีอยู ไมใชการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติท่ีถูกกําหนดข้ึนเพื่อทดแทนเหลาตาง ๆ ที่มีอยูแลว ซึ่งดวยทฤษฎีการใชรถถังท้ังหมด (All-tank) ทําใหทั้งนวัตกรรมในชวงระหวาง ส้ินสงครามโลกคร้ังท่ี 1 กับเร่ิมสงครามโลกครั้งท่ี 2 และยุทธการและยุทธวิธีในสงครามโลกคร้ังท่ี 2ในกองทัพองั กฤษตอ งไรประสิทธิภาพ กอนท่ีกองทัพเยอรมันระหวางป 1871-1945 (พ.ศ.2414-88)(Reichswehr) จะมีรถถัง คูมือการใชหนวยผสมเหลา (Truppenführung)กําหนดใหการขยายผลเปนบทบาทของหนวยยานเกราะ แตตลอดป 1930(พ.ศ.2473) บรรดาผูบัญชาการและนายทหารฝายเสนาธิการตาง ๆ ของเยอรมันมีขอสงสัยสําคัญอยูในใจวา หนวยรถถังแพนเซอร แมวาจะไดรับการจัดต้ังข้ึน(เทาที่เปนอยู) เปนชุดรบผสมเหลา พรอมดวยทหารราบยานยนตและปนใหญของตัวเองจะสามารถทําการรบอิสระโดยไมมีหนวยทหารราบ ไดจริงหรือไม หลังการฝกซอมรบเมื่อกลางป 1930 (พ.ศ.2473) นายพลอาวุโส เกิ๊รด วอน รันสเตดท (Senior generalGerd von Rundstedt) (ตอมาไดเปน Senior field marshal (จอมพลอาวุโส))ไดหันมาที่กูเดเรียนและใหความเห็นวา “Alles Unsinn, Alles Unsinn, meinManfred Messerschmidt and Ursula von Gersdorff, eds., Offiziere imBild von Dokumenten aus drei Jahrhunderten (Stuttgart, 1964), หนา 224-6. 19 ดู Murray, “Armored Warare,” ใน Murray and Millett, eds.,Military Innovation in the Interwar Period. เมอรเรย

289lieber Gudarian (เหลวไหลสิ้นเชิง เหลวไหลส้ินเชิง กูเดเรียนที่รักของฉัน)”1920แตการฝกตามลําดับที่เขมงวดบอย ๆ และตอเนื่องทําใหเยอรมันสามารถทดสอบอาวุธใหมนี้ได ป 1935 (พ.ศ.2478) ผลของการซอมรบในฤดูใบไมรวง ทําใหผูบัญชาการกองทัพ นายพลเวิรนเนอร บารอน วอน ฟริทช (Werner Baron von Fritsch)จัดต้ังกองพลรถถังแพนเซอร 3 กองพลแรก2021 แตในฤดูใบไมผลิของปนั้นกอนการตดั สนิ ใจของฟริทช เสนาธิการ ลุดวิก เบค (Ludwig Beck) ไดจัดใหมีการศึกษาของฝายเสนาธิการเกย่ี วกบั บทบาททางยทุ ธการ ท่ีเปนไปไดของกองทัพนอยแพนเซอรหนงึ่ ปต อ มา ขณะท่ีกองพลรถถงั แพนเซอร กองพลแรก ๆ กาํ ลังจดั ตง้ั หนว ยตนเองอยูในพ้ืนที่ที่ต้ังหนวย ฝายเสนาธิการของเบค ก็พรอมที่จะเร่ิมศึกษาศักยภาพของกองทพั แพนเซอร2122 กุญแจของความสําเร็จของเยอรมัน คือ ความมุงมั่นที่จะเรียนรูจากการรบและจากการทดสอบทปี่ ฏบิ ัตไิ ดจริง จากการพัฒนายุทธวิธกี ารตั้งรับทางลกึ เมื่อป1917 (พ.ศ.2460) ไปถึงการซอมรบและ การออกปฏิบัติการของปลายป 1930 (พ.ศ.2473)กองทัพเยอรมันระหวา งป 1871-1945 (พ.ศ.2414-2488) (Reichswehr) และกองทัพเยอรมันกอนและระหวางสงครามโลกคร้ังที่ 2 (Wehrmacht) ไดประเมินคาประสบการณ (Experience) อยางละเอียดและเขาใจมากกวาศัตรูท่ีคาดของตนตัวอยางเชน การยึดครองออสเตรียเม่ือป 1938 (พ.ศ.2481) ทําใหเกิดรายงาน 20 M. Plettenburg, Guderian: Hintergründe des deutschenSchicksals, 1918-1945 (Düsseldorf, 1950), หนา 14. 21 Robert O’Neill, “Doctrine and Training in the German Army,”ใน Michael Howard, ed., The Theory and Practice of War (New York,1966), หนา 157. 22 Erich von Manstein, Aus einem Soldatenleben, 1887-1939(Bonn, 1958), หนา 241-2. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกิจการทหารของเยอรมนั

290หลังการปฏิบัติตาง ๆ อยางกวางขวางที่ทําใหเห็นปญหา เชิงระบบในการระดมกําลัง,การออกปฏิบัติการ, และการฝก ซ่ึงกูเดเรียนกลาว หลังสงครามวา กองกําลังแพนเซอรตาง ๆ พบกับความยุงยากคอนขางนอย ในการมุงสูเวียนนาแตกูเดเรียนยังกลาวไมคอยตรงกับความจริงเทาใดนัก ซึ่งเปนปกติของเขายานยนตอ่ืน ๆ และรถถังชํารุด ไมสามารถเคล่ือนที่ไดหลายคัน และวินัยการเ คลื่อนขบวนที่แยท ําใหเ กดิ อุบัติเหตุจํานวนมาก2223 เม่ือเสนาธิการไดวิเคราะหรายงานหลังการปฏิบัติเหลาน้ี ก็ไดวางแผนอยางรอบคอบ และใหความสําคัญตอแผนการฝกและการซอมรบ เพื่อใหม่ันใจวาหนวยรบตาง ๆ ไดดําเนินการตอปญหาท่ีพบ ผลก็คือกระบวนการพัฒนาอยางมั่นคงและนวัตกรรมที่ใชระยะเวลายาวนานเพ่ือการเปล่ียนแปลงอยางเปนระบบแตไมเส่ียงปฏิบัติตามวิธที ี่ผิดจากความเชื่อที่ผดิ ของบรรดาผูปฏริ ูปหรือการคัดคา นแบบหัวโบราณของพวกอนุรักษนิยม หนวยแพนเซอรใหมเหลาน้ี ไดผานกระบวนการเดียวกับสวนท่ีเหลือของกองทัพ ทําใหรายงานหลังการปฏิบัติก็เพียงกลาวคราว ๆถึงจุดออนของทีม่ ขี องกองพลทหารราบตาง ๆ หนวยแพนเซอรเ ขา รว มในการผนวกออสเตรยี เขาเปนสวนหนึ่งของเยอรมัน(Anschluss - อั๊นชลุซซ) เปนกองพลและกรมอิสระในกองทัพนอยทหารราบการวางแผนสาํ หรบั การบุกเชก็ โกสโลวาเกียในฤดูรอน ปน้ันก็เชนกัน ใชกองพลยานเกราะ 23 Heinz Guderian, Panzer Leader (New York, 1957), หนา 34-6ดูรายงานหลังการปฏิบัติ (After-action report) ระดับกองทัพบกทั้งหมด,Heeresgruppenkommando 3., Ia Nr. 400/38, 18 July 1938, “DerEinsatz der 8. Armee im März 1938 zur Wiedervereinigung Österreichsmit dem deutschen Reich,” NARA T-79/14/447 (ดูหนา 11-22 และ 26-7);รวมท้ัง Generalkommando XIII A.K., Ib Nr. 1500/38, “Erfahrungsberichtüber den Einsatz Österreich März/April 1938,” NARA T-314/525/000319. เมอรเรย

291เปนสว นหนงึ่ ของกองทพั นอ ยทหารราบ2324 แตสําหรับการบุกโปแลนด นวัตกรรมของเยอรมันในระดับยุทธการไดกาวหนาไปอีกขั้น โดยกองพลแพนเซอรและทหารราบยานยนต ปฏิบัติการรวมกันเปนกองทัพนอยอิสระ2425 ความเร็ว และความสามารถในการเคล่ือนที่ของหนวยใหม ขนาดใหญเหลานี้มีบทบาทสําคัญในการเปล่ียนความไดเปรียบทางยุทธวิธีในการเจาะไปเปนการขยายผลที่ลึกเขาไปและทาํ ลายลางในระดับยุทธการ ที่นาท่ึงคือ ชัยชนะของยานเกราะเยอรมันในโปแลนดที่ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (Oberkommando des Heeres (โอเบอรคอมแมนเดอรเดส เฮียเรส) - OKH) ไดเปลี่ยนกองพลยานยนตเบาสี่กองพล (ซ่ึงยังไมไดทดสอบตนเอง) ไปเปน กองพลแพนเซอร นอกจากนี้ ไดรวม 2 ใน 4 กองทพั นอ ยแพนเซอร รวมท้งั กองทพั นอ ยแพนเซอรท ี่ 19 (XIX Panzer Corps) ของกูเดเรียนเปนหน่ึงกลุมกองทัพรถถัง แพนเซอร (Panzer group) ซ่ึงเทียบเทากับกองทัพเต็มอัตราภายใตการบังคับบัญชาของนายพล อีวาลด วอน ไคลสท (Ewald von Kliest)ซ่ึงกูเดเรียนไดพูดเปนนัยตอมาวา วัตถุประสงคคือเพื่อควบคุมการเคล่ือนกําลังของตนในระหวางขั้นการขยายผลของการรบดังกลาว แตคําอธิบายท่ีนาจะเหมาะสมประการหน่ึงคือ ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (OKH) เจตนาท่ีจะเพ่ิมผลทางดานยุทธการของยานเกราะ โดยรวมกําลังยานเกราะจํานวนมากในการรวมกําลัง(Schwerpunkt - ชเวอรพุนท) ยานเกราะขนาดใหญหนวยเดียว ผลการปฏิบัติ 24 ดู Murray, The Change in the European Balance of Power,หนา 225-31. 25 สาํ หรบั การยทุ ธข องเยอรมันตอโปแลนด ดู Robert M. Kennedy, TheGerman Campaign in Poland, 1939 (Washington, DC, 1956), และKlaus A. Maier et al., Germany and the Second World War, vol. 2,Germany’s Initial Conquests in Europe (Oxford, 1991), part 3. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารของเยอรมัน

292ของกลุมกองทัพแพนเซอร (Panzer group) ของไคลสท (Kliest) ในสามสัปดาหแรกของยุทธการฝรั่งเศส สรางความพอใจแกผูบัญชาการทหารสูงสุด ของกองทัพเยอรมัน(OKH) อยางย่ิงจนไดจัดต้ังกลุมกองทัพแพนเซอร (Panzer group) อีกหนวยหนึ่งภายใตการบังคับบัญชาของกูเดเรียนเอง เพื่อบดขยี้สวนท่ีเหลือของกองทัพฝร่ังเศสใน มิ.ย.1940 (พ.ศ.2483) ซึ่งการดาํ เนินการน้ีเปนที่เขาใจไดวาไมได ทาํ ใหกูเดเรียนไมพ อใจอกี ครง้ั อยางแนน อน หน่ึงในเร่ืองเลาท่ีแพรหลายทั่วไปของประวัติศาสตรของสงครามโลกครงั้ ที่ 2 คอื เร่อื ง “ชดุ รบ รถถงั -เครือ่ งบินโจมตี (Tank-Stuka team)” ทเี่ ชอ่ื วาไดผสมผสานการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดกับความสามารถในการเคลื่อนที่ของยานเกราะ2526 การพัฒนาที่แทจริงของการปฏิบัติการรวมอากาศ-ภาคพ้ืนของเยอรมันเปนไปอยางธรรมดามาก และสะทอนถึงความกาวหนาที่แทจริงของนวัตกรรมในกองกําลังทหารที่มีประสิทธิภาพ ความรูจากประสบการณในสงครามกลางเมืองสเปน ทําใหเยอรมันตองปรับยุทธวิธีและข้ันตอนในการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด เพ่ือชวยทหารราบในการปฏิบัติการเจาะอยางไรก็ตาม ภารกิจน้ีก็ยังคงเปนความเรงดวนต่ําสุดของกองทัพอากาศเยอรมันในยุคนาซี (Luftwaffe) แมวา จะตางกับของกองทัพอากาศอังกฤษ (Royal AirForce (RAF)) และกองพลนอ ยบนิ ของกองทัพบกสหรัฐฯ (U.S. Army Air Corps)แตอยางนอยที่สุดกองทัพอากาศเยอรมันก็ไดยอมรับความตองการของกองทัพบกสาํ หรับการสนับสนนุ ทางอากาศ โดยใกลชดิ อยางจริงจงั ดงั น้นั กองทัพอากาศเยอรมันในยุคนาซี (Luftwaffe) จึงใหการสนับสนุนท่ีสําคัญแกกําลังภาคพื้นดินในการเจาะผานแนวในโปแลนด แตการสนับสนุน 26 ดู Richard Muller, “Close Air Support: The German, British,and American Experiences, 1918-1941,” ใน Military Innovation in theInterwar Period, Chapter 4, และ Williamson Murray, German MilitaryEffectiveness (Baltimore, MD, 1992), Chapter 2. เมอรเรย

293ทางอากาศโดยใกลชิดแกหนวยยานเกราะยังคงอยูในชวงระยะแรก ๆ โดยอาศัยผืนผาบอกฝาย (Display panels), ระเบิดควัน, และธงนาซีผืนใหญที่ปูท่ีหลังคารถตาง ๆ ของกองทัพเยอรมัน (Wehrmacht) จึงไมเปนที่นาประหลาดใจท่ีเคร่ืองบินของกองทัพอากาศเยอรมันจะท้ิงระเบิดโจมตีใสกองกําลังยานยนตของเยอรมันเปนประจําตลอดการยุทธน้ัน แตสวนใหญหนวยแพนเซอรของเยอรมันไดใหความเห็นในรายงานหลังการปฏิบัติวากองทัพอากาศเยอรมันท้ิงระเบิดโจมตีขาศึกมากกวา หนว ยฝา ยเดียวกนั ซึ่งบรรดาผูใหค วามเห็นสวนใหญของกองทัพพึงพอใจ2627แตเปนท่ีชัดเจนวาชุดรบรถถัง-เครื่องบินโจมตี (Tank-Stuka team) ยังคงเปนจินตนาการของการมโนภาพ ที่ใชการไดตลอดไปของ ดร.เกิ๊บเบลส (Goebbels)เมื่อ เม.ย.1940 (พ.ศ.2483) กองพลแพนเซอรที่ 2 และ กองทัพอากาศนาซีเยอรมัน(Luftwaffe) ยังคงทําการทดสอบที่มีความหวังตอไป โดยใชบรรดานักบินของกองทัพอากาศเปนผูควบคุมอากาศยานหนาของสวนนําตาง ๆ ของแพนเซอรแตในทายที่สุด ทั้งสองเหลาก็รูสึกวาการรบท่ีจะเกิดข้ึนในแนวรบดานตะวันตกน้ันใกลที่จะเกิดขึ้นมากเกินกวาท่ีจะเปล่ียนแปลงกระบวนการตาง ๆ จนกระทั่งการโจมตีสหภาพโซเวียต กองทัพเยอรมันจึงมีระบบท่ีตอบสนองการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลช ิดสาํ หรบั หนวยท่ีมีความคลอ งแคลว ในการเคลื่อนทข่ี องตน 27 อยางไรก็ตาม เครื่องบินของกองทัพอากาศเยอรมันไดโจมตี กองพันนําของกองพลแพนเซอรที่ 10 เปนเวลาหลายช่ัวโมง ทําใหทหารเสียชีวิตจํานวนหน่ึงกองพลดังกลาวไมเสียหายมากนัก (10. Panzer Div., Abt. Ia Nr. 26/39,“Erfahrungsbericht,” 3 October 1939, NARA T-314/614/632); รวมทั้งดูWilliamson Murray “The Luftwaffe Experience,” ใน Benjamin FranklinCooling, ed., Case Studies in the Development of Close Air Support(Washington, DC, 1990). พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกจิ การทหารของเยอรมัน

294 ป 1940 (พ.ศ.2483): การวางแผนและการเตรียมการ การวางแผนและการดําเนินการจริงของการยุทธฝรั่งเศส ทําใหเห็นภาพพิเศษเฉพาะวา การปฏิวัติในกิจการทหารเปนอยางไรผานสายตาของผูที่ปฏิบัติการยุทธนั้นหรือไดรับผลภายใตการเปล่ียนแปลงนั้น ผลลัพธดังกลาวไดสะทอนถึงการปฏิบัติตาง ๆ ของฝร่ังเศสรวมทั้งของเยอรมัน ถาผูบัญชาการระดับสูงของฝร่ังเศสไมไดทําการผิดพลาดอยางมหันตในทุก ๆ ขั้น ในการเตรียมการของตนสําหรับสงครามท่ีจะเกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมไดกับเยอรมัน ซึ่งการรบท่ีฝงแมนํ้ามิวส (Meuse) อาจไมเปนตัวอยางสําคัญในการปฏิวัติในสงครามยานเกราะผสมเหลา เปนการยากที่จะดูยอนหลังวาทําไมฝร่ังเศสสามารถทําความผิดพลาดอยางมากมายในการเตรียมการ สําหรับการรบหลักนิยมของฝรั่งเศสในชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 1 กับเร่ิมสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ไดรับการพิจารณาอยางย่ิงถึงความถูกตองจากบรรดานักประวัติศาสตร เนื่องจากมีสวนสําคัญในหายนะดังกลาว2728ต้ังแตเรมิ่ ผูน าํ ทหารของฝรัง่ เศสรดู ีถึงคาํ ตอบที่ตนกาํ ลังมองหาอยูแลว แตใหค วามสนใจคอนขา งนอ ยในความชดั เจนดังกลา ว ทง้ั ต้ังแตก ารรบเมื่อป 1918 (พ.ศ.2461)หรือจากการทดลองใชขององั กฤษและเยอรมนั ส่งิ ทีส่ อดคลอ งกบั หลกั นยิ ม(La doctrine) จะไดรับความสนใจ แตถาไมก็จะถูกละเลยหรือยกเลิกแนวทางที่สั่งการจากระดับบนสูระดับลางดังกลาวตอหลักนิยมยังมีผลตอการควบคุมบังคับบัญชา และฝงรากลึกในวัฒนธรรมของกองทัพ และเปนที่พอใจเฉพาะตัวของบุคคลสําคัญตาง ๆ เชน จอมพลฟลิปเป เพอรแตง (Philippe Pértain) และนายพลมัวริซ เกมลิน (Maurice Gamelin) ซึ่งแนวทางดังกลาวนําไปสูการดําเนินการ 28 ดู Robert A. Doughty, Seeds of Disaster: The Development ofFrench Army Doctrine, 1919-1939 (Hamden, CT, 1985) และ Eugenia C.Kiesling, Arming Against Hitler: France and the Limits of MilitaryPlanning (Lawrence, KS, 1996) เมอรเ รย

295ตาง ๆ ท่ีตรงกันขามโดยส้ินเชิงกับของเยอรมัน คือ ไมไดแบงมอบอํานาจ ตอไปและไมออนตัวกวา แตเปนรูปแบบการสงครามท่ีแข็งตัว ซึ่งบรรดาผูบัญชาการถกู ควบคมุ อยา งแนนหนาจากหนวยเหนอื ทกุ ข้นั ตอนและการปฏิบัติ2829 ซ่ึงแนวทางหลักของฝรั่งเศส คือ คติพจนที่คร่ําครึ “ปนใหญทําลาย ทหารราบยึดพื้นท่ี(the artillery destroys, the infantry occupies)” ซ่ึงไมเปนท่ีนาประหลาดใจฝรงั่ เศสยงั เขยี นบท การปฏบิ ัตใิ นการซอ มรบและการทดสอบตาง ๆ อยางละเอียดเพ่อื ใหผลลพั ธท ่ีฝร่ังเศสดูเหมอื นวา ถกู ตอง ซึ่งแนวทางดงั กลา วประสบความสําเร็จอยางเสมอมา จนกระท่ังการซอมรบขนาดใหญท่ีเยอรมันเขียนไว สําหรับฝร่ังเศสเม่อื ป 1940 (พ.ศ.2483)2930 ในเชิงประชด การรบขามแมน้ํามิวส (Meuse) ของเยอรมันเม่ือ 13-14พ.ค.1940 (พ.ศ.2483) ไดใชการรบทหารราบ-ปนใหญอยางตอเน่ืองตอพ้ืนที่และดวยกาํ ลังท่ีฝร่งั เศสไดเ ตรียมไวส ําหรบั ระยะเวลาหกเดือนเตม็ การรบบริเวณดนี องท (Dinant), มอนเธอรม ี (Monthermé), และซดี าน (Sedan) เหมาะสมตามอดุ มคตทิ ่จี ะเพมิ่ ประสิทธผิ ลของแนวทางทีฝ่ ร่ังเศสใชท าํ สงคราม และจริง ๆ แลวกองกําลังของฝรั่งเศส ทําไดดีกวาที่บรรดานักประวัติไดกลาว หรือการเตรียมการของฝรง่ั เศสอาจทาํ ใหบ รรดาผูสงั เกตการณคาดคดิ ส่ิงที่กําหนดชะตากรรมของฝรั่งเศสและสรางการปฏิวัติในกิจการทหาร(RMA) ของเยอรมัน คือ ความผิดพลาดที่ไมสามารถแกไขไดสองประการคือทางยุทธวิธี และทางยุทธการ โดยผูบังคับบัญชาระดับสูงของฝร่ังเศสในไมก่ีเดือน 29 การสูญเสียของเยอรมันในการรุกในฤดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461)สูงมากจนผูนําทางทหารในชวง ระหวางสิ้นสงครามโลกครั้งท่ี 1 กับเร่ิมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของฝร่ังเศส ซึ่งมีภาพท่ีไมดีตอการสูญเสีย ของเยอรมันจะไมย อมรับเอาระบบยทุ ธวิธีทเี่ ยอรมันไดพ ัฒนาข้ึนไมว า กรณีใด. 30 สําหรับการฝก และซอ มรบของฝรั่งเศส ดู Kiesling, Arming Against Hitler. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกจิ การทหารของเยอรมนั

296กอนการรบนั้น ระดับยุทธวิธี ฝร่ังเศสโยกยายกองรอยทหารราบตาง ๆ ของตนเหมือนกับวาเปนสวนท่ีสามารถแทนกันได ตลอดฤดูหนาวกองรอยตาง ๆเคล่ือนยายเปนระยะ ๆ เขาและออกจากแนวเพ่ือสรางคูสนามเพลาะตาง ๆซ่ึงภารกิจการกอสรางเหลาน้ีจํากัดระยะเวลาการฝกท่ีมีของหนวยทหารราบและปนใหญตาง ๆ และการหมุนเวียนเปนประจําไปยังพื้นท่ีใหมและไมคุนเคยไดลดระดับประสบการณและความเปนปกแผนของการต้ังรับลงอยางมากตามแนวรบที่ซีดาน ผูบังคับบัญชาระดับสูงของฝร่ังเศสผสมกําลังไมนอยกวา 15กองรอย จากกรมตาง ๆ 3 กรม ทําใหแผนทท่ี ่ีตัง้ ในการตัง้ รบั ของกองรอยตา ง ๆท่ีกําหนดสีตามกรม หลากสีสันจนดูเหมือนวากองทัพฝร่ังเศสประสบภัยจากโรคติดเชื้อ3031ผูบังคับกองพันและผูบังคับการกรมตาง ๆ ขาดการควบคุมพื้นที่ของตนอยางหลีกเล่ียงไมได และไมมีภาพท่ีชัดเจนวาอะไรกําลังเกิดขึ้น ยิ่งไปกวานั้นผูบังคับบัญชาตาง ๆ ของฝรั่งเศสยังคงอยูกับที่ในกองบังคับการตาง ๆ ของตนซึง่ เพิ่มปญ หาในการตอบโตต อ การโจมตขี องเยอรมันมากข้ึน แตความผิดพลาดที่ใหญท สี่ ดุ ของฝรั่งเศสคอื ระดับยุทธการ ในตนฤดูใบไมผลิป 1940 (พ.ศ.2483) ตามอํานาจของผูบัญชาการกองทัพของตน นายพลเกมลิน(Gamelin) ไดส่ังยายท่ีต้ังที่สําคัญของฝรั่งเศส ซ่ึง ณ ตอนน้ัน กองทัพท่ี 7ที่ประกอบดวยหนวยที่ทันสมัยและมีความคลองแคลวในการเคล่ือนท่ีมากท่ีสุดในกองทัพฝร่ังเศส ไดถูกสงไปปฏิบัติการในพื้นท่ีบริเวณเมืองรีมซ (Rheims)ซึง่ เปนทต่ี ั้งหน่งึ ทม่ี ีการกลา วเชิงประชดวา ไดก าํ หนดที่ตั้งตามหลักการ เพ่อื ตานทานการรุกหลักของเยอรมันผานอารเดนส (Ardennes) แตเปนที่ยอมรับกันวานั่นไมใชเหตุผลท่ีทําไมเกมลินเลือกพ้ืนท่ีปฏิบัติการดังกลาว โดยเกมลินอาจต้ังใจท่ีจะใหกองทัพที่ 7 เปนหนวยโอบเพ่ือตีโตตอบถาเยอรมันเลือกท่ีจะเจาะผานแนวมาจิโนต (Maginot Line) ซึ่งฝร่ังเศสคิดวาอาจเปนไปได หรือรุกผานเบลเย่ียม 31 Karl Heinz Frieser, Blitzkrieg-Legende: Der Weastfeldzug 1940(Munich, 1995), หนา 180-5. เมอรเรย

297และกลุมประเทศบริเวณที่ราบต่ําใกลทะเลเหนือ (Low Countries ไดแก เบลเยียมลักเซมเบริ ก และเนเธอรแ ลนด) เชน ทีเ่ คยทําเมื่อป 1914 (พ.ศ.2457) หลังจากน้ัน แผนการตาง ๆ ของเยอรมันในการโจมตีผานตอนเหนือของเบลเยียมไดตกไปสูมือของ ฝายพันธมิตรเน่ืองจากการบินลงฉุกเฉินในเบลเย่ียมของฝายเสนาธิการท่ีสะเพราของกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) ขาวนี้ทําใหเกมลนิ เปลีย่ นแปลงการวางกําลังของตน โดยตัดสนิ ใจแตเ พียงผูเ ดยี ว ซึ่งไมมีหลักฐานวาผูนําทางการเมืองของฝรั่งเศสมีอิทธิพลตอเขา โดยยายกองทัพที่ 7 ท้ังหมด ไปท่ีปกซายสุดเพ่ือเช่ือมตอกับกองทัพดัชท3132 ดังน้ัน เกมลินจึงทําใหตนเองไมมีกองหนุนขนาดใหญสุดทายของตนสําหรับแนวรบใด ๆ3233 การรุกผานอารเดนส (Ardennes)ซ่งึ ถกู กลา วเปนเชงิ ประชดเชน กันวาเขาแผนของเยอรมนั ทเ่ี ปน ผลจากการปรับแผนเดิมในเดือน ม.ค. จึงไมตองเผชิญกับกองหนุนของฝร่ังเศสท่ีอาจปองกันการเจาะ หรอื การขยายผล ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (OKH) ไมรูถึงโชคดีของตนจนหลังจากพิชิตฝรั่งเศส ซ่ึงความกังวลของเยอรมันตลอดข้ันการขยายผล ก็นับวามีเหตุผลทีเดียว แตการตอบโตท่ีออนแอของฝรั่งเศสตอการโจมตีของเยอรมันขามแมน้ํามิวส (Meuse) ทําใหผูบัญชาการตาง ๆ ท่ีแนวรบ โดยเฉพาะบรรดา 32 สําหรับการพัฒนาแผนตาง ๆ ของ Gamelin ดู Robert A. Doughty,The Breaking Point: Sedan and Fall of France, 1940 (Hamden, CT, 1990), หนา 14-16. 33 ในการประชุมฉุกเฉนิ เมื่อ 16 พ.ค.1940 (พ.ศ.2483) ระหวา งฝรง่ั เศสกับนายกรัฐมนตรีคนใหมข อง อังกฤษ วนิ สตนั เชอรช ลิ ล ซ่งึ เชอรชลิ ลไ ดถามตรง ๆวา “Où est la masse de manoeuvre? (กองหนนุ ของทา นอยูท ใี่ ด?)”โดยเกมลนิ (Gamelin) ไดต อบวา “Aucune (ไมม )ี ” ซึง่ เปนทป่ี ระหลาดใจตอ ชาวอังกฤษ (Churchill, The Second World War, vol. 2, Their FinestHour [Boston, MA, 1949], หนา 46). พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกจิ การทหารของเยอรมนั

298ผูบัญชาการกองพลและกองทัพนอยแพนเซอร ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญดานสัญชาตญาณที่ชาวเยอรมันเรียกวา สามารถรูไดดวยปลายนิ้ว (Fingerspitzengefühl -ฟง เกอรสปท เซงกาฟูล) ม่ันใจวา ฝร่งั เศสไมมีกองหนุน ขนาดใหญ ทางดานเยอรมัน ฮิตเลอ รเร่ิมสั่งโจมตีกลุมประเทศบริเวณท่ีราบตํ่าใกลทะเลเหนือ(Low Countries) และทางตอนเหนือของฝรั่งเศสทันที แมวาจะกอนท่ี กองทัพเยอรมัน(Wehrmacht) จะเสร็จสิ้นการกวาดลางรัฐ และกองกําลังติดอาวุธตาง ๆของโปแลนด ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (OKH) คัดคานอยางรุนแรงเน่ืองจากการรบของเดือน ก.ย.1939 (พ.ศ.2482) ไดพบจุดออนสําคัญใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ท า ง ยุ ท ธ วิ ธี ข อ ง ทั้ ง ห น ว ย ป ร ะ จํ า ก า ร แ ล ะ กํ า ลั ง สํ า ร อ ง 3 3 34ซง่ึ เปน อีกคร้งั ทรี่ ะบบการวิเคราะหก ารรบของเยอรมนั ไดเ ปลีย่ นไปเปนการปฏิบัติสัปดาหท่ีสองของเดือน ต.ค. ผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (OKH)ไดวางแผนการฝกโดยละเอียดเพ่ือแกไขขอบกพรองตาง ๆ ท่ีไดบันทึกไวและนําหนวยตาง ๆ ไปสู มาตรฐานการปฏิบัติท่ัวไปที่สูง3435 ในเวลาเดียวกันการขัดแยงที่รุนแรงก็เกิดข้ึนระหวางฮิตเลอรกับนายพลตาง ๆ เก่ียวกับความพรอมรบของกองทัพ ผลท่ีสุด เน่ืองจากสภาพอากาศของปลายฤดูใบไมรวงและตนฤดูหนาวท่ีแยที่สุดในประวัติศาสตร และการร่ัวไหลของแผนตาง ๆ ในเดือนม.ค. สุดทาย เยอรมันก็ได เลื่อนการรุกไปจนฤดูใบไมผลิตอมา3536 ระหวางน้ัน 34 ดู Williamson Murray, “The German Response to Victory inPoland: A Case Study in Professionalism,” Armed Forces andSociety, Winter 1981. 35 ในบรรดาหลักฐานที่คลายกัน ดู Heeresgruppe A, Ob, 31 October1939, “An den ObdH,” NARA T-311/236/000884 และ Heeresgruppe A,Abschrift von Abschrift, “Besprechung am 11.11.39,” NARA T-311/236/000853. 36 Telford Taylor, The March of Conquest: The German เมอรเ รย

299กองทัพเยอรมันสามารถและใชเวลาวันละ 17 ชม. สัปดาหละ 6 ถึง 7 วัน ทําการฝกหลักสูตรการฝกของผูบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเยอรมัน (OKH)ไดส าํ เร็จดวยความถูกตองและกระตือรือรน การฝกท่ไี รความปรานแี ละทรหดนัน้ตรงกันขามกับการฝกท่ีเฉ่ือยชาทั่วไปของหนวยตาง ๆ ของฝรั่งเศสสวนใหญระหวาง “สงครามทไ่ี มมกี ารรบ (Phoney War)”3637 กระบวนการวางแผนสําหรับการรุกท่ีจะดําเนินการตอแนวรบดานตะวันตกแผน Fall Gelb (ฟอลล เกลบ) หรือ Contingency Yellow (กรณีสีเหลือง)เร่ิมในตน ต.ค. โดยแสดงรายละเอียดจํานวนมากเกี่ยวกับแนวทางของเยอรมันในการทําสงครามและวิธีปฏิบัติที่กองกําลังแพนเซอรของเยอรมันใชขอไดเปรียบทางยุทธวิธีระยะประชิดไปสูหน่ึงในชัยชนะที่ยิ่งใหญที่สุดในประวัติศาสตรทหารฟรานซ ฮอลเดอร (Franz Halder) เสนาธิการกองทัพบกไดทําแผนขั้นตนในตนต.ค.1939 (พ.ศ.2482) ฮอลเดอรมี เปาหมายที่จะรุกผานกลุมประเทศบริเวณท่ีราบตํ่าใกลทะเลเหนือ (Low Countries) และตอนเหนือของฝร่ังเศสลงมาท่ีแมน้ําซอมม (Somme) เพ่ือยึดครองพื้นท่ีและใชเปนฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือเพื่อเผด็จศึกตออังกฤษ3738 จริง ๆ แลว ไมมีใครยินดีกับผลลัพธแตเร่ืองนี้แทบจะไมใชความผิดของฮอลเดอร ซ่ึงฮอลเดอรเพียงแคทําตามแนวทางทางการเมืองท่ีทานผูนํา (Führer) และรัฐมนตรีกระทรวงทหาร ซ่ึงเปนผูบัญชาการระดับสูงVictories in Western Europe, 1940 (New York, 1958), หนา 61-4, 170. 37 การฝกของฝร่ังเศสระหวางสงครามท่ีไมมีการรบ (Phoney War)ไมใกลเคียงกับคําวาไมเพียงพอ ในยามสงบ (ดู Doughty, The Breaking Point,หนา 105-06) และไมมีวันใกลเคียงกับแรงกดดันอยางจริงจังที่ เยอรมันปฏบิ ัติเปนปกติประจาํ ตอทหารของตน. 38 การอางอิงท่ีเปนภาษาอังกฤษท่ีดีท่ีสุดสําหรับการวางแผน Fall Gelbของเยอรมนั คือของ Taylor, March of Conquest, หนา 155-86. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารของเยอรมัน

300ของกองทพั เยอรมัน (Wehrmacht) ใหมา3839 พ.ย.1939 (พ.ศ.2482) เสนาธิการที่หนุมและรุกรบของหมูกองทัพที่ 1(Army Group A) นายพล อีริค วอน มานสไตน (Erich von Manstien)ไดเสนอใหยายกองพลแพนเซอรหลายกองพลจากแนวรุกหลักไปยัง เบลเย่ียมและหนว ยทม่ี าขึ้นกบั หมูกองทัพของเสนาธกิ ารผนู ี้ไดรกุ ผา นอารเ ดนส ซึ่งฮิตเลอรยังพบโอกาสที่จะโจมตีดวยแผนการรุกผานอารเดนส โดยตอมาในกลางเดือนกองทัพนอยแพนเซอรท่ี 19 ของกูเดเรียน ซึ่งมี 2 กองพลแพนเซอร และ 1 กองพลทหารราบยานยนต ไดถูกสงใหไปข้ึนกับหมูกองทัพที่ 140 มานสไตนมีความพอใจจากท่ีเขียนในบันทึกความจําที่ไดรับความไววางใจสําหรับการเจาะไปยังชองแคบ(Channel) ในทส่ี ดุ แตท ่ีจรงิ แลว การเสนอข้ันตน ของเขาคือ การพยายามทั้งหมดทจ่ี ะชวยการรุกหลัก ทางดา นเหนอื ดวยการเขาตีสนับสนุนทางปก อยางไรก็ตามแรงกดดันจากมานสไตน และผูบัญชาการ หมูกองทัพท่ี 1 นายพลเก๊ิรด วอนรันสเตดท (Gerd von Rundstedt) เปนตัวกระตุนในการเปลี่ยนแปลงการวางแผนที่สําคญั ยิ่งในตอนกลางฤดหู นาว ทันทีที่สวนใหญของแผนเดิมตกไปอยูในมือของพันธมิตรเม่ือปลายเดือน ม.ค.และตอมาฮิตเลอร ไดยอมเล่ือนเวลาออกไปอีกเปนเวลานาน ผูบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมัน (OKH) จึงสามารถปรับแผนท่ีสําคัญของตนได แรงผลักดันท่ีอยูเบื้องหลังในการเลื่อนศูนยกลางของการเขาตีจากดานเหนือ เปน ตอนกลาง คือฮอลเดอร4041 เดือน ก.พ. เยอรมันกําลังไปดวยดีในการวางแผนในรายละเอียด 39 ดู Murray, The Change in the European Balance of Power,หนา 330-8. 40 Taylor, March of Conquest, หนา 167-8. 41 สําหรับบทบาทของ Halder ดู Taylor, March of Conquest, หนา172-3; สําหรับอีกแงมุมหนึ่ง ดู Christian Hartmann, Halder, GeneralstabschefHitlers 1938-1942 (Paderborn, 1991), หนา 172-84. เมอรเ รย

301ที่จําเปนตองใชแนวคิดที่แตกตางออกไปอยางยิ่งของแผนฟอลล เกลบ (Fall Gelb)โดยการรวมกําลังกองพลแพนเซอรท่ีมีอยูใหมากท่ีสุด เพ่ือรุกผานอารเดนสแตฮอลเดอรยึดถือมุมมองที่ตางไปในการกําหนดรูปรางของการรุกท่ีจะเกิดขึ้นจากผูบังคบั หนวยยานเกราะทร่ี ุกรบกวา การประชุมวางแผนและการวาดภาพการรบที่ฮอลเดอรดําเนินการในระดับผูบัญชาทหารสูงสุด (OKH) ของเยอรมันเมื่อ ก.พ. และ มี.ค.1940 (พ.ศ.2483)ทําใหไดส่ิงที่ตางไปเหลานี้4142 ฮอลเดอรและ ผูบัญชาการกองทัพบก นายพลวอลเธอรวอน บราวคิทช (Walther von Brauchitsch) เชื่อวาบรรดากองพลยานเกราะจะลมเหลวในการเจาะผาน โดยเชื่อวาการเจาะหลักจะไมจนกวากองพลทหารราบตาง ๆจะเขาประชิดแมนํ้ามิวส (Meuse) ในวันท่ี 10 หรือ 11 บรรดาผูบัญชาการหนวยยานเกราะตาง ๆ เสนอมุมมองที่ตางกันโดยส้ินเชิง คือ กองพลยานเกราะตาง ๆควรถึงแมน้ํามิวสในวันที่ 3 หรือ 4 และใชทหารราบและ ปนใหญในอัตราของตนทําการเจาะแนวเอง ส่ิงที่นาทึ่งที่สุดเก่ียวกับกระบวนการ วางแผนของเยอรมันคือ ผูบังคับบัญชาระดับสูงปลอยใหการรบเปนผูตัดสินใจ (Decision by battle)ซง่ึ ความเห็นตางที่ดเู หมือนจะไมสามารถประนีประนอมกันได เหลาน้ีอยูเหนือกวาปญ หาท่ีเปนความเปนความตาย แมวาทิศทางของการเจาะจะยังไมไดขอยุติ การเจาะในวันที่ 3 หรือ 4จะทําใหสามารถขยายผลไปยังชายฝงของชองแคบ (Channel) และโอบกําลังตาง ๆ ของพนั ธมติ รท่ีอยูในเบลเย่ียม ในทางตรงกันขาม การชะลอการเจาะจนถึงวันท่ี 10 หรือ 11 จะทําใหกองหนุนขนาดใหญของฝร่ังเศสเคล่ือนมาทางใตจากปกซายของพนั ธมิตรและไปทางเหนือจากแนวมายโิ นต เ ขาสแู มนาํ้ มวิ ส จากจุดน้ันเปนตนไป การขยายผลไปยงั ปารสี แทนทจ่ี ะไปชองแคบจะเปดโอกาสที่ใหญหลวงที่สุดกูเดเรียนไดแยมถึงการถกเถียงดังกลาว ในบันทึกของตนวา ในการโตแยงเก่ียวกับ 42 Taylor, March of Conquest, หนา 169-75. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกิจการทหารของเยอรมัน

302การขยายผลที่เปนไปไดของการเจาะท่ีประสบผลสําเร็จ ผูบัญชาการหนวยแพนเซอรคาดการณอยางชัดเจนในการขามแมน้ํามิวสในวันที่ 5 และตอบคําถามของฮิตเลอรเกีย่ วกบั ท่ีหมายของตนโดยระบุความประสงคอยางเขมแข็งสําหรับชองแคบไมใชปารีส4243 “ถา (ตน) ไมไ ดรับคําสั่งทีเ่ ปนอยา งอ่นื ” เยอรมันดําเนินขั้นตอนตาง ๆ เพื่อจัดการกับเร่ืองฉุกเฉินท่ีอาจเกิดข้ึนกอนการเจาะ ผูบัญชาการทหารสงู สุด (OKH) ไดก ําหนดถนน 4 เสน จาก 8 เสนในพื้นที่ปฏิบัติการของกองทัพนอยแพนเซอรที่ 19 แกกูเดเรียนสําหรับการเคลื่อนท่ีผานอารเดนส สวนท่ีเหลืออีก 4 เสน ใหแก กองพลทหารราบธรรมดา4344ซึ่งสัดสวนดังกลาวอาจเน่ืองจากทหารราบอาจตานทานความพยายามใด ๆ ของฝร่ังเศสท่ีจะเคลื่อนยายหนวยที่มีขนาดใหญพอควรไปยังอารเดนสเพ่ือหนวงเวลาเยอรมันในกรณีดังกลาว กองพลทหารราบ เหลาน้ันอาจจะทําการรบสวนมากไปจนถึงแมน้ํามิวสและดํารงใหกองพลแพนเซอรยังคงความสดชื่น ในการทําการเจาะการปฏิบัติการของกองรอยหนุนสองกองรอยของเบลเยี่ยม หนวยพรานแหงอารเดนส(Chasseurs Ardennais – ชาซเซอรส อารเดนเนส) ที่เมืองเล็ก ๆ ของโบแดงจ (Bodange)บอกเปนนัยวา ฝร่ังเศสอาจทําในส่ิงท่ีรุกรบกวา โดยกําลังรบชาวเบลเยี่ยมไมก่ีรอยคนกส็ ามารถตรึงกองพลแพนเซอรที่ 1 ไดเ กือบหนงึ่ วันเต็ม4445 บรรดาผูวางแผนของเยอรมันยังเกรงวาฝรั่งเศสอาจรบกวนการรุกของตนโดยเคลือ่ นเขา สูอารเ ดนส จากทางใต ดังน้ันจึงไดทําเคล่ือนท่ีทางอากาศ (Air-landed)โดยเครื่องบินเฟยซเลอร สตอรช (Fiesler Storch) กับกําลังทหารราบขนาดเล็กที่ผานการฝกมาอยางดีจากกองพลทหารราบท่ี 34 เพ่ือยึดสะพานสําคัญบนถนนตาง ๆ ที่มุงไปทางเหนือเขาสูอารเดนส จากนั้นหนวยมอเตอรไซค 43 Guderian, Panzer Leader, หนา 92. 44 หนงึ่ ในปญหาสําคัญทีเ่ ยอรมนั เผชญิ คอื ความไมเพยี งพอของเครือขายถนนของอารเ ดนส (Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 125). 45 Doughty, The Breaking Point, หนา 46-53. เมอรเรย

303(Motorcycle) ก็เขาเสริมกําลัง เพื่อเปนหนวยกําบัง4546 ที่สําคัญกองพลแพนเซอรที่ 10ทางปกดานใตของการรุกสูแมน้ํามิวส ไดรับถนน 2 เสนสําหรับการเคล่ือนที่ซึ่งการตัดสินใจดังกลาวแสดงถึงความตองการที่จะรุกสูแมนํ้ามิวสโดยเร็วเทาที่จะทําไดเพ่ือใหทหารราบที่ตามมาสามารถเคลื่อนเขาปองกันปกท่ีเปดนั้นไดส่ิงท่ีเยอรมันพยายามหลีกเล่ียงเหนืออื่นใด คือ การรบติดพันในอารเดนสเม่ือพิจารณาการขัดขวางที่หนวยทหารราบอเมริกันเล็ก ๆ ท่ีมีชื่อเสียงกองพลสงทางอากาศท่ี 101 (101 Airborne Division) ท่ีบาสตอง (Bastogne)ไดขวาง เสนทางรุกตอไปของหนว ยยานเกราะของเยอรมันในป 1944 (พ.ศ.2487)กน็ ับวา ทบี่ รรดาผูวางแผนของป 1940 (พ.ศ.2483) คดิ นัน้ ถกู ตอ งโดยสนิ้ เชงิ ป 1940 (พ.ศ.2483): การปฏบิ ตั ิการรบเยอรมันเผชิญกับปญหาท่ีหนักหนวงจํานวนหนึ่งแมกอนที่กําลังของเยอรมันจะถึงแมน้ํามิวส ประการแรกคือ วิธีการท่ีจะเคล่ือนยายกองพลแพนเซอรและกองพลทหารราบยานยนตจากพื้นที่รวมพลกอนเขาตีไปยังแนวหนากลุมกองทัพแพนเซอรไคลซท (Panzer Group Kleist) มีรถยนตบรรทุกและยานยนตเกือบ 40,000 คัน (รวมรถถัง 1,222 คัน) โดยมีความยาวของขบวนเดินทางประมาณ 1,540 กม. 47 ฐานท่ีพักของกองทัพนอยแพนเซอรของกูเดเรียน 46ยอนหลังไปถึงแมน้ําไรน (Rhine) ที่โคบเบลนซ (Koblenz) เปนระยะทางกวา100 กม. สวนกองทัพนอยแพนเซอรที่ 39 (XXXXI Panzer Corps) ของไรนฮารดท(Reinhardt) ตองต้ังที่ฝงขวาของแมน้ําไรน และตองเคล่ือนยายกวา 150 กม.จึงถึงแนวรบลักเซมเบิรก4748 เครือขายถนนท่ีจํากัดของไรนแลนด (Rhineland)46 เรื่องเดียวกนั , หนา 53-5.47 Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 125.48 เรือ่ งเดยี วกัน, หนา 128-31.พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกจิ การทหารของเยอรมัน

304(ดานตะวันตกของเยอรมัน) นอกจากตองรองรับ 7 กองพล แพนเซอร และ 3 กองพลทหารราบยานยนตแลว ยังตองรองรับการเคล่ือนยายไปยังชายแดนลักเซมเบิรกและเบลเย่ียมของกองพลทหารราบธรรมดาจํานวนหน่ึง ซึ่งไมเคยมีกองทัพใดพยายามเคลื่อนยายยานยนต ในขนาดนี้มากอ น ไมน าแปลกใจ เยอรมนั ตองพบกับปญหาตาง ๆ แมก อนท่ีจะถึงแมน้ํามิวสในวันที่สาม 12 พ.ค. กองพลทหารราบตาง ๆ เคลื่อนยายจากทางตะวันออกเฉียงเหนือตัดแนวทางเคล่ือนที่ของกองทัพนอย แพนเซอรของไรนฮารดท และขวางการเคลื่อนท่ีของกองพลแพนเซอรที่ 2 ของกูเดเรียน ผลก็คือ จราจรติดขัดอยางมหันตทําใหตองหยุดการเคล่ือนที่เปนเวลาหลายวัน4849 โชคดีของเยอรมันกําลังของพันธมิตรลงทุนนอยมากดานกําลังทางอากาศและทุมกําลังทางอากาศท่ีมีสวนใหญไปตามที่บรรดาผูนําระดับสูงคิดวาเปนภัยคุกคามหลัก ขณะที่กองบัญชาการโจมตีท้ิงระเบิดของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF Bomber Command) ซึ่งตามหลักนิยมของหนวยไดสงเคร่ืองบินของตนท้ิงระเบิดโจมตีใสตนไมและสังหารบรรดาปศุสัตวบริเวณเหมืองแรและอุตสาหกรรมแถบหุบเขาของแมนํ้ารัวร (Ruhr) แทนท่ีจะสนับสนุนการรบภาคพ้ืนดิน แตก็มีเครื่องบินของฝร่ังเศสท่ีเพียงพอที่จะทําสําเร็จ ซึ่งทําใหกูเดเรียนตองบนอยางขมขื่นตอบรรดาผูบังคับบัญชาของตน และบันทึกการรบประจําวันของตนเก่ียวกับการปฏิบัติการทางอากาศของพันธมิตร ขณะที่กําลังของตนขามแมน้ําซีมัวส (Semois) ปญหาที่เยอรมันพบในข้ันการเคลื่อนยาย เผยใหเห็นถึงอันตรายที่อาจเจอ ถาฝายพันธมิตรมีความรุกรบมากกวาน้ี, ถาฝายพันธมิตรใหความสนใจในความรูเร่ืองจุดออนของเยอรมันมากกวาน้ี และถาฝายพันธมิตรไดใชเ ครื่องบินจาํ นวนมากกวานี้ ตอนเย็นของวันที่ 12 พ.ค. กองทัพนอยแพนเซอร 3 กองทัพนอยของเยอรมันไดหลุดพนจากอารเดนสอยางปลอดภัย และเขาประชิดแมนํ้ามิวส ต้ังแตดีนองท (Dinant) ถึงซีดาน (Sedan) แตการปฏิบัติการขามลําน้ําจริง ๆ เปน 49 เร่ืองเดียวกนั , หนา 132-6. เมอรเ รย

305“สิ่งทขี่ ึน้ อยกู บั สถานการณ (Dam near-run thing)”4950 ผลก็คือ เยอรมันไดปฏิบัติการขามลําน้ําโดยสงทหารราบนําหนา ซึ่งทหารราบและปนใหญ (โดยเคร่ืองบินสนับสนุน ถามี) โจมตีที่ม่ันขาศึกท่ีมีที่ตั้งท่ีดี และขุดหลุมกําบังอยางดีหนวยทหารราบตาง ๆ ตองขามแมน้ํามิวสภายใตการยิงอยางหนักของปนใหญและปนกลของฝรั่งเศส โดยมีการสนับสนุนจากปนใหญยานยนตท่ีข้ึนสมทบกองพลแพนเซอรตาง ๆ จากน้ันหนวยเหลาน้ีก็ตองยึดหัวสะพานที่ลึกเพียงพอเพ่ือใหทหารชางสนับสนุน การรบสามารถสรางสะพานสําหรับรถถัง และสวนท่ีเหลือของกองพลขาม ซึ่งจนกวาจะไดวางสะพานเสร็จ สภาพภูมิประเทศสวนใหญไดจํากัดบทบาทของกรมแพนเซอรตาง ๆ ใหเปนเพียงผูดู ท้ังนี้ การปฏิบัติการยทุ ธขามลําน้าํ ตา ง ๆ ไมใ ชเร่อื งงาย รวมท้ังการปฏบิ ตั ใิ นครัง้ น้ี สวนใหญฝร่ังเศสสามารถตอสูไดดี และในหลาย ๆ แหง สรางการสูญเสียอยางหนักแกหนวยตาง ๆ ของเยอรมันที่เขาตีจากเหนือถึงใต กองพลแพนเซอรท่ี5 และ 7 จากกองทัพนอยแพนเซอรของฮอก (Hoth) เขาตีดานใตของดีนองทกองพลแพนเซอรท่ี 6 ของกองทัพนอยแพนเซอร ของไรนฮารดท เขาตีใกล ๆ กับมอนเธอรมี และกองพลแพนเซอรท ี่ 2, 1, และ 10 ของกองทัพนอยแพนเซอรท ่ี 19ของกูเดเรียนเขาตีที่ซีดาน ทั้งนี้ การปฏิบัติการยุทธ ขามลําน้ําบางปฏิบัติการจะไดรับการสนับสนนุ จากกองทัพอากาศเยอรมนั แตส ว นใหญจ ะไมไดรับ ทางดานเหนือ กองพลแพนเซอรที่ 5 สงทหารราบกลุมเล็ก ๆ กลุมหน่ึงขามเขื่อนช่ัวคราวเล็ก ๆ ก้ันลํานํ้าแหงหน่ึงที่ฝรั่งเศสไมสามารถระเบิดท้ิงไดแตสวนใหญของการปฏิบัติไดลมเหลวพรอมกับการสูญเสียอยางมาก5051 ทางดานใตการปฏิบัติการยุทธขามลํานํ้าของกองพลแพนเซอรที่ 7 อาจลมเหลว 50 ตามคํากลาวของดยคุ แหง เวลลิงตันท่วี อเตอรล .ู 51 เรื่องเดยี วกนั , หนา 285. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวตั ิในกิจการทหารของเยอรมัน

306ถาไมมีความพยายามเปนพิเศษของพลตรีอาวุโสนอยที่ช่ือ เออรวิน รอมเมล5152ฝายรับยิงทําลายกองรอยนําตาง ๆ ของรอมเมลอยางยอยยับ ซ่ึงมีเพียงความเปนผูนําท่ีผลักดันของรอมเมลเทาน้ันที่ทําใหการยุทธ แมน้ํารุกตอไปแมจะเผชิญกับการตานทานที่เหนียวแนน ตอนบายหลังจากที่กองพลของรอมเมลยึดหัวหาดเล็ก ๆ แหงหนึ่งได ตัวรอมเมลเองไดใชปนกลเบากระบอกหน่ึงตอสูกับการตีโตตอบของฝรั่งเศสท่ีสนับสนุนดวยรถถัง เย็นของวันนั้นรอมเมลก็ไดโดดลงแมนํ้าเพื่อชวยทหารชางของตนสรางสะพานใหเสร็จ5253 เม่ือสวนใหญของกองพลของตนไดขามแมน้ําในวันที่ 14 พ.ค. รอมเมลก็เปนอิสระ ขณะท่ีกองพลแพนเซอรที่ 5 เขารับภาระในการตานทานตอการตีโตตอบท่ีสําคัญ ๆของฝรง่ั เศส ถาไมม คี วามเปนผนู ําของรอมเมล กองพลแพนเซอรท่ี 7 ก็อาจไมสามารถปฏิบัติการขามลํานํ้าไดสําเร็จ และฝร่ังเศสก็มีกําลังเพียงพอในพ้ืนท่ีที่จะจํากัดวงหัวสะพานท่ีคอนขางเล็กท่กี องพลแพนเซอรท ี่ 5 ยดึ ได ท่ีตรงกลางของเยอรมัน กองพลแพนเซอรท่ี 6 สวนนําของไรนฮารดทไดเ ขาประชิดมอนเธอรมี ในตอนเยน็ วันที่ 12 พ.ค. วันตอมา ทหารราบยานยนตของกองพลน้ีก็ยึดหัวคุงนํ้าเล็ก ๆ แหงหน่ึงของแมน้ํา มิวส แตฝายตั้งรับของฝร่ังเศสก็ไดจํากัดวงจุดนั้นไวถึงวันคร่ึง ตอมา 15 พ.ค. ผูบัญชาการพื้นท่ีของฝร่ังเศสก็ไดส่ังถอนตัวออกจากแมน้ํามิวส เน่ืองจากกําลังตาง ๆ ของฝร่ังเศส ไดแตกกระจัดกระจายในทางดานเหนือ รอบ ๆ ดีนองท และทางดานใตรอบ ๆ ซีดาน5354หลังจากนั้น กําลังของฝร่ังเศสท่ีมอนเธอรมี ก็ไดพังทลายโดยสมบูรณ 52 ดเู รือ่ งเก่ียวกับรอมเมล: Erwin Rommel, The Rommel Papers, ed.B. H. Liddel Hart (New York, 1953), หนา 8-11, Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 289 ใหความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติของรอมเมลในการปฏิบตั กิ ารขามแมนา้ํ มิวส ที่สอแววย่ิงกวา แมแ ตของกูเดเรยี น. 53 Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 289. 54 Taylor, March of Conquest, หนา 227-8. เมอรเรย

307โดยในที่สุดก็เปดทางสําหรับการรุกโดยรวดเร็วและลึกโดยกองพลแพนเซอรที่ 6ท่กี ลางทิศทางเขา ตีท่ีตอนนน้ั ยืดจากดนี องทถ งึ ซีดาน การเขา ตีของกูเดเรียนขามแมนํ้ามิวสท่ีซีดานตอนกลางบายของวันที่ 13 พ.ค.เปนการรกุ ทีส่ ําคัญ ที่เปดถนนเพ่ือการขยายผลที่รวดเร็ว5455 ตางจากอีกสองกองทัพนอยแพนเซอร โดยกองทัพนอยแพนเซอรที่ 19 ไดรับการสนับสนุนอยางมากจากกองทัพอากาศเยอรมันซึ่งโจมตีที่มั่นตาง ๆ ของฝรั่งเศสตามแนวและหลังแมน้ํามิวสเปนเวลา 3 ชม. กอนเริ่มการขามทางขวาของกูเดเรียน กรมปนเล็กที่ 2 ของกองพลแพนเซอรท่ี 2 ลมเหลวโดยสิ้นเชิง ฝายต้ังรับของฝรั่งเศส ยิงทําลายเรือบุกขามของเยอรมันในแมนํ้า และสังหารทหารราบเยอรมัน สวนใหญกอนท่ีจะสามารถเขาถึงแมนํ้าดานซายกองพลแพนเซอรที่ 10 ก็ไมสามารถทําไดดีไปกวา โดยสูญเสียเรือบุกขาม 48 ลํา จาก 50 ลํา อยางดีท่ีสุดมีเพียงไมก่ีหมวดท่ีถูกยิงเสียหายเพียงเล็กนอ ยทสี่ ามารถขามแมน ้ํามิวสได แตกข็ าดจากหนว ย แตสถานการณที่ตรงกลางแตกตางไป ที่นี่กองพลแพนเซอรที่ 1 มี 2กรมปนเล็ก คือของตนเอง และ กรมกรอสสดอยชลันด (Grossdeutschland -แผนดินเยอรมันอันย่ิงใหญ) ที่ยอดเยี่ยม5556 โดยทหารราบของกองพลยานเกราะปฏิบัติการขามลํานํ้าไดสําเร็จท่ีสุด แตกองรอยนําตาง ๆ ของกองพลดังกลาวก็เหมือนกับท่ีอ่ืน ๆ ประสบความสูญเสียอยางหนัก ซึ่งมีปจจัยหลายประการที่ชวยกองพลแพนเซอรที่ 1 คือ การโจมตี ทิ้งระเบิดทางอากาศ 3 ชม. ขับไลพลประจําปนใหญของฝร่ังเศสออกไปจากปนใหญของตน, ตัดการยิงสนับสนุนท่ีทหารราบฝรั่งเศสตองการอยางมาก และสิบเอกทหารชางสนับสนุนการรบ 55 ขอมูลของการรบนี้มาจาก Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 190-260 และ Doughty, The Breaking Point, หนา 131-265. 56 ดูแผนที่ตาง ๆ ใน Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 198-9, 214,227, 233, 241 และ 261. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ตั ิในกิจการทหารของเยอรมนั

308ของเยอรมนั ผหู นง่ึ พรอ มหมขู องตนไดทําลายหลุมบังเกอร 7 หลมุ ในพื้นทีส่ าํ คัญของแนวตั้งรับของฝร่ังเศสทางเหนือของ เวดลินคอรท (Wadelincourt) ทําใหเกิดชองเจาะในแนวของฝรง่ั เศสท่ีทําใหหนวยตา ง ๆ ที่ยดึ ทม่ี นั่ ขา งเคียงระสํ่าระสาย แมจะสูญเสียอยา งหนัก ทหารเยอรมันที่เหลือก็กดดันตอไป ตอนเท่ียงคืนซีดานท่ีดูสุดเอื้อมก็ตกอยูในกํามือ แตการสรางสะพานเคร่ืองหนุนลอยสําหรับกําลังยานยนตของกองพลแพนเซอรที่ 1 ก็เปนเพียงแคเริ่มตนจนกระทั่งกรมปนเล็กท่ี 1 และกรมกรอสสดอยชลันด (Grossdeutschland) ไดกวาดลางชายฝงตาง ๆ ของแมน้ํามิวสเรียบรอย กองพลแพนเซอรที่ 2 และ 10 จึงไดเริ่มขามแตในระหวางน้ันทหารชางก็ทํางานอยางเต็มที่เพ่ือสรางสะพานใหเสร็จ สําหรับยานเกราะตาง ๆ สวนทหารราบเยอรมันก็ยังคงรุกกดดันไปทางใตตอไปลักษณะการส่ังการจากบนลงลางของหลักนิยมของฝรั่งเศสและเจตนาของผูบังคับบัญชาของฝรั่งเศสท่ีจะควบคุมทุก ๆ ส่ิง ทําใหเกิดการตอบสนองท่ีลาชากรมทหารราบ 2 กรม และกองพันรถถัง 2 กองพัน ท่ีจัดเปนกองหนุนของกองทัพนอยที่ 10 กองบัญชาการประจําพ้ืนที่ของฝร่ังเศส ไดรับคําส่ังใหเคล่ือนท่ีโดยเร็วภายใน 16.00 น. ของวันท่ี 13 พ.ค. ซึ่งทั้งสี่หนวยน้ีทั้งหมดอยูภายในระยะทาง 20 กม. (มีหน่ึงกรมทหารราบอยูภายในระยะ 5 กม.) ของเยอรมันที่ทําการรุกแตฝร่ังเศสก็ไมประสบความสําเร็จในการตีโตตอบ โดยใชเพียงหน่ึงในกรมทหารราบตาง ๆ จนกระทั่ง 09.00 น. ของวันท่ี 14 พ.ค.5657 เยอรมันไดเคลื่อนยายกําลังยานเกราะขนาดใหญ ซึ่งมีรถถังอยูบางขามแมน้ําแลว การตีโตตอบของฝร่ังเศสจึงพังทลายอยา งรวดเรว็ การท่ีกูเดเรียนถอนรถถังของตนกลับมาเปนกําลังขยายผลแยกตางหากและปลอยใหทหารราบทําการรบไปเกือบทั้งวันของวันที่ 14 พ.ค. แสดงถึงคุณคาและความออ นตัวของหลกั นยิ มของเยอรมนั 5758 ในวันตอมา กเู ดเรยี นก็ไดเริ่มเช่ือถึง 57 Frieser, Blitzkrieg-Legende, หนา 227. 58 ควรสังเกตวารอมเมลใชรถถังของตนทันทีท่ีสามารถนํารถถังเหลานั้น เมอรเรย

309ประโยชนของการใชการปฏิบัตกิ ารรวมกนั ของรถถัง-ทหารราบ และรถถังของเยอรมันก็ไดสนับสนุนทหารราบในการรบบริเวณสโตนน (Stonne) อยางไรก็ตาม วันที่14 พ.ค. ก็เปนวันที่ฝร่ังเศสพายแพการรบน้ัน จากน้ันกูเดเรียนก็ไดใหกองพลแพนเซอรที่ 1 และ 2 มุงหนาทางตะวันตก สวนกองพลแพนเซอรที่ 10 และกรมทหารราบกรอสสดอยชลันด (Grossdeutschland) ยังคงมุงสูดานใตกองหนุนขนาดใหญของฝรั่งเศสเพิ่งมาถึง โดยเฉพาะกองทัพนอยที่ 21 โดยมี กองพลยานเกราะท่ี 3 และกองพลทหารราบยานยนตที่ 3 ซึ่งไมวาหนวยใด ตางก็ไมไดผานการฝกระดับสูงมา นายพล เอฟ. แอล. เอ. วี. ฟลาวิกนี่ (F. L. A. V. Flavigny)ผูบัญชาการกองทัพนอยดังกลาว ซึ่งเปนหนึ่งในผูสนับสนุนการใชรถถังของกองทัพฝร่ังเศสกอนสงครามนี้ ยอมใหบรรดาผูบัญชาการกองพลของตน เขาพูดคุยอยางละเอียดในการตีโตตอบในวันท่ี 14 พ.ค. แตกลับใชสองกองพลในการตั้งรับเปนแนวยาว ทางใตของสโตนน และรอคอยเหตุการณตาง ๆ5859 การไมสามารถเคล่ือนท่ีไดของฟลาวิกน่ีทําใหบรรดาผูบัญชาการของเยอรมันในเหตุการณนั้น สามารถสรุปไดวาฝรั่งเศสไมสามารถสกัดกั้น การเจาะหรือการขยายผลที่กําลังดําเนินไปของเยอรมันได ใน 20 พ.ค. กองพลนําของกองทัพนอยแพนเซอรท่ี 19 ของกูเดเรียนไดเคลื่อนถึงชองแคบอังกฤษ และกองทัพเยอรมันไดตัดปกซายท้ังหมดของพันธมิตรจากกําลังสวนใหญของพันธมิตรและจากการสนับสนนุ ทางการสง กําลังบํารุง การรบทฝ่ี รง่ั เศสจึงเปน อันยุติขามแมน้ํามิวสได เพื่อสนับสนุนการรบของทหารราบ ในฐานะทหารราบที่เพิ่งเขาบังคับบัญชากองพลแพนเซอร รอมเมลแสดงถึงความเขาใจอยางย่ิงในภารกิจของรถถังตาง ๆ ในการรบผสมเหลามากกวากูเดเรยี น. 59 Doughty, The Breaking Point, หนา 278-93 ใหความเห็นท่เี ปน ประโยชน ของการปฏิบัติของ Flavigny. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏิวัติในกจิ การทหารของเยอรมนั

310 สรปุการพิชิตฝรั่งเศสภายในไมกี่สัปดาหเมื่อป 1940 (พ.ศ.2483) ยังคงเปนหนึ่งในเหตุการณท่ีดูเปนการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติและนาประหลาดใจที่สุดในประวัติศาสตรทหารศตวรรษที่ 20 ไมนาแปลกใจที่คําอธิบายตาง ๆ ท้ังหมดท่ีปรากฏหลังสงครามน้ี ไดแก ความเสื่อมของชาติฝรั่งเศส (French nationaldegeneracy), แนวท่ีหาจากฝายขวา (Fifth columnists from the Right),กบฏคอมมิวนิสตจากฝายซาย (Communist treason from the Left),ขอกังขาถึงความไมเต็มใจที่จะตอสูของชาวฝรั่งเศส และที่แน ๆ การพัฒนาแบบปฏิวัติในหลักนิยมทหารของเยอรมัน หกสิบปตอมา เหตุการณและสาเหตุตาง ๆก็ปรากฏชัดเจนมากข้ึน ฝรั่งเศสไดทําการรบในป 1940 (พ.ศ.2483) ซ่ึงในปนั้นกองทัพฝร่ังเศสสูญเสียชีวิตทหาร 123,426 นาย สูญหายในการรบ 5,213 นายและบาดเจ็บ 200,000 นาย 60 นอกจากนี้เรายังสามารถโตแยง เร่ืองเลาลือตาง ๆ 59ทวี่ าการลมสลายของชาติเกิดจากความรายกาจของการเมืองฝร่ังเศส ไมวาฝายซายหรือฝายขวา มากกวาท่คี วามจรงิ ทางประวตั ศิ าสตรช ้ีตามความจริงของกวาหกสิบปของการวิเคราะห ชัยชนะของป 1940(พ.ศ.2483) ปรากฏเหตุการณทางทหารท่ีสามารถอธิบายไดดวยสาเหตุทางทหารโดยเฉพาะการปฏิบตั ขิ องกองทพั ฝรงั่ เศสและ ผบู ังคบั บัญชาระดบั สูง และโดยเฉพาะเกมลิน (Gamelin) นอกจากนี้ผลลัพธดังกลาวยังแสดงถึงวัฒนธรรมท่ีดีหลายอยางของทหารและกองทัพเยอรมัน อยางไรก็ตาม ยังมีปจจัยเฉพาะจํานวนหน่ึงที่ชวยใหเยอรมันสามารถขยายความไดเปรียบของตนไดอยางสูงสุด ประการแรก คือความกลาท่ีจะรับการสูญเสียอยางหนัก ในการเผชิญกับฝรั่งเศสที่เปนศัตรูท่ีเขมแข็งนอกจากความไดเปรียบในการมอบอํานาจในการบัญชาการทางยุทธวิธี (Auftragstaktik -ออฟทรากสแทคทิค) แลว การเจาะของเยอรมันยังข้ึนอยูกับแนวคิดพื้นฐานที่ทําใหผบู ังคับบัญชาและทหารตองรกุ ไปขางหนา ไมวาโอกาสรอดชีวิตของตนเอง60 Kiesling, Arming Against Hitler, หนา xii. เมอรเ รย

311จะนอยเพียงใด โดยความรักชาติและความเปนทหารอาชีพไดหลอมรวมกันเพ่ือสรางจิตสํานึก “ความจงรักภักดี แมจะตองถึงแกชีวิต (Loyalty unto death)”อยางแทจริงของคําวาชาตินิยม (National Socialist) แตชัยชนะของเยอรมันก็ยังไมแนนอนท่ีสุด กูเดเรียนเองไดบอกวา การเจาะแนวรับของฝรั่งเศส ท่ีซีดานเม่ือ 13-14 พ.ค. โดยกองทัพนอยแพนเซอรที่ 19 ของตนเปน “เกือบเหมือนปาฏิหาริย (almost a miracle)”6061 ชัยชนะแขวนอยูบนเสนดายท่ีเปราะบางไมก่ีเสน คือ การรบแบบไมกลัวตายของทหารราบเยอรมัน, ความเปนผูนําเฉพาะตัวท่ียอดเย่ียมของรอมเมลในการผลักดันการปฏิบัติการขามลํานํ้าท่ีดีนองท, และหัวสะพานที่ยึดรักษา โดยหนึ่งเดียวของกองพลแพนเซอร สามกองพลของกูเดเรียนซ่ึงฝรั่งเศสอาจไมตองใชกําลังขนาดใหญ เพื่อสกัดการรุกข้ันตนขามแมน้ํามิวสและเปลยี่ นวถิ ที ัง้ หมดของการรบ แมจะไมไดรวบรวมหรือมอบหมายกองกําลังใด ๆ แตผลก็คือการปฏิวัติในกิจการทหารของเยอรมัน ในสํานึกสวนใหญ ความไดเปรียบอยางมากของเยอรมันในหลักนิยมและการฝกดูจะใหประโยชน คอนขางนอยในระดับยุทธวิธี แตกองทัพเยอรมันในชวงดังกลาว (Wehrmacht) ก็ไดยกระดับความสําเร็จทางยุทธวิธีไปเปนชัยชนะระดับยุทธการที่ไมสมบูรณ เม่ือมองยอนไปการสรางนวัตกรรมของเยอรมันในชวงระหวางส้ินสงครามโลกครั้งที่ 1 กับเริ่มสงครามโลกคร้ังท่ี 2มีเปาหมาย ที่จะพัฒนาเฉพาะในระยะยาวเทาน้ัน และตองขอบคุณความผิดพลาดของฝรั่งเศส ณ จุดตัดสินใจเมื่อป 1940 (พ.ศ.2483) ที่เยอรมันไดปฏิวัติปฏิบตั กิ ารทางยุทธการทนี่ าประทบั ใจและเปน แบบอสมมาตรชว่ั คราว การพัฒนาแบบคอยเปนคอยไปและเพ่ิมขึ้นในหลักนิยม, การฝก และเทคโนโลยี เปนที่มาเดียวของชัยชนะของเยอรมัน ส่ิงท่ีสําคัญเทียบเทากัน คือวัฒนธรรมทหารท่ีพัฒนาขึ้นมากกวาหนึ่งศตวรรษ ตั้งแตการปฏิรูปปรัสเซียของป 61 Guderian, Panzer Leader, หนา 84. พ.ค.1940 (พ.ศ.2483): ความประจวบเหมาะและความเปราะบาง ของการปฏวิ ัติในกจิ การทหารของเยอรมนั

3121807-14 (พ.ศ.2350-57) เปน ตนมา ซึง่ วัฒนธรรมทหารน้ีตองการ ประสิทธิภาพและ “ความยินดีตอความรับผิดชอบ (Joy in responsibility)” ของกําลังพลทุกนายของกองทัพ ต้ังแตพลปนเล็กไปจนถึงนายพล, การบัญชาการ การฝกและการปฏิบัติโดยสม่ําเสมอ, การสงเสริมการสรางนวัตกรรมและการทดลอง, การปลูกฝงความซ่ือสัตย และความไววางใจระหวางช้ันยศ หนวย และเหลาตาง ๆ,การฝกฝนผูนําหนวยอาวุโสต่ํา ๆ ของตน, และการลงโทษผูท่ีผิดพลาดเฉพาะผูท่ีผิดซ้ําสองหรือสาม การพัฒนาเชิงระบบตาง ๆ ท่ีชา มั่นคง ของกองทัพจักรวรรดิเยอรมันระหวางป 1871 – 1945 (พ.ศ.2414-2488) (Reichswehr)และ กองทัพเยอรมันกอน และระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 (Wehrmacht)แคเพียงกลายมาเปนการปฏิวัติในกิจการทหารท่ีบนฝงแมน้ํามิวส แตไมวาจะดวยเหตุผลใด และไมว า เวลาใด กองทัพเยอรมันไดทําการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีแบบปฏิวัติก็ดวยคุณคาของเทคโนโลยีเอง ซึ่งสิ่งท่ีเยอรมันไดดําเนินการ ก็คือการเชื่อมโยงยานเกราะ, อํานาจการยิง, วิทยุ, และเครื่องยนตสันดาปภายในไปเปนแนวคิดในการทําสงครามที่มีพ้ืนฐานที่ม่ันคงในความรูท่ีไดรับจากประสบการณของประวตั ิศาสตร เมอรเรย

10 อนาคตตอ ไป (The future behind us) วลิ เลยี มสัน เมอรเรย และ แมค เกรเกอร นอ กซ (Williamson Murray and MacGregor Knox) ตามความคิดของกรีกในยุคตน ๆ มองวาอดีตและปจจุบันอยูตรงหนาเราซึ่งเราสามารถมองเห็นไดอนาคต ซ่ึงมองไมเห็น อยูหลังจากเรา.... แมจะดูเหมือนไมถูกตอง แตก็อาจมีเหตุผลตอผูที่รับฟงเสียงของปจจุบัน ภาพการเดินทางผานเวลาของเรานอี้ าจเปน ความจริง ย่ิงกวาความจริง มากกวาความรูสึกยุคกลางและยุคใหมวาเราเผชิญกับอนาคตขณะท่ีเรากาวเดนิ ไปสอู นาคต01 ในบทนจี้ ะใหความสําคัญตอการปรบั เปล่ียนศิลปะการสงครามท่ไี ดเ ร่ิมข้นึในตะวันตก ซึ่งวัตถุประสงคของบทสุดทายน้ีมีความหลากหลายย่ิง โดยจะสรุปทั่วไปเก่ียวกับลักษณะของการปฏิวัติทางการทหาร (Military revolutions) และของการปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolutions in military affairs: RMA) และวิเคราะหวาอดีตไดใหคําแนะนําใดเกี่ยวกับศักยภาพของการปฏิวัติเหลานั้นตออนาคตซ่งึ เมอื่ พิจารณาถงึ คาํ กลา วของผูท่ีเช่อื วาสหรัฐฯ กาํ ลังอยูบนยอดสูงสุดของการปฏิวัติในกิจการทหารของชาวอเมรกิ า ส่งิ เหลา นก้ี เ็ ปน คาํ ถามท่นี า สนใจ12 กาวยางของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี และความเปนศัตรูกันอยางตอเนื่องระหวางรัฐตาง ๆ ทําใหมีโอกาสสูงที่สงคราม, การปฏิวัติการทหารและการปฏิวัติในกิจการทหารตาง ๆ จะมีบทบาทสําคัญในศตวรรษที่เพิ่งจะเร่ิมขึ้นการคาดการณลวงหนาเปนส่ิงสําคัญตอกองทัพอเมริกา ท้ังในการพยายามที่จะปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงทางยุทธศาสตรที่กวางขวางหลังจากการลมสลายของสหภาพโซเวียตและการผงาดขึ้นของจีน และในการพยายามกําหนดกรอบแนวคิด และระบุประเด็นกดดันตาง ๆ ที่มีตั้งแตการเปล่ียนวัฒนธรรมองคกรของตน ไปจนถึงการดาํ เนินการใหไดมาซ่งึ ระบบอาวธุ ตา งๆที่จะตอ งใชสูรบในชวงสามสบิ ปแรกของศตวรรษท่ี 21 1Bernard Knox, Backing into the Future: The Classical Traditionand Its Renewal (New York, 1994), หนา 11-12. 2สําหรับตัวอยางเมื่อเร็ว ๆ นี้ ดูคํากลาวที่ไมนาเปนไปไดของพลเรือเอกWilliam A. Owens, ใน Ed Offley, Lifting the Fog of War (New York, 2000).

314 ในความพยายามที่จะมองใหออกวาอดีตไดทําใหเห็นอะไรเกี่ยวกับโฉมหนาในอนาคตของปญหาทมี่ ากมาย โดยในฐานะหนึง่ ในบรรดาบรรณาธิการทไี่ ดชี้ ใหเห็นซ่งึ พอ งกบั จอ รจ วลิ เฮม เฮเกล (Georg Wilhem Hegel) ท่ีวา ความมืดมนของประวัติศาสตรก็เหมือนนกในตอนเย็น อดีตท้ังหมดเปนส่ิงท่ีไมสามารถรูได ซึ่งเฉพาะส้ินวันเทาน้ันท่ีพอจะเห็นเคาเลือน ๆเราไมสามารถรูอนาคตไดทั้งหมด และอดีตทําใหรูวาการเปลี่ยนแปลงมักจะรุนแรงและไมสามารถคาดการณไดมากกวาที่จะคอยเปนไปและคาดการณได แตแมจะมีความคลุมเครือท่ีมากมาย ความรูที่ไดจากประวัติศาสตรยังคงเปนสิ่งช้ีนําเดียวท่มี ีทงั้ ตอ ปจ จบุ นั และตอ โอกาสตาง ๆ มากมายทจ่ี ะเกิดขน้ึ ในอนาคต23 การปฏวิ ัตกิ ารทหาร (Military Revolutions) ในบทกลาวนํา บรรณาธิการตั้งสมมุติฐานการปรากฏเหตุการณสองเหตุการณที่แยกกันและตางกัน คือ การปฏิวัติการทหาร (Military revolution) และการปฏิวัติในกิจการทหาร (Revolution in military affair) ประการแรกโดยปกติจะเปนผลจากการเปล่ียนแปลงทางสังคมและการเมืองอยางมากท่ีเปลี่ยนโครงสรางของสังคมและรัฐตาง ๆ และเปล่ียนแปลงพ้ืนฐานท่ีองคกรทหารไดเตรียมการสําหรับสงครามและปฏิบัติสงคราม ทั้งนี้ ไมสามารถคาดถึงการเปล่ียนแปลงแบบปฏิวัติตาง ๆ ดังกลาวได และไมสามารถควบคุมไดอยางยิ่ง การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ ลักษณะนี้มีโอกาสเปนไปไดท้ังหมดหรือนาจะเกิดในศตวรรษท่ี 21แตองคกรทหารตาง ๆ ท่ีเผชิญกับการเปล่ียนแปลงน้ีจะพบวา ตนเองไดเขาเกี่ยวของในความพยายามอยางเต็มท่ีเพ่ือปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงท่ีรุนแรงในวัฒนธรรมและสังคมรูปแบบตาง ๆ 3MacGregor Knox, “What History Can Tell Us About the ‘New StrategicEnvironment,’” ใน Williamson Murray, ed., Brassey’s MershonAmerican Defense Annual, 1995-1996 (Washington, DC, 1996), หนา 1-25. เมอรเรยและนอ กซ

315 การปฏิวัติการทหารในอดีตเปลี่ยนแปลงดวยความเร็วท่ีนาตกใจและมีผลตอทุก ๆ ดานของสงคราม ต้ังแตนโยบายและยุทธศาสตรไปจนถึงยุทธวิธีการผสมผสานกันของกาวยางท่ีเร็วขึ้นของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี,ความสามารถท่ีกวางขวางของชาติ-รัฐตะวันตกท่ีจะระดมประชากรของตน,และอารมณของประชาชนท่ีมีผลตอการระดมสรรพกําลังนั้น ไดสรางฝนรายแกนักการเมืองและนายพลตาง ๆ ของชวงคร่ึงแรกของศตวรรษที่ 20 สงครามโลกคร้ังที่ 1 ท่ีเร่ิมในชวงตนฤดูรอนป 1914 (พ.ศ.2457) ไดผอนคลายความคลั่งและความเกลียดชังที่ไมมีนักการเมืองคนใดสามารถควบคุมไดอารมณที่รุนแรงเหลาน้ันและจํานวนการสูญเสียจากสงครามคร้ังแรกเปนตนไป หมายถึงการไมหวนกลับไมมีโอกาสท่ีจะจัดการเจรจา ความศักดิ์สิทธิ์ของสาเหตุระดับชาติ และความสําคัญของการเสียสละที่ไดสืบทอดมาทําใหเกิดผลลัพธที่เปนไปไดเพียงสองประการ คือชัยชนะเด็ดขาด หรือการพายแพเด็ดขาด พรอมกันนั้นเทคโนโลยีไดเปลี่ยนแปลงสภาพท่ีนากลัวของสนามรบป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) อยางรวดเร็วและตอเน่ืองทีฝ่ ายตรงกนั ขา มพบวา ยากทจ่ี ะโตต อบดว ยการกําหนดกรอบหลักนิยมทางยุทธวิธีและทางยุทธการที่เหมาะสม เทคโนโลยีไมไดชวยใหทําสงครามงายขึ้น ซ่ึงตามความเช่ือรวมสมัยกลาววา เทคโนโลยีทําใหซับซอนมากข้ึนเปนทวีคูณ การพัฒนาทางวิทยาศาสตรใหม ๆ แตละเรื่อง, ระบบอาวุธใหมแตละระบบ (ท่ีเกิดข้ึนชั่วขณะหน่ึงถาไมไดนําไปขยายผลอยางเต็มท่ีในสงครามป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)) ตองใชความคิดท่ีสดใหมและความเช่ียวชาญทางยุทธวิธี, เทคนิค, และการสงกําลังบํารุงท่มี ากยง่ิ ๆ ขน้ึ ความสมดุลทางเทคโนโลยีและทางยุทธวิธีที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลาและความมุงม่ันของฝายคูตอสูตาง ๆ ท่ีจะจายอยางเต็มท่ีในราคาใด ๆ ทําใหไมสามารถชนะอยางเด็ดขาดไดสําหรับสี่ปที่ยาวนาน34 ยิ่งบรรดาผูนําทางการเมือง 4ตามที่พอล เคนเนด้ี (Paul Kennedy) เสนอ ยุทธวิธีเปนหัวใจสําคัญของชัยชนะทางทหารในสงคราม โลกคร้ังที่ 1 โดยเฉพาะแนวรบดานตะวันตก อนาคตตอไป

316ของสงครามมีจิตใจออนโยนมากข้ึนและการเสียชีวิตเปนลาน ๆ คน อาจเปนการผกู มดั บรรดาผนู ําตอการสูญเสียจํานวนมาก แต “สงคราม (Sausage machine)”ก็ทํางานอยางไมปรานี45 ในท่ีสุด ปจจัยสามปจจัยไดนํามาซ่ึงการปลดปลอย คือความเหน่ือยลาของชาวเยอรมันในสงคราม (German people-in-arms) และการแตกสลายของรัฐเยอรมัน, การเขารวมสงครามกับฝายพันธมิตรของสหรัฐฯมหาอํานาจเศรษฐกิจ และทหารท่ีสดชื่น 2.1 ลานคน เคล่ือนเขาฝรั่งเศสในฤดูใบไมรวงของป 1918 (พ.ศ.2461), และสิ่งประดิษฐใหมในป 1917-18(พ.ศ.2460-61) ดวยคาใชจายที่นากลัวและในขอจํากัดทางเทคโนโลยีแคบ ๆ(West Front) ปญหาทางยุทธวิธีเกิดจากการเปล่ียนแปลงท่ีตอเนื่อง เนื่องจากแตละฝายตอบโตตอการปฏิบัติตาง ๆ ของคูตอสูของตน (“Military Effectiveness inthe First World War,” ใน Allan R. Millett and Williamson Murray, eds.,Military Effectiveness, vol. 1, The First World War [London, 1988], หนา 331). 5แมจะมีทางเลือก ฤดูรอนป 1917 (พ.ศ.2460) กองทหารอังกฤษที่ออกปฏิบัติการนอกประเทศ (BEF) ในบัญชาการของ เซอร ดั๊กลาส เฮก (Douglas Haig)อยูในตําแหนงท่ีสามารถทําการรุกจํากัดที่เปนอันตราย ตอเน่ืองตอท่ีมั่นตาง ๆของเยอรมันทางดานตะวันตก แตเฮกกลับทําการรุก และดํารงการรวมกําลังเดียวท่ียืดเยื้อตอเปาหมายที่คิดวาใช ดวยการเจาะพื้นท่ีหนึ่ง คือ แฟลนเดอรส (Flanders)ที่การตั้งรับของเยอรมัน และภูมิประเทศไมไดเอื้อประโยชน แกฝายเขาตี แตเฮก(Haig) ก็มีผูรวมรับผิดชอบ โดยนายกรัฐมนตรี อังกฤษ เดวิด ลอยด จอรจ(David Lloyd George) รูระดับการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นของ การรุกดังกลาวแตไมสามารถใชอํานาจในฐานะผูนํารัฐบาลอังกฤษไมใหเฮก (Haig) ทําการโจมตีหรอื ดาํ รงตอไป หลังจากฝนท่ียาวนานไดเปล่ียนแนวรบท่ีอีเพรส (Ypres) เปนปลักตม(ดูการศึกษาของ Robin Prior and Trevor Wilson, Passchendaele, theUntold Story [New Haven, CT, 1996]). เมอรเ รยและนอ กซ

317ของการเคลื่อนไหวของสนามรบ56 ผลที่ตามมา คือ สงครามท่ีใหญขึ้นของป1939-45 (พ.ศ.2482-88) ซึ่งสังหารชีวิตคนไปสามเทาของสงครามโลกครั้งท่ี 1(Great War) ดวยความรุนแรงที่ทําใหการสูญเสียของป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)ดูดอยลงและดวยการเคลื่อนที่ที่สมบูรณในสามมิติระหวางมหาสมุทรและทวีปตาง ๆจากนั้นการปรากฏของอาวุธนิวเคลียรท่ีอัจฉริยะผูหน่ึงไดคิดคน ที่ทั้งชวยใหยุติสงครามและเปด ศกั ราชใหมที่มหาอํานาจตาง ๆ ดําเนินสงครามเหมือนเมนผสมพันธุกันดวยความระมัดระวงั โลกอาจพบกับการปฏิวัติอื่น ๆ ในศตวรรษที่ 21 และการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีดําเนินไปในปจจุบันดูเหมือนวาจะเปนคูแขงที่มีบทบาทเอก แตตามท่ีการปฏิวัติการทหารที่ยิ่งใหญในอดีตไดแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง ไมใชทางเทคโนโลยีเพียงอยางเดียวเปนแรงผลกั ดนั ท่สี ดุ ของการปฏวิ ัติทัง้ หมด ซึ่งแรงผลกั ดันทางสังคมและวัฒนธรรมอาจผอนคลาย หรือเพ่ิมข้ึนดังเชนในยุคตน ๆ ดวยเทคโนโลยีใหม ๆ ท่ีจะกําหนดลักษณะของการปฏิวัติการทหารใด ๆ ที่จะมีมาและมีผลอยางเด็ดขาดในการจัดเตรียมองคก รทหารสาํ หรบั สงคราม และดาํ เนนิ สงคราม แมวาการปฏิวัติการทหารจะมีขอจํากัดตาง ๆ คือ ไมสามารถแกไขอดีตและไมสามารถแกไขอนาคตตอลักษณะท่ีสําคัญของสงคราม บางครั้งคํากลาวท่ีโดนใจที่สุดของผูเช่ียวชาญรวมสมัยคือ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ จะปรับปรุงการดําเนินสงครามท่ีไมแนนอนและคลุมเครือของอดีต 6การสูญเสียของเยอรมันในการรุกในฤดูใบไมผลิป 1918 (พ.ศ.2461)ของลูเดนดอรฟเกือบหน่ึงลาน คนในส่ีเดือนต้ังแตกลาง มี.ค. ถึง กลาง ก.ค.ชัยชนะของเยอรมันสูญเสียเปนสองเทาของที่ไดรับในการโจมตี ป 1916-17(พ.ศ.2459-2460) ในแตละการรบหวงสี่เดือนที่เวอรดัน (Verdun), แมนํ้าซอมม(Somme), และท่ี พาชเชนเดล (Passchendaele) อังกฤษพายแพในการรุก“รอยวัน” ครง้ั สดุ ทาย ผานและเลยแนวฮนิ เดนเบิรก ทีส่ ญู เสยี หนกั เชน กัน. อนาคตตอ ไป

318สําหรบั มหาอาํ นาจทกี่ า วหนา ทางเทคโนโลยี การสงครามจะกลายเปน การดําเนนิ การดานวิศวกรรมที่ไรความเสียดทานท่ีสําคัญ ซ่ึงหน่ึงในผูสนับสนุนที่รอนแรงที่สุดของมุมมองตอโลกหลังยุค ของเคลาสวิทซ (Post-Clausewitzian world-view)พลเรือเอก วิลเลียม เอ. โอเวนส (William A. Owens) อดีตรองประธานเสนาธิการรวมสหรฐั ฯ ไดเขียนบทความในกรณีของตนเองท่ีมีสีสนั ตวา เทคโนโลยที มี่ ตี อการทหารสหรัฐฯ ในปจจุบันและกําลังพัฒนาอยู สามารถปฏิวัติวิธีการที่เราปฏิบัติการทางทหาร เทคโนโลยีดังกลาวทําใหเราสามารถมองเห็นสนามรบท่ีใหญเทาอิรักหรือเกาหลี ซ่ึงเปนพื้นที่ท่ีแตละดานยาวถึง 200 ไมลดว ยความถกู ตอ ง ครอบคลมุ และเวลาทแ่ี มน ยาํ ท่คี าดไมถ ึง ไมวา กลางคืนหรือกลางวันทกุ สภาพอากาศตลอดเวลา67 คําถากถางตาง ๆ อาจทําใหพลเรือเอกโอเวนส (Owens) กําหนดเปาหมายที่ทะเยอทะยาน สําหรับรัฐบาลและกองทัพท่ีมีหนวยงานขาวมากมาย ซึ่งมีอุปกรณเทคโนโลยีสูงจนตะลึง แตไมสามารถระบุท่ีตั้งสถานทูตจีนไดอยางถูกตองในกรุงเบลเกรดท่ีกําลังของสหรัฐฯ ถูกทําลายบางสวนระหวางสงครามโคโซโว(Kosovo War) ในฤดใู บไมผลปิ  1999 (พ.ศ.2542)78 7Owens, Lifting the Fog of War, หนา 4. 8คํากลาวที่เกินจริงของผูที่เช่ือในเทคโนโลยีทําใหชาวยุโรปผูกระจายขาวการสมคบคิดเขาใจผิดในการแนะนําใหสหรัฐฯ ทําการโจมตีสถานทูตจีน โดยมีการวางแผนโดยละเอียด แตหนังสือพิมพ New York Times (17 April 2000, หนา A1)ไดเสนอบทความที่ตรงไปตรงมาวา สหรัฐฯ กําหนดเปาหมาย และ โจมตีสถานทูตจีนเปนผลจากเพียงแคการไรความสามารถ ที่สามารถคาดการณ ไดของระบบราชการ(Clausewitzian friction – ทฤษฎีแรงเสียดทาน ของเคลาสวิทซ) ในหนวยขาวตาง ๆของตน โดยเฉพาะสํานกั ขา วกรองกลาง (Central Intelligence Agency). เมอรเรยและนอ กซ

319 ไมควรสบั สนระหวา งแตละตวั อยางของการเสียดทานกับปญหาเชิงระบบท่ัวไปการเสียดทาน, ความไมแนนอน และความสับสนในสงคราม ไมใชส่ิงรบกวนเพียงผิวเผินที่จะคอย ๆ ถูก “ความกาวหนา” ทางเทคโนโลยีขจัดไปสงครามไมใชเสนตรงโดยเนือ้ แท สงครามเปนความขัดแยงของเจตนารมณที่มีอยูสองเจตนารมณ และตามท่ีเคลาสว ทิ ซก ลาวไววา ไมมีกิจกรรมอ่ืนใดของมนุษยที่“ผูกพันกับโอกาสอยางตอเน่ืองหรือกวางขวาง” ยิ่ง89 สังคมอุดมคติท่ีเจริญทางเทคโนโลยีสามารถปฏิเสธเคลาสวิทซผูซึ่งไดพบเห็น สงครามมาดวยตนเองมากกวาท่ีคนอื่น ๆ ในสังคมดังกลาวที่นาจะเคยมีมาวาเปนภาพของตนศตวรรษท่ี 19ที่ยังอยูในชวงตน ๆ ท่ีกรอบแนวคิดดานปรัชญาของคานท (Kantian philosophicalframework) ไมไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี910 แตมุมมองเชิงวิทยาศาสตรของศตวรรษท่ี 20 เสนอวาลักษณะท่ีเคลาสวิทซมองสงคราม ไมมีอะไรทม่ี ากไปกวาการสะทอนธรรมชาติของจักรวาล ซ่ึงผูวิจารณในยุคปจจุบันผูหน่ึงซึ่งมีประสบการณในการรบเชนกัน เสนอวา เพ่ือเปล่ียนบทบาทของความเสยี ดทาน (Friction) ของสงคราม: ควรตองขจัดการเปล่ยี นแปลงทไี่ มเปนเชิงเสน, กฎขอ ท่สี องของวิทยาศาสตรความสมั พันธระหวา งความรอนกับพลังงานกล (Thermodynamics), หลักการพ้ืนฐานของทฤษฎีชีวะวิวัฒนาการยุคใหมของดารวิน (Neo-Darwinian evolutionary biology),และทฤษฎีการเปล่ียนแปลงเชิงคณิตศาสตร (Metatheorems of mathematical logic)ที่จํากัดทั้งหมด รวมทั้งทฤษฎีความไมสมบูรณ (Incompleteness theorems)ท่มี ชี ่อื เสียงของเคิร๊ ท โกเดล (Kurt Gödel) 9Clausewitz, On War, หนา 85; รวมท้ังดูบทความที่ยอดเย่ียมของ AlanBeyerchen, “Clausewitz, Nonlinearity, and the Unpredictability ofWar,” International Security, Winter 1992/1993. 10ดูการวิเคราะหท่ีดีของMichael Handel, “Clausewitz in the Age of Technology,”ใน Handel, ed., Clausewitz and Modern Strategy (London, 1986), หนา 51-92. อนาคตตอไป

320และการศึกษาตอยอดงาน ของโกเดลโดยเกรกอรี่ เชทิน (Gregory Chaitin)เพอ่ื พสิ ูจนการสมุ ทมี่ ใี นเชิงคณติ ศาสตร ซึง่ ไมใชงานเลก็ ๆ! 11 10 การครอบงาํ ของสังคมอุดมคติท่ีเจริญทางเทคโนโลยีเปนผลจากความเช่ือท่ีลึกซึ้งและประหลาดของชาวอเมริกาท่ีวา ปญหาตาง ๆ ของมนุษยท้ังหมดมีคําตอบทางวิศวกรรม และจากการคนควาหลังสงครามเวียดนามที่ผิดวิสัยชาวอเมรกิ าอยา งย่งิ (สําหรับผทู ่คี นุ กบั ประวตั ิศาสตรที่นา ภูมใิ จ และรุนแรงของสหรัฐฯ)สําหรับสูตรสําเร็จดานเทคโนโลยีที่จะอํานวยใหกองทัพสหรัฐฯ สามารถทําสงครามโดยไมพบกับการสูญเสีย หรืออาจแมแตจะทําใหสูญเสีย “โฉมหนาของสงคราม”ของสงั คมอุดมคติเปนธนาคารของการแสดงภาพคอมพิวเตอร (Computer displays)และในจินตนาการที่ยึดมั่นของสังคมดังกลาว สงครามไมใชอะไรที่มากไปกวาการเผชิญความเจ็บปวดในปริมาณยาที่ใหตอครั้งท่ีไดคํานวณไวอยางแมนยํา เพ่ือสงสัญญาณทางการเมอื งหรือดํารงใหคนทอ งถิ่นอยใู ตก ารควบคมุ 1112 เคลาสวิทซไดกลาวปรามผูรวมสมัยของตนท่ีไดรับภาพลวงตาในลักษณะเดยี วกันวา : แนนอนวาผูท่ีมีจิตใจกรุณาอาจคิดวามีบางวิธีท่ีแยบยลที่จะปลดอาวุธหรือเอาชนะขาศึกโดยไมนองเลือดเกินไป และอาจจินตนาการวา น่ีเปนเปาหมายที่แทจริงของศิลปะการสงครามแมจะดูดี แตก็เปนความเขาใจผิดที่ตองแกไข คือสงครามเปน...การดําเนินการทอี่ นั ตราย... 11Barry D. Watts, Clausewitzian Friction and Future War(Washington, DC, 1996), หนา 132. 12สําหรับการคาดการณแนวทางนี้ในโลกขนาดเล็ก (Microcosm) ดูบทความท่ีนาต่ืนตาโดย John McNaughton, Assistant Secretary of Defense for InternationalSecurity Affairs, “Proposed Course of Action RE Vietnam,” 24 March 1965,The Pentagon Papers: The Defense Department History of UnitedStates Decisionmaking on Vietnam (Boston, MA, 1972), vo;. 3, หนา 694-702. เมอรเรยแ ละนอ กซ

321 ไมมีความมหัศจรรยทางเทคโนโลยีใดที่สามารถเปลี่ยนแปลงธรรมชาติที่ไมสามารถพยากรณไดของสงครามเทา “องคประกอบแหงการขัดแยง 3 ประการ(Paradoxical trinity)” ซึ่งประกอบดวย “ความรุนแรง ข้ันแรก (Primordialviolence)”, การเมอื ง, และโอกาส1213 การปฏวิ ตั ใิ นกจิ การทหาร (Revolutions in Military Affairs) ถาการปฏิวัติการทหาร (Military Revolutions) เปนเหตุการณการเปล่ียนแปลงท่ีรุนแรงที่สถาบันทหารตาง ๆ ตองการเพียงเพ่ือการอยูรอด การปฏิวัติในกจิ การทหาร (Revolutions in Military Affairs) ก็จะเปน หว งระยะเวลาตาง ๆของการสรางนวัตกรรมที่กองทัพตาง ๆ พัฒนากรอบแนวคิดใหม ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงในหลักนิยม, ยุทธวิธี, กระบวนการ, และเทคโนโลยี ซึ่งกรอบแนวคิดเหลาน้ีตองใชเวลาเพื่อดําเนินการใหสําเร็จ โดยตองใชการทดลองอยางกวางขวางซ่ึงสวนใหญมักลมเหลว การพัฒนากรอบแนวคิดเหลาน้ียังตองมีวัฒนธรรมที่อํานวยตอการสรางนวัตกรรมและการโตแยงหาเหตุผล ใหหลุดพนจากหลักเกณฑหรือกฎเกณฑที่ไรขอพิสูจนแรงขับเคล่ือนของส่ิงเหลาน้ีเปนเทคโนโลยีท่ีไมธรรมดาซ่ึงเปนความสามารถทางเทคโนโลยีของกองทัพท่ีตระหนักวาการปฏิวัติในกิจการทหารดอยกวาของฝายตรงกันขามของตน และการปฏิวัติในกิจการทหารเกิดข้ึนเกือบจะเฉพาะในระดับยุทธการของสงคราม ไมคอยมีผลตอระดับยุทธศาสตรเวนแตชัยชนะทางยุทธการจะสามารถกําหนดความสมดุลทางยุทธศาสตรท่ีใหญกวาซ่งึ มกั จะสัมพันธกันเลก็ นอ ย นอกจากนี้ การปฏิวัติในกิจการทหารยังเกิดขึ้นในบริบทของการเมืองและยุทธศาสตรเสมอ และ บริบทน้ันก็คือทุกสิ่งทุกอยาง นิวซีแลนดจะไมตระหนักถึงการปฏิวัติในกิจการทหารในอนาคตที่มองเห็นไดน้ี เพราะสภาพแวดลอมทางยุทธศาสตรของนิวซีแลนดดีเกินไปที่จะผลักดัน และในบริบทที่กวางกวาของสงครามระหวาง 13Clausewitz, On War, หนา 75, 89. อนาคตตอไป

322มหาอํานาจดานอุตสาหกรรม สงครามระดับยุทธศาสตรเปนสิ่งชี้ขาดประการหนึ่งยุทธศาสตรที่มีชองโหวจะทําใหกองทัพที่เขมแข็งในการรบและเชี่ยวชาญท่ีสุดตองพายแพ “ความผิดพลาด ในระดับยุทธการและยุทธวิธีสามารถแกไขไดแตความผิดพลาดทางการเมืองและยุทธศาสตรจะคงอยูตลอดไป”13 14น่ันคือบทเรียนอันดับแรกและสําคัญแรกของโชครายของอเมริกาในเวียดนาม1415เกร็ดเล็กนอยที่โดงดังของแฮรรี่ ซัมเมอร (Harry Summers) กลาวถึงประเด็นดังกลาวอยางชัดเจน คือเมื่อ เม.ย.1973 (พ.ศ.2516) พันเอก 2 นาย มีสวนในการนําไปสูการปฏิบัติของขอตกลง สันติภาพกรุงปารีส (Paris peace accords) ซัมเมอรและคูเจรจาชาวเวียดนามเหนือผูหนึ่งสนทนาเก่ียวกับสงครามที่ท้ังสองฝายไดท ําการสูรบกนั ซมั เมอ รก ลาววา เวยี ดนามเหนือไมเ คยเอาชนะกองกําลังอเมริกาในสนามรบ ซ่ึงผูแทนเวียดนามเหนือโตวาคํากลาวดังกลาวอาจเปนจริง แตไมตรงจุดเพราะเวยี ดนามเหนอื ชนะสงครามนน้ั 1516 14Allan R. Millett and Williamson Murray, “Lessons of War,”The National Interest, Winter 1988/1989. 15สําหรับจุดออนพื้นฐานในสมมุติฐานทางยุทธศาสตรพ้ืนฐานที่รัฐบาลสหรัฐฯ เขาแทรกแซง ในเวยี ดนาม ดู Herbert R. McMaster, Dereliction of Duty:Lyndon Johnson, Robert McNamara, The Joint Chiefs of Staff, andthe Lies that led to Vietnam (New York, 1997). 16Harry G. Summers, Jr., On Strategy: The Vietnam War in Context(New York, 1982), หนา 21, 29 note 1 ความลมเหลวท่ีกลาวถึง ของกองกําลังเวียดนามเหนือ ในการเอาชนะหนวยตาง ๆ ของสหรัฐฯ ในสนามรบดังกลาวเปนหนึ่งในตํานานเลาขานเกาแกของสงครามหน่ึงท่ีไดสรางมากกวาการกระจายเรื่องจินตนาการ (สําหรับการวิเคราะหการพายแพของอเมริกาท่ีสําคัญดู Lt. Gen. Harold G. Moore (Ret.) and Joseph L. Galloway, WeWere Soldiers Once…and Young [New York]). เมอรเรยและนอ กซ

323 แมจะมีบทเรียนท่ีโชกเลือดที่ไดรับในเวียดนาม ธรรมชาติและลักษณะของความคิดทางยุทธศาสตรของสหรัฐฯ เมื่อประเทศน้ีกาวเขาสูศตวรรษท่ี 21สอใหเห็นวาความสอดคลอง (Coherence) และ ความเหมาะสมในการตัดสินใจทางยุทธศาสตรของอเมริกาในอนาคตยังเชื่อไมได1617 การไมสนใจประวัติศาสตรแมแตประวัติศาสตรของสหรัฐฯ เอง และวัฒนธรรมและภาษาของตางชาติมีอยูทั่วไปท้ังระดับนโยบายและประชาชนท่ัวไป ซ่ึงสิ่งน้ีเปนจุดออนท่ีนาตกใจในยุคที่อางวาเปนโลกาภิวัฒน และเปนอุปสรรคสําคัญตอการกําหนดวิสัยทัศนเชิงยุทธศาสตรท่ีมีความสอดคลอง1718 หรือการพัฒนาโอกาสเม่ือมีการลมสลายทางสติปญญาของระบบการศกึ ษาของสหรัฐฯ สว นใหญ กรอบแนวคิดยุทธศาสตรชาติพ้ืนฐานและเปนหน่ึงเดียวกันควรอยูในการกําหนดกรอบแนวคิดหลัก ดานโครงสราง, องคประกอบ, และการใชกองทัพตาง ๆในสหรัฐฯ ปจจุบันยังไมมีกรอบแนวคิดดังกลาว และนวัตกรรมของกองทัพตาง ๆของสหรัฐฯ ไมเพียงแคอยูในสุญญากาศยุทธศาสตร แตอยูในระดับ ยุทธการดวยทั้งน้ี กลุมนวัตกรรมท่ีอางวาเพื่อการมาถึงของ “การปฏิวัติในกิจการทหารของอเมริกา(American RMA)” ยังขาดความเช่ือมโยงโดยสิ้นเชิง หนวยงานสนับสนุน และผูท่ีชมชอบ แผนการจัดหา ที่สรางจากอักษรตัวหนาของคําท่ีผสมกัน (Acronym-studded procurement programs) ท่ีทําใหสับสนยากท่ีจะอธิบายวา เทคโนโลยีใหม ๆสัมพนั ธก บั วธิ ีการทบ่ี รู ณาการตอ ปญ หาเกาแกข อง “การบบี บงั คับขาศกึ ใหทําตาม 17ดู Williamson Murray, “The Emerging Strategic Environment: AHistorian’s Thoughts,” Strategic Review, Winter 1999, หนา 36-8. 18หนึ่งในสัญญาณท่ีมีความหวังในมุมมองที่สับสนของความคิดเชิงยุทธศาสตรของสหรัฐฯ คือ รายงานของ United States Commission on NationalSecurity/21st Century, New World Coming: American Security in the21st Century (Washington, DC, 1999). อนาคตตอไป

324เจตนาของเรา” อยา งไร โดยมักจะนึกเอาวา สหรัฐฯ มีความต้งั ใจ และการวางแผนยุทธศาสตรท สี่ อดคลอ งเพียงพอทจ่ี ะนําไปใช การขาดส่ิงดังกลาวเปนความทาทายท่ีชัดเจนตอสถานะของอเมริกาประกอบซึ่งดวยปญหาตาง ๆ ในการเปล่ียนแปลงเชิงระบบและนวัตกรรมท่ีเกิดจากสุญญากาศระดับยุทธศาสตร-ยุทธการและสติปญญานี้ กลุมนวัตกรรมที่สําคัญทั้งหมดระหวางชวงส้ินสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ถึงเร่ิมสงครามโลกคร้ังที่ 2ที่มีผลตอการปฏิวัติในกิจการทหาร ไดแก การรบภาคพื้นผสมเหลา, สงครามเรือบรรทุกเคร่ืองบิน (Carrier warfare), และการรบยกพลขึ้นบก ข้ึนอยูกับการปรากฏของภัยคุกคามท่ีชัดเจนตอการกําหนดกรอบนวัตกรรม นอกจากน้ี การปฏิวัติในกิจการทหารยังเกิดจากวิธีการแกปญหาตาง ๆ ท่ีคอย ๆ วิวัฒนาการไปและวิสัยทัศนที่เกิดจากการศึกษาความรูจากประสบการณในอดีตอยางละเอียดและฝงอยูในวัฒนธรรมองคกรตาง ๆ ที่บมเพาะความคิดท่ีสําคัญและการอภิปรายโตแ ยงอยางเปดเผย1819 ตัวอยางเชน เยอรมันตองมีศัตรูในโลกแหงความเปนจริงเชน กองทัพฝรั่งเศส,โปแลนด, และเช็ก เพื่อพัฒนาความสามารถตาง ๆ ที่ในท่ีสุดก็นําไปสูชัยชนะของตนในป 1939-40 (พ.ศ.2482-83) แตกรอบงาน ระดับยุทธการในการปฏิวัติสงครามสายฟาแลบ (Blitzkrieg) ที่พัฒนาข้ึนกลับพบวา มีความสําเร็จนอยกวาเมื่อเผชิญกับสหภาพโซเวียต โดยยุทธการบารบารอสซา (BARBAROSSA)ตองใชความสามารถทางการสงกําลังบํารุงและการขาวที่มากกวาท่ีตองใชในการรบกับเพื่อนบานท่ีอยูติดกันของเยอรมัน ระยะทางระหวางรัสเซีย ในยุโรปลดขีดความสามารถของกองทัพปรัสเซีย-เยอรมันลงมากกวาท่ีเคยพบมา ซ่ึงความทระนงในความเปนทหารอาชีพและอุดมการณดานเช้ือชาติของนาซีทําใหเยอรมันประเมินความสามารถ 19ดู Williamson Murray, “Innovation: Past and Future,” ในMurray and Millet, Military Innovation in the Interwar Period, หนา 311. เมอรเ รยและนอ กซ

325ของโซเวยี ตตา่ํ ไมเพียงแคระยะเริม่ แรกเทาน้นั แตต ลอดทั้งการรบนัน้ 1920 ในการเผชิญกับความทาทายระดับยุทธศาสตรและระดับยุทธการของสงครามกับญ่ีปุน กองทัพเรือและหนวยนาวิกโยธินสหรัฐฯ ไดสรางนวัตกรรมท่ีนาประทับใจยิ่งกวาของเยอรมัน กําลังทั้งสองเหลาน้ีไมเพียงแคพัฒนาขีดความสามารถทางยทุ ธการและทางยทุ ธวธิ ที ี่ยอดเยย่ี ม แตการวาดภาพการรบ, การทดลอง, และการฝกของกําลังทั้งสองเหลาน้ีทําใหพบปญหาทางการสงกําลังบํารุงและการขาวเพ่ิมข้ึนวาสงครามในแปซิฟคนาจะมีข้ึน กําลังทั้งสองเหลานี้อาจไมสามารถแกปญหาเหลานั้นสวนใหญไดกอนเริ่มสงคราม โดยเฉพาะในแงของงบประมาณท่ีจํากัดที่เผชิญจนกระท่ังป 1940 (พ.ศ.2483) แตการคนพบท่ีกาวหนาในประเด็นตาง ๆ ดังกลาวไดเรงกระบวนการปรับตัวใหเร็วขน้ึ อยางมากทา มกลางความขดั แยง ในตนเอง2021 น า วิ ก โ ย ธิ น เ ผ ชิ ญ อุ ป ส ร ร ค ท่ี ดู เ ห มื อ น จ ะ ไ ม ส า ม า ร ถ เ อ า ช น ะ ไ ดหายนะของอังกฤษท่ีกัลลิโปลี่ (Gallipoli) ในป 1915 (พ.ศ.2458) ทําใหผูเช่ียวชาญดานการทหารและทหารอาชีพ รวมทั้งสวนใหญในสหรัฐฯ ตัดการรบยกพลขึ้นบกออกโดยทั่วไปและคัดคานการยกพลข้ึนบกเปนการเฉพาะวาไมสามารถปฏิบัติไดแตเมื่อการวาดภาพการรบที่วิทยาลัยการทัพเรือทําใหรูวา ความตองการการสงกําลังบํารุง 20ดู Williamson Murrayand Allan R. Millet, A War To Be Won,Fighting the Second World War (Cambridge, MA, 2000), Chapter 6. 21พลเรอื เอก เชสเตอร นิมิทซ (Chester Nimitz) ผูบญั ชาการกองกาํ ลงั ทางเรือสหรัฐฯจากผลพวงของ เพิรลฮาเบอรไปจนถึงอาวโตเกียว (Tokyo Bay) ไดกลาววา“ขอมอบความดีใหแกวิทยาลัยการทัพเรือสําหรับชัยชนะดังกลาว (ที่) ขาพเจาไดรับในระหวางสงครามนั้น” (W. B. Potter, Nimitz [Annapolis, MD, 1976], หนา 136)อยางไรก็ตาม ยังมีส่ิงท่ีไมสามารถประเมินคาได เชน ประเภทและระยะเวลาของการทงิ้ ระเบดิ โจมตที ต่ี องการเพ่ือทําลายแนวตั้งรับตามชายหาดของญี่ปุน ใหเพียงพอที่กําลังเขาตีจะไมตองพบกับ การสูญเสียขนาดหนักจนไมสามารถปฏิบัติการตอไปไดท้ังนี้ การรบทีเ่ กาะทาราวา (Tarawa) จะใหขอมลู ที่จาํ เปน ถา เหน็ วา เปนบทเรยี นราคาแพง. อนาคตตอ ไป

326อยางมากของการรุกในแปซิฟคทําใหตองยึดฐานปฏิบัติการหนาในเกาะตาง ๆตามลําดับที่มุงหนาสูญี่ปุน ซึ่งสหรัฐฯ ไมสามารถสงกําลังของตนขามระยะทางทีส่ ดุ คณานบั ของแปซิฟค กลางไดไมว าดว ยหนทางอื่นใด ดวยความเส่ียงในการดํารงอยูของหนวย นาวิกโยธินปฏิเสธที่จะยอมรับคําตัดสินเชนเดียวกับท่ีกัลลิโปล่ี นาวิกโยธินตัดสินใจที่จะเรียนรูจากความผิดพลาดของอังกฤษ ซ่ึงการแกและเอาชนะปญหาดังกลาวสําคัญตอกองทัพเรือในการพัฒนาความสามารถท่ีจะยกพลข้ึนบกบนเกาะท่ีเกิดจากหินปะการังที่มีการตั้งรับท่ีหนักหนวง เร่ิมต้ังแตป 1930 (พ.ศ.2473) ดวยลําดับการซอมรบตาง ๆ ที่ยาวนานของกองเรือและ การทดสอบที่มุงท่ีจะหาวิธีการและแกปญหาท่ีปฏิบัติไดจริง2122นอกจากน้ี นาวิกโยธินยังประสบความสําเร็จในการสรางวัฒนธรรม ในการตรวจสอบตามความเปนจริงของการซอมรบและการทดสอบตาง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนซ่ึงผลของการทดสอบและการซอมรบของกองเรือไดสงผลโดยตรงไปสูการฝกและการเตรยี มการสาํ หรับสงคราม องคกรทหารที่สรางนวัตกรรมโดยไมมีศัตรูที่ชัดเจนในใจจะมีชวงเวลาท่ียุงยากกวา อยางนอยที่สุด ตลอดกลางป 1930 (พ.ศ.2473) กองทัพอากาศอังกฤษ (RAF)และกองพลนอยบิน กองทัพบกสหรัฐฯ (U.S. Army Air Corps) ไดพัฒนาหลักนิยมและกรอบแนวคิดของตนตอศัตรูท่ัว ๆ ไป ทําใหไดแนวคิดสวนใหญเก่ียวกับศักยภาพและเทคนิคตาง ๆ ของการโจมตีท้ิงระเบิดทางยุทธศาสตรทั้งทฤษฎีเชิงกลศาสตร(Mechanistic) และการมองในแงดีเกินไป กองทัพอากาศอังกฤษปฏิเสธที่จะศึกษาสงครามครั้งสุดทาย ผูนําที่สําคัญของกองทัพอากาศอังกฤษเช่ือวาเทคโนโลยีทําใหประสบการณกอนหนาน้ีท้ังหมดลาสมัย และบุคคลเหลาน้ีไดกําหนดกรอบ 22ดู Allan R. Millett, “Assault From the Sea: The Developmentof Amphibious Warfare Between the Wars – The British, American,and Japanese Experiences.” ใน Murray and Millett, MilitaryInnovation in the Interwar Period, Chapter 2. เมอรเรยและนอ กซ

327โครงสรางกาํ ลงั , หลักนยิ ม, และแนวคิดในการใชกาํ ลังของตนตามแสงสวางของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ยังไมเกิดข้ึน ซึ่งแนวทางดังกลาวมีผลที่ทําใหเกิดหายนะตอการโจมตีท้ิงระเบิดทางยุทธศาสตรของอังกฤษระหวางสงครามโลกครงั้ ที่ 2 สวนใหญ2223 อาจเปนไปไดที่เหตุการณของสงครามโลกครั้งท่ี 1 (Great War) ท่ีเกี่ยวกับการโจมตีทิ้งระเบดิ ทางยทุ ธศาสตรย ังมีความคลุมเครือ แตความขัดแยงในป 1914-18(พ.ศ.2457-61) ก็ไดใหบทเรียนเกี่ยวกับกําลังทางอากาศท่ีชัดเจนอยางย่ิงสองประการประการแรก การปฏิบัติการทางอากาศท้ังหมดตองการความเปนเจาอากาศถา ไมม ีกําลังท่ีเขาตีจะพบกับการสูญเสียท่ีจะไมสามารถดํารงอยูได ประการที่สองการคนหาและการโจมตีเปาหมายภายใตสภาพอ่ืน ๆ ที่ไมใชในทัศนวิสัยท่ีมีแสงสวางเต็มท่ีแบบในเวลากลางวัน เปนการทาทายท่ีควบคุมไดยาก ดังที่นักบินทหารเรอื อังกฤษผูหนึง่ กลา วไววา ประสบการณไดแสดงวา เปนการงายมากสําหรับฝูงบิน 5 ฝูงบิน ที่จะท้ิงระเบิดโจมตีตอเปาหมายเฉพาะหนึ่ง ๆ แตจะมีเฉพาะหนึ่งในหาของฝูงบินเทานั้นท่ีจะถึงเปาหมายดังกลาว สวนอีกส่ีฝูงบินที่เช่ือวาตนไดโจมตีเชนกัน ไดทิ้งระเบิดโจมตีเปาหมายท่ีตา งไปที่นาเบ่ือนอ ยกวา ถาเพยี งแคคลายกบั เปา หมายท่ีตนตองโจมตี2324 บทเรียนดังกลาวไดหายไปเกือบจะท้ังหมดจากความคิดของสถาบันกองทพั อากาศองั กฤษ (RAF) หลงั ป 1918 (พ.ศ.2461) ผลของความไมต ัง้ ใจท่ีจะเรียนรูจากอดีตน้ีก็คือกองทัพอากาศอังกฤษเขาสงคราม ในป 1939-45 (พ.ศ.2482-88)23สําหรับการตรวจสอบวาเยอรมันเกือบท่ีจะลมเหลวเพียงใด ดู Chapter9 ของหนังสือนี้ และ Robert A. Doughty, The Breaking Point: Sedan andthe Fall of France, 1940 (Hamden, CT, 1990).24อางโดย นาวาอากาศเอก (Group captain) R. A. Mason,“The British Dimension,” ใน Alfred F. Hurley and Robert C. Erhard,eds., Air Power and Warfare (Washington, DC, 1979), หนา 32.อนาคตตอ ไป

328ดวยความเชื่อท่ีไรเหตุผลถึงความสามารถอยูรอดไดของเคร่ืองบินโจมตีท้ิงระเบิดนอกจากน้ี บรรดาผูนําและผูวางแผนของกองทัพอากาศอังกฤษยังเช่ือวาการระบุ,การคนหา, และการทําลายเปาหมาย เปนความยุงยากที่สามารถผานพนไปไดแมว า ประสบการณทไี่ ดร บั สว นมาก ในการฝกซอ มตา ง ๆ จะแสดงถึงภยั คกุ คามทชี่ ดั เจนวัฒนธรรมองคกรของกองทัพอากาศอังกฤษสวนใหญ จะไมเปดรับตอพยานหลักฐานจนกระท่ังขอมูลจากภายนอกโดยรายงานของบัตต (Butt Report) เก่ียวกับความแมนยําของการทิ้งระเบิดโจมตีของเดือน ส.ค.1941 (พ.ศ.2484) ทําใหผูนําท่ีด้ือร้ันของกองทัพรูวา ไดสูญเสียเวลาตลอดทั้งปและชีวิตของพลประจําเครื่องบินอยางมากมายเหลอื คณานบั ทหารอากาศอเมริกาก็ไมไดเปดใจกวางไปกวากัน บิลล่ี มิทเชลล (Billy Mitchell)แมจะโตแยงอยางแข็งกราว แตอยางนอยก็ตระหนักถึงบทเรียนสําคัญของการรบทางอากาศในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61) วา ความเปนเจาอากาศเปนส่ิงจําเปน(Sine qua non - ซีเนคัวนอน) ของกําลังอํานาจทางอากาศ แตตนป 1930 (พ.ศ.2473)ฝายเสนาธิการของโรงเรียนยุทธวิธีกองทัพนอยอากาศยาน (Air Corps Tactical School)ท่ีมอนตกอเมอร่ี รัฐอลาบามา ไดกาวไกลไปย่ิงกวาการมองตามความเปนจริงของมิทเชลลอยางมาก และ ดวนเสนอโดยทันทีวาการจัดรูปขบวนท่ีดีของเคร่ืองบินโจมตีท้ิงระเบิดที่มีการปองกันตัวเอง สามารถบินลึกเขาไปในหวงอากาศของขาศึกเพ่ือโจมตีเปาหมายทางเศรษฐกิจที่สําคัญโดยไมมีเครื่องบินตอสูคุมกันระยะปฏบิ ัติการไกลปองกนั ดวยการสูญเสยี ที่สามารถยอมรบั ได นิสัยในการมองขามปจจุบันรวมท้ังอดีต และการพิจารณาหลักฐาน(Evidence) ดวยความกังขาท่ีตกทอดไปสูสงครามโลกครั้งที่ 2 ท้ังในกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) และกําลังทางอากาศของกองทัพบกสหรัฐฯ กองทัพอากาศอังกฤษเช่ือวาเคร่ืองบินโจมตีทิ้งระเบิด ซ่ึงตามคําที่จดจํามาอยางยาวนาน แตผิดพลาดโดยส้ินเชิงของสแตนลี่ย บอลดวิน (Stanley Baldwin) “จะสามารถผานพนไปไดตลอดเสมอ”นําไปสูความลมเหลวท่นี าตกตะลึงที่จะตระหนักถึงศักยภาพเต็มท่ีของการโจมตีทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตรจนกระทั่งสายไปในสงครามน้ัน ท้ังกองทัพอังกฤษและอเมริกา เมอรเรยแ ละนอ กซ

329ไมสนใจบทเรียนในการปองกันท่ีไดผลย่ิงของสงครามของอังกฤษที่ชวยใหไดภาพการมองของหลักนิยมกอนสงครามของตน2425 การปฏิเสธที่จะยอมรับความคิดที่แยงกับวิสยั ทัศนท ่ยี ึดม่ันยังทําใหห วั หนา ฝา ยเสนาธิการกองทัพอากาศ (Chief of the air staff)เซอร ชารลส พอรทอล (Charles Portal) ไดใหขอมูลแกเชอรชิลในป 1941(พ.ศ.2484) วาเคร่ืองบินตอสูคุมกันระยะปฏิบัติการไกลที่เปนเคร่ืองมือท่ีชัดเจนที่จะบรรลุความเปนเจาอากาศที่ตองการสําหรับการทิ้งระเบิดโจมตีทางยุทธศาสตรที่สําเร็จผลไมสามารถดําเนินการไดทางเทคโนโลยี ซ่ึงนายกรัฐมนตรีเชอรชิลใหความเห็นตอคํากลาวของพอรทอลวา “ไดปดกั้นประตูหลายบาน (Closedmany doors)”2526 จนกระทั่งส้ินป 1943 (พ.ศ.2486) กองทัพอากาศท้ังสองไดปฏิบัติตามแนวทางทางยทุ ธการและยุทธวิธีท่ีนําไปสูหายนะท่ีหลีกเลี่ยงไมไดโดยสิ้นเชิงซ้ํา ๆ กันไดแกท่ี ชไวนฟอรท (Schweinfurt), เบอรลิน, นิวเรมเบิรก (Nuremburg) ซึ่งอัตราการสูญเสียตาง ๆ ที่ไมมีองคกรทหารใดสามารถแบกรับไดเปนเวลายาวนานจนกระท่ังการปรากฏข้ึนโดยไมไดเจตนาของเคร่ืองบินขับไลคุมกันพี-51 มัสแตง(P-51 Mustang) การปฏิบัติการในเวลากลางวันของสหรัฐฯ จึงสามารถทําลายกําลังเคร่ืองบินขับไลของกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) และเปดทาง 25สําหรับการปฏิเสธโดยสิ้นเชิงของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) เก่ียวกับบทเรียนตาง ๆ ของความรู ทางทหารท่ีไดจากประสบการณในอดีต ดู PRO AIR20/40, Air Staff Memorandum No. 11A, March 1924. 26Sir Charles Webster and Noble Frankland, The Strategic AirOffensive Against Germany, vol. 1, Preparation (London, 1962), หนา 177พลอากาศโท เซอร ฮิ๊วจ ดาวด้ิง (Air Marshal Sir Hugh Dowding) ไดเสนอแนะตอรัฐมนตรีทบวงทหารอากาศเม่ือ มี.ค.1940 (พ.ศ.2483) วา ในไมชากองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) จะตองการเคร่ืองบินตอสูคุมกันระยะปฏิบัติการไกล เฉพาะเพียงเพ่อื สํารองไวเ ทา นนั้ . อนาคตตอ ไป

330สูการโจมตีท่ีเปนระบบตอโรงงานอุตสาหกรรมและการขนสงของเยอรมันโดยกองทพั อากาศองั กฤษ (RAF) และหนวยบนิ ท่ี 8 ของสหรฐั ฯ (Eighth U.S. Air Force)สุดทายการโจมตีท้ิงระเบิดผสม (Combined Bomber Offensive) ไดแสดงบทบาทสําคัญในการเอาชนะ สงครามโลกครั้งท่ี 2 ซ่ึงการหลงในสมมุติฐานทางเทคโนโลยีของผูนํากําลังทางอากาศสหรัฐฯ และอังกฤษท่ีขัดขวางทั้งสภาพความเปนจริงทางยุทธการ-ยุทธวิธีในปจจุบันและความรูที่ไดจากประสบการณในอดีต ไดเพ่ิมราคาแหงชยั ชนะอยา งเหลอื คณานบั ของชีวติ ตาง ๆ และเครอ่ื งบนิ 2627 โชคไมดีที่กองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) ทําไดดีกวา27 28โดยไดพัฒนาหลักนิยมและกรอบแนวคิดในการรบของตนภายในเปาหมายทางยุทธศาสตรและกรอบการปฏิบัติการทางยุทธการงาย ๆ ที่ใชรวมกันในกองทัพเยอรมันและมีเปาหมายในการเอาชนะขาศึกของเยอรมันในยุโรปกลาง ผลก็คือ เยอรมันเตรียมการในการสนับสนุนโดยทันทีและโดยตรงตอการปฏิบัติการทางทหารท้ังหมดไดด กี วา กาํ ลังทางอากาศขององั กฤษและสหรฐั ฯ2829 ดังนั้น อดีตจึงใหค าํ แนะนําวา 27พลอากาศตรี ดี. ซี. ที. เบนเนทท (Air Vice Marshal D. C. T. Bennett)ผูบัญชาการหนวย ผูนําอากาศยาน หนวยบัญชาการโจมตีท้ิงระเบิด (BomberCommand’s Pathfinder Force) ซ่ึงปฏิบัติการบินเปนประจํา ในการปฏิบัติการเชิงรุก ไดใหขอเสนอแนะหลังสงครามดังกลาววา ถาตนไดเปนผูบัญชาการในสงครามคร้ังตอไป จะใหพลอากาศตรี (Air Vice Marshal) ทั้งหมดทําการบินในการปฏิบัติการตาง ๆ สําหรับทุก ๆ คนที่ถูกสังหาร ซ่ึงกองทัพอากาศอังกฤษ(RAF) จะชวยชีวิตพลประจําเคร่ืองบินได 200 นาย (การสัมภาษณดวยวาจากับD. C. T. Bennett, RAF Staff College, Bracnell). 28ดู Murray, Luftwaffe, Chapter 1; idem, “Strategic Bombing,”ใน Military Innovation in the Interwar Period, Chapter 3. 29ในมุมมองของคํากลาวของนักประวัติศาสตรหลังสงครามวาเยอรมันไมสนใจในการโจมตีทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร กลาวกันวา จริง ๆ แลว กองทัพอากาศเยอรมัน เมอรเ รยและนอ กซ

331การพัฒนาทางเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว โดยไมมีทิศทางจากบริบททางยุทธศาสตรที่ชัดเจน สามารถนําไปสูหนทางแหงอันตรายไดโดยงาย ท้ังโดยไมสนใจตอการตอบโตที่เปนไปไดของขาศึก หรืออาจอันตรายย่ิงกวา คือ เขาสูทางตันของความซับซอนทางเทคโนโลยีท่ีไมเก่ียวของกับสงครามที่กําลังทําการรบอยูจริงซึ่งไดแสดงใหเหน็ ภาพ ดวยการดนิ้ รนของกําลงั ตาง ๆ ของสหรฐั ฯ ในเวียดนาม เชนเดียวกับการท่ีตองมีขาศึกในโลกแหงความเปนจริง แมวาตามความเปนจริงแลว ชื่อของการปฏิวัติในกิจการทหารจะประกอบดวยการเปล่ียนแปลงในยามปกติแบบคอยเปนคอยไปเปนหลัก ผานองคกรทหารตาง ๆ ที่ไดเปลี่ยนแปลงภาพกรอบแนวคิดของสงครามในอนาคตเพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ผลการปรับปรุงกรอบแนวคิดและหลักนิยมมีผลในการเปล่ียนแปลงอยางเปนระบบที่คอย ๆ เพิ่มข้ึนตอวิธีทําการรบของหนวยทหารตาง ๆ ทั้งน้ีผลกระทบเต็มที่ตอการเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไปตลอด 20 ปอาจไมป รากฏชัดแมภายในองคกรทหาร เฉพาะเพยี งการตรวจสอบการสงครามสงครามหน่ึง ๆ ที่กระทําตอขาศึกยอนหลังไปอยางสําคัญจะแสดงวา การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) หนึ่ง ๆ ไดเกิดขึ้น และผลของการปฏิวัติน้ันมักจะเปน สง่ิ สําคญั ทส่ี ดุ ตอชัยชนะ2930(Luftwaffe) ไดเตรียมการในตอนเริ่มตน เพื่อปฏิบัติภารกิจทางยุทธศาสตรไดดีกวากําลังโจมตีท้ิงระเบิดของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) และกองทัพอากาศสหรัฐฯ (USAAF) ซ่ึงอยางนอยที่สุดเยอรมันก็เขาใจวาการยุทธใด ๆ ดังกลาวตองพบกับอุปสรรคสองประการ คือ การโจมตีท้ิงระเบิดที่แมนยํา และการครองความเปนเจาอากาศ และไดดําเนินขั้นตอนดังกลาวเพื่อเอาชนะอุปสรรคดังกลาว(Murray, “Strategic Bombing”). 30บอยคร้ังที่ชัยชนะท่ีดูเหมือนจะเด็ดขาดท่ีสุดจะอยูที่การตรวจสอบโดยใกลชิดมากข้ึนยังพิสูจนวา ซึ่งเปนไปตามคําพูดที่มีช่ือเสียงของเวลลิงตันวา“มันเปนเร่ืองที่เฉียดฉิวมาก (Damn near-run thing)” ตามท่ีไดใหความเห็นไปแลว อนาคตตอ ไป

332 ส่ิงสําคัญนอกจากน้ีในนวัตกรรมในชวงระหวางส้ินสงครามโลกคร้ังที่ 1กับเริ่มสงครามโลกครั้งท่ี 2 ท่ีสําเร็จผล อยูท่ีลักษณะของวิสัยทัศนท่ีขับเคล่ือนผูสรางนวัตกรรมองคกรทางทหารที่ประสบชัยชนะมากที่สุดหลีกเล่ียงการกระโจนเขาสูอนาคตอยางผลีผลาม นวัตกรรมตาง ๆ ขององคกรทางทหารเหลานั้นยังคงเช่ือมโยงกับประสบการณในอดีต, เกิดขึ้นจากการทดลองที่มีความซับซอนของกรอบแนวคิดและการประเมินอยางจริงจัง, และข้ึนอยูกับความสามารถที่จะเรียนรูจากทั้งชัยชนะและความพายแพ ผูบัญชาการกองทัพเยอรมันในชวงป 1871-1945(พ.ศ.2414-88)(Reichswehr) พลเอก ฮานส วอน ซค๊ี ท (Hans von Seeckt) เชอื่ วาการเคล่ือนที่เปนหัวใจของการปฏิบัติการตาง ๆ และมองเคร่ืองยนต สันดาปภายในเปนเครื่องมือเด็ดขาดที่มีศักยภาพในการสรางความสามารถในการเคล่ือนท่ีในสนามรบ โดยซี๊คทไดบันทึกสั้น ๆ หลังการทดลอง จัดใหมียานยนตครั้งแรกของกองทัพวา ขณะที่เขา “เห็นดวยอยางเต็มที่กับ...แนวคิด ในการปฏิบัติ และความเปนผูนํา, ...ยังมีอีกมากที่ยังไมชัดเจนเก่ียวกับการใชทางยุทธวิธีเฉพาะของยานยนตตาง ๆ” ดังน้ัน จึงไดสั่งใหทํารายงานหลังการปฏิบัติ โดยทันทีตอบรรดาฝายเสนาธิการและผูบังคับบัญชาตาง ๆ ของกองทัพ “เพื่อเปนประเด็น สําหรับบรรยายและศกึ ษา”3031 ซ๊คี ทไมไดสนใจในการกาํ หนดวิสยั ทศั นของขดี ความสามารถในอนาคตท่ียาวนาน เขาปฏิเสธท่ีจะดวนสรุปกอนถึงเวลาอันควรซึ่งเนนถึงความสําคัญของการแกปญหาท่ีมีวิวัฒนาการของปญหาเรงดวนเฉพาะในการปฏิวัติในกิจการทหาร เชน กัน วิลเล่ียม มอฟเฟทท (William Moffett) มีวิสัยทัศนประการหนึ่งคือ เคร่ืองบินกองทัพเรือ มีความสามารถที่สําคัญตออํานาจกําลังรบของกองทัพเรือนอกเหนือจากบทบาทเดิม ๆ ในการลาดตระเวน และการตรวจการณการยิงปนใหญเกี่ยวกับชยั ชนะของเยอรมนั เมื่อป 1940 (พ.ศ.2483). 31Reichswehrministerium,Chef der Heeresleitung, “Harzübung, 8.1.22,”National Archives and Records Agency, microcopy T-79/95/000622. เมอรเรยแ ละนอ กซ

333สําหรับกองเรือรบ แตกระบวนการของนวัตกรรมเรือบรรทุกเครื่องบินในกองทัพเรือสหรัฐฯ ยังคงเช่ือมโยงอยางแนบแนนกับการแกปญหาท่ีปฏิบัติไดจริงการวาดภาพการรบ (War game) ที่วิทยาลัยการทัพเรือชวี้ า จังหวะของกาํ ลังทางอากาศไมใชความตอเนื่อง จะเสริมความสามารถในการรบของเรือบรรทุกเคร่ืองบินไดอยางย่ิง3132 แตก็เปนการแกปญหาท่ีปฏิบัติไดจริงของเคร่ืองบินที่ปฏิบัติการในทะเลที่ทําใหเ กดิ ความชัดเจนของความเปน ไปไดของเครื่องบินประจาํ เรือบรรทกุ เคร่อื งบิน คือ: สําหรับนักบินและพลประจําเรือของเรือบรรทุกเคร่ืองบินแลงลีย (Langley)(เรือบรรทุกเครื่องบินลําแรกของสหรัฐฯ) ป 1926 (พ.ศ.2469) เปนปหนึ่งที่วุนวาย....ตอนกลางป (เรือบรรทุกเครื่องบินดังกลาว) มีที่ก้ันเครื่องบินซึ่งเมื่อยกข้ึนจะปองกันเครื่องบินที่จอดไวดานหนาจากเครื่องบินใด ๆ ที่ลงจอดที่ขอเกี่ยวทายเครื่องอาจพลาดจากอุปกรณจับที่วางขึงท่ีทายเรือที่ไกลออกไป จึงเปนภาระตอที่จอดบนดาดฟา ซึ่งเปนปจจัยสําคัญหน่ึงในการเพ่ิมความสามารถในการบรรทุกและประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติการของเรอื บรรทุกเครื่องบินตาง ๆ ... เดือน ส.ค.1926(พ.ศ.2469) พลประจําเรือบรรทุกเคร่ืองบินแลงลีย (Langley) ก็สามารถปลอ ยเครือ่ งบินขึ้นไดทุก 15 วนิ าที และนําเครื่องบินเหลา นีล้ งไดท กุ ๆ 90 วินาที3233 ดังนั้น บรรดาผูสรางนวัตกรรมดานการบินในกองทัพเรือสหรัฐฯจึงใชเวลาอยางมากในป 1920 (พ.ศ.2463) และ 1930 (พ.ศ.2473) ในการพัฒนาความสามารถท่ีจะปลอย, นําเคร่ืองลง, และรักษาเครื่องบินจํานวนมากบนดาดฟาเรือบรรทุกเครื่องบนิ จนสิ้นป 1930 (พ.ศ.2473) เรือบรรทุกเครื่องบินสหรัฐฯจึงสามารถบรรทุกและปลอยเคร่ืองบินไดมากกวาท่ีกองทัพเรืออังกฤษหรือ 32Thomas C. Hone, Norman Friedman, and Mark D. Mandeles,American and British Aircraft Carrier Development, 1919-1941(Annapolis, MD, 1999), หนา 34. 33เรื่องเดยี วกนั , หนา 42. อนาคตตอ ไป

334ญีป่ ุนจะสามารถคิดได3334 วิสัยทัศนที่แปรเปล่ียนของทหารอากาศของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF)และกองทพั นอ ยอากาศยาน กองทัพบกสหรัฐฯ ตรงกันขามอยางยิ่งกับการคาดการณของผูสรางนวัตกรรมของกองทัพ จักรวรรดิ (Reichsheer), กองทัพเรือสหรัฐฯ,หรือนาวิกโยธินสหรัฐฯ ดวยขอยกเวนท่ีสําคัญยิ่งประการหน่ึง การจัดต้ังหนวยบัญชาการเครื่องบินขับไล (Fighter Command) โดย เซอร ฮิ๊วจ ดาวดิ้ง(Hugh Dowding) เมื่อปลายป 1930 (พ.ศ.2473) โดดเดนอยางชัดเจนเนื่องจากตรงกบั การปฏบิ ัติของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) นอกจากนีย้ ังเปน ตวั อยางที่ดีของการปฏิวัติในกิจการทหารทด่ี าํ เนินการในชวงระยะเวลาส้ัน ๆ3435 ความสําเร็จของดาวดิ้งสําคัญตอการปองกันของสหราชอาณาจักรเม่ือป 1940 (พ.ศ.2483)โดยแทบจะข้ึนอยูกับการสนับสนุนท่ีเขาไดรับจากภายนอกกระทรวงการบิน(Air ministry) และฝายเสนาธิการ ดานการบิน (Air staff) และอันตรายของมันท่ีเนนถึงขอบเขตท่ีการปฏิวัติในกิจการทหารจะข้ึนอยูกับสถานการณตาง ๆดาวด้ิงเองโชคดีท่ีรอดชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ท้ังในฐานะสวนตัว และในฐานะนายทหารสัญญาบัตรในกําลังทางอากาศ ซึ่ง เซอร ฮิ๊วจ เทรนชารด(Hugh Trenchard) ไดสงตัวเขากลับบาน จากแนวรบดานตะวันตกในฤดูรอนป 34ดู Watts and Murray, “Military Innovation in Peacetime,” หนา400-04; รวมทั้ง David C. Evans and Mark R. Peattie, Kaigun: Strategy,Tactics, and Technology in the Imperial Japanese Navy 1887-1941(Annapolis, MD, 1997), หนา 323. 35ดู Alan Beyerchen, “From Radio to Radar: Interwar MilitaryAdaptation to Technological Change in Germany, the UnitedKingdom, and the United States,” ใน Murray and Millett, eds.,Military Innovation in the Interwar Period. เมอรเรยแ ละนอ กซ

3351916 (พ.ศ.2459)3536 แตชีวิตรับราชการของเขาก็ฟนคืนขึ้น และตนป 1930(พ.ศ.2473) เขาไดเปนหัวหนาฝายวิจัยและพัฒนา (Chief of research anddevelopment) ของกองทัพอากาศอังกฤษ ซึ่งในตําแหนงนี้เขาไดกํากับดูแลคุณสมบัตเิ ฉพาะของเครื่องบินขับไลตาง ๆ ที่ตอมา เปนเครื่องสพิทไฟร (Spitfire)และเฮอรริเคน (Hurricane) และไดสงเสริมการวิจัยที่นําไปสูการพัฒนาเรดารท่ีมีประสิทธิผล จากน้ันเขาก็ไดเปนผูบัญชาการหนวยบัญชาการเคร่ืองบินขับไล(Fighter command) ปลายป 1930 (พ.ศ.2473) หลังจากพลาดตําแหนงหัวหนาฝายเสนาธิการ ทหารอากาศ (Chief of air staff) คนตอไปแกเซอร ซีรี่ลนิววัลล (Cyril Newall) ที่หนวยบัญชาการเครื่องบินขับไล ดาวดิ้งไดใชประสบการณที่สะสมตั้งแตป 1937 (พ.ศ.2480) เปนตนไป ในการสรางระบบปองกันภัยทางอากาศของอังกฤษในป 1914-18 (พ.ศ.2457-61)3637 ทําใหเกิดระบบสมบูรณสอดคลองกัน คือ เคร่ืองบินขับไล ที่ทันสมัย, เรดาร, การส่ือสารทางวิทยุดวยเสียงแบบสองทาง, โครงสรางการบังคับบัญชาที่สามารถตัดสินใจและปฏิบัติการทางยุทธการ และยุทธวิธีดวยความออนตัว และความเร็ว ท่ีไมไดคาดไวลวงหนา, และโครงสรางพื้นฐานทางการสงกําลังบํารุง และการฝกพลประจํา 36ดาวดิ้ง (Dowding) ไดรองขอตอเทรนชารด (Trenchard) ใหถอนกองบินของตนจากการรบเนื่องจากสูญเสียอยางหนัก ซ่ึงการรองขอดังกลาว โดยปกติจะเปนการปดฉากชีวิตรับราชการของผูบังคับหนวยท่ีมีปญหา แตในกรณีของดาวด้ิงไมไ ดเ ปน ไปตามนนั้ . 37สาเหตุสําคัญของความลมเหลวของเยอรมันในการรบกับอังกฤษ (Battleof Britain) อยูที่ การท่ีกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) ไมสามารถตระหนักวาอังกฤษไดรวมเอาเรดารเขาเปนระบบปองกันภัยทางอากาศท่ีมีประสิทธิผลที่ควบคุมการดําเนินการรบดังกลาว ดังน้ัน เยอรมันจึงหยุดการโจมตีตั้งแตตนตอสถานีเรดารตาง ๆ เน่ืองจากไมเขาใจบทบาททางการรบที่สําคัญของเรดาร(ท่ีตนเองกม็ )ี . อนาคตตอ ไป

336ท่ีสามารถอยูรอดไดจากการปฏิบัติการที่ดีที่สุดของกองทัพอากาศเยอรมัน(Luftwaffe) ซ่ึงการทุมเทของดาวด้ิงไมไดข้ึนอยูกับเทคโนโลยีเพียงอยางเดียวแตรวมถงึ กรอบแนวคดิ โดยรวมท่ีเปน ระบบในการใชเทคโนโลยี สําหรับปจจัยอ่ืน ๆ ที่มีผลตอความสําเร็จของการปฏิวัติในกิจการทหารในชวงระหวางส้ินสงครามโลกครั้งที่ 1 กับเริ่มสงครามโลกครั้งท่ี 2 ที่สําคัญที่สุดคือ วัฒนธรรมทหารและการศึกษาทางทหารเยอรมันใหการศึกษา แกนายทหารสัญญาบัตรของตนอยางจริงจัง การปฏิรูปของซี๊คท (Seeckt) หลังป 1919 (พ.ศ.2462)ไดกําหนดคุณคา (Value) ของฝายเสนาธิการของปรัสเซียวา เปนหัวใจของกองทัพเยอรมันใหม3738 ดังนั้น นายทหารสัญญาบัตรท้ังหมดของกองทัพจักรวรรดิ(Reichsheer) จึงเขารับการศึกษาทางทหารอยางจริงจังแบบท่ีไมเคยมีมากอนในกองทัพแหงการเรียนรูที่พอสมควรอยูแลวของเยอรมันกอนป 1914(พ.ศ.2457) ซึ่งแมแตเออรว่ิน รอมเมล (Erwin Rommel) ทหารตนแบบของ“ความเปนคนเทาติดดิน (Muddy-boots)” ของกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน(Imperial German Army), Reichsheer (กองทัพจักรวรรดิ), และ Wehrmacht(กองทัพเยอรมันกอนและระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2) ก็ไดเขียนหนังสือรวมทัง้ อานดวย3839 หนวยทหารอ่ืน ๆ ในชวงระหวางส้ินสงครามโลกคร้ังที่ 1 กับเร่ิมสงครามโลก ครั้งที่ 2 ท่ีสรางสรรคนวัตกรรมไดทําการศึกษาเพ่ือความเปนทหารอาชีพอยางจริงจังเทา ๆ กัน วิทยาลัยการทัพเรือไดตรวจสอบความเปนไปไดของ 38สําหรับการปฏิรูปของ Seeckt ดู James S. Corum, The Roots ofBlitzkrieg: Hans von Seeckt and German Military Reform (Lawrence,KS, 1992). 39ดูชีวประวัติในสวนของเรื่องนี้โดย David Fraser, Knight’s Cross: ALife of Field MarshalErwin Rommel (London, 1993). เมอรเรยแ ละนอ กซ

337พลงั อาํ นาจทางอากาศจากทะเลกอ นทกี่ องทัพเรือสหรัฐฯ จะมีเรือบรรทุกเคร่ืองบิน3940เรยม อ นด สพรูแอน ซ (Raymond Spruance) ผูม ีสว นสําคัญในการรบสองการรบที่สรางความเปนมหาอํานาจทางเรือของสหรัฐฯ สําหรับศตวรรษท่ีเหลือ คือมิดเวย (Midway) และทะเลฟลิปปนส (Philippine Sea) ไดปฏิบัติงานทางวิชาการท่ีวิทยาลัยการทัพเรือไมเพียงแคหนึ่งครั้งแตถึงสองคร้ัง4041 กองทัพบกสหรัฐฯรูสึกจริงจังพอควร เก่ียวกับการศึกษาทางทหารท่ีสูงข้ึนของนายทหารสัญญาบัตรของตน โดยวางตัวสองในบรรดาผูบัญชาการระดับสูงในอนาคตของตน คือพนั เอก ดับเบิ้ลย.ู เอช. ซิมพสัน (W. H. Simpson) และ พันตรี เจ. ลอวต้ัน คอลลินซ(J. Lawton Collins) ในการสอนความรูของวิทยาลัยการทัพบกสําหรับ ปการศึกษา1939-40 (พ.ศ.2482-83) และในปตอไป อเล็กซานเดอ ร แพทช (Alexander Patch)ซ่ึงไดข้ึนเปนผูบัญชาการอาวุโสในยุโรปก็ไดสอนใน วทิ ยาลัยการทัพดงั กลา ว4142 คํากลาวที่วาสถาบันทหารตาง ๆ พายแพในการรบเนื่องจากศึกษาสงครามลาสุดใกลเกินไป เปนคําพูดซ้ํา ๆ ที่ลวนแตไมมีมูลความจริง สถาบันทหารตาง ๆท่ีสรางสรรคนวัตกรรมอยางสําเร็จผลระหวางป 1919 (พ.ศ.2462) และ 1940(พ.ศ.2483) ไดตรวจสอบเหตุการณทางทหารท่ีเพ่ิงเกิดขึ้นดวยความรอบคอบ, ถ่ีถวนและสมจรงิ โดยไมมีการยกเวน การวิเคราะหอ ดีตเปนพืน้ ฐานของการสรางสรรค 40สําหรับการดําเนินการวาดภาพการรบทางเรือโดย พลเรือเอก วิลเล่ียมซิมส (William Sims) ดู Peter P. Perla, The Art of Wargaming: A Guidefor Professionals and Hobbyists (Annapolis, MD, 1990). 41ชวี ติ รบั ราชการนต้ี รงกันขามอยา งทส่ี ดุ กับของกองทัพเรือสหรฐั ฯ ปจ จบุ นัซึ่งครึ่งหนึ่งของนายพลเรือประจําการ แมแ ตก ารเขา เปน นักศึกษาวทิ ยาลยั การทัพหนึ่งก็ไมไดเ ขา . 42Leonard J. Holder, Jr. and Williamson Murray, “Prospects forMilitary Education,” Joint Forces Quarterly, Spring 1998, หนา 83. อนาคตตอไป

338นวัตกรรมท่ีสําเร็จผล วิธีสําคัญของการสรางสรรคนวัตกรรม คือการทดสอบและทดลองที่ไมจํากัด ซ่ึงไดตรวจสอบระบบตาง ๆ ไปจนสลายไปมากกวาท่ีจะมีเปาหมายท่ีจะพิสูจนการคาดหมายหรือทฤษฎีตาง ๆ เพียงแคความจริงใจและความคิดท่ีไหลอิสระระหวางหนวยเหนือกับหนวยรอง ซ่ึงเปนองคประกอบสําคัญของวัฒนธรรมทหารท่ีสําเร็จผลทั้งหมด เปนสวนสําคัญย่ิงตอความสามารถท่ีจะเรียนรูจากประสบการณ และวัตถุประสงคสําคัญของการทดลอง และการทดสอบตาง ๆ คือเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของหนวยตาง ๆ และของทางทหารเปนสวนรวมมากกวาทีจ่ ะเลอื กเฉพาะผูบังคบั หนวยตา ง ๆ ท่ีถูกหาวาลม เหลว4243 กองทัพสหรฐั ฯ และการปฏวิ ตั ิในกจิ การทหารตอไป เมื่อ ม.ค.-ก.พ.1991 (พ.ศ.2534) สหรัฐฯ และพันธมิตรไดทําลายกําลังทางอากาศและทางบกอิรักของซัดดัม ฮุสเซน อิรัก ไดแสดงความไมชํานาญอยางย่ิงในทุกระดับแตโดยแทจริงแลว การปฏิวัติในกิจการทหารท้ังหมดตองมีผูรับเคราะห ซึ่งความบกพรองในสนามรบไดเนนใหเห็นความแตกตางกัน ระหวางใหมกับเกากษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 ตองการกองทัพที่มีการจัดที่ไมดีของระบบศักดินาฝรั่งเศสเพอ่ื เอาชนะท่ีย่งิ ใหญท ่เี ครซี (Crécy) นโปเลียนตอ งการออสเตรียและปรัสเซียหัวโบราณที่เอาสเตอรลิทซ (Austerlitz) และเจนา-เออรชตัตด (Jena-Auserstädt)มอลทเกตองการออสเตรียและฝรั่งเศสที่คิดชาและ เคล่ือนที่ชาในป 1866(พ.ศ.2409) และ 1870 (พ.ศ.2413) และกองทัพเยอรมันกอนและระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 (Wehrmacht) ของป 1940 (พ.ศ.2483) ตองการ 43สําหรับการไรผลของการวิเคราะหหลักนิยมโดยไมมีการทดสอบที่สมจริงและจําเปน ดู Robert A. Doughty, The Seeds of Disaster, TheDevelopment of French Army Doctrine, 1919-1939 (Hamden, CT,1985) และ Euginea C. Kiesling, Arming Against Hitler, France and theLimits of Military Planning (Lawrence, KS, 1996). เมอรเรยแ ละนอ กซ

339นายพลมัวริซ เกมลิน (Maurice Gamelin) เพื่อแสดงความสามารถของตนใหเตม็ ท่ีท่ีสุด ชัยชนะของอเมริกาในสงครามอาวครั้งท่ี 2 ตามที่ไดมีการเผยแพรจริง ๆ แลวไดแสดงถึงการปฏิวัติในกิจการทหาร แตเทคโนโลยีของอเมริกาประสบความสําเร็จนอยกวาความสําเร็จของ กรอบแนวคิดและหลักนิยมท่ีตั้งม่ันอยูบนความเขาใจลักษณะพื้นฐานของสงครามในการปฏิวัติดังกลาวทั้งหมด การเปลี่ยนแปลงขีดความสามารถอยางมากซึ่งแสดงอยางชัดเจนในสนามรบ เปนผลของวิวัฒนาการของกรอบแนวคิดและหลักนิยมอยางรอบคอบและการลงทุนอยางมากในการฝกและการทดสอบกองทัพอเมริกาไดพบและระบุชุดปญหาตาง ๆ ท่ีแยกกันท่ีพบในระหวางสงครามเวียดนาม ต้ังแตความแมนยําในการทิ้งระเบิดโจมตี ไปจนถึงการขมการปองกันภัยทางอากาศของขาศึก, ความจําเปนสําหรับกรอบแนวคิดทางยทุ ธการในการรบทางบก, และการใชเ ฮลิคอปเตอรอยา งไดผล เพื่อเพิ่มหวงสนามรบ จากป 1973 (พ.ศ.2516) ถึงกลางป 1980 (พ.ศ.2523) ทามกลางการถกเถียงและการทดลอง ทั้งส่ีเหลาทัพไดเปลี่ยนรูปแบบพ้ืนฐานของแนวทางเขาสูสงครามของตน การฝกสุดยอดนักบินกองทัพเรือ “(Top Gun)” และ“การฝกสุดยอดนักบินกองทัพอากาศ (Red Flag)” ไดพัฒนาการฝกและการเตรียมการของนักบินขับไลของกองทัพเรือ, นาวิกโยธิน และกองทัพอากาศสหรัฐฯอยางย่ิง โดยกองทัพบกไดเขียนเก่ียวกับสงครามระดับยุทธการเขาไวในหลักนิยมของตน4344 นาวิกโยธินไดทบทวนแนวทางพื้นฐานของหลักนิยม และการเตรียมการตาง ๆ ของตนสําหรับการสงคราม ซ่ึงเอกสาร FM 100-5 ฉบับป1986 (พ.ศ.2529) และคูมือหนวยนาวิกโยธิน (Marine Corps) 1-1, Warfighting(การปฏิบัติการรบ), ในป 1987 (พ.ศ.2530) ไดแสดงถึงการปฏิวัติท่ีแทจริง 44 สําหรับการเริ่มตนกระบวนการน้ี ดู Paul H. Herbert, “DecidingWhat Has To Be Done: General William E. Dupuy and the 1976Edition of FM100-5, Operations,” Leavenworth Papers 16 (1988). อนาคตตอ ไป

340โดยเปน กรอบแนวคดิ การรบรวมอากาศ-พื้นดิน (Air-land battle) ที่ใหกรอบการปฏบิ ัตดิ านหลักนิยมใหมท้ังหมด โดยรวมกับชวงระหวางสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1กับเริ่มสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ที่คูกัน กรอบแนวคิดใหมนี้ไดถูกปรับใหเหมาะสมกับขาศึกเฉพาะ และ ยทุ ธบริเวณเฉพาะทง้ั หมด การลมสลายของโซเวียตทําใหสงครามอาวคร้ังที่ 2 มีสองลักษณะซัดดัมไมเคยกลาท่ีจะพยายาม ควบคุมนํ้ามันของตะวันออกกลางในสภาพแวดลอมที่ตึงเครียดและมีขอบังคับมากของสงครามเย็น และการลมสลายของโซเวียตยังทําใหสหรัฐฯ มีกองกําลังและหลักนิยมที่พัฒนาขึ้นเพ่ือทําการรบกับศัตรูที่เช่ียวชาญและมีความสามารถ และหวงสนามรบทางยุทธศาสตรท่ีตองใชกําลังของสหรฐั ฯ จาํ นวนมากเขา สตู ะวันออกกลาง แตในทะเลทราย ซ่ึงปจ จยั ความไมแนนอนของภูมิประเทศไดเพ่ิมความไดเปรียบของสหรัฐฯ อยางสูงสุด ซึ่งคูตอสูไมใชกองทัพแดง แตเปนสถาบันทหารทป่ี ลูกฝงปมทางวัฒนธรรม ที่สืบทอดกันมาที่ไดแสดงในสงครามอาหรับ-อิสราเอลดวยลักษณะเฉพาะของตนเองทั้งหมดในฐานะเครื่องมือทางการเมืองที่สรางรูปแบบและควบคุมดวยความกลัวแทบจะเพียงอยางเดียวชัยชนะของอเมริกาเปนการพิจารณาท่ีเกินไป และเฉพาะการปฏิเสธท่ีขลาดเขลาของวอชิงตันที่วา “เราจะไมไปแบกแดด (we’re not going to Baghdad)”ของบทเรียนทางยุทธศาสตรหลักของสองสงครามโลกไดจํากัดขอบเขตของการรบนี้และยืดเวลาผลลพั ธที่สําคัญออกไปอยา งไมจ าํ กดั 4445 แต “การปฏิวตั ิในกิจการทหาร” นั้นไดจบส้ินไปแลว ศัตรูและพันธมิตรในปจจุบันและอนาคต ของสหรัฐฯ รูวากองกําลังของสหรัฐฯ สามารถทําไดเม่ือสงครามหนึ่งรอยชั่วโมงส้ินสุดลง การแกไขปรับปรุง, การสรางสรรคนวัตกรรม,และการปรับปรุงทางยุทธศาสตรและการทูต มีเปาหมายท่ีการแกไขความไมสมดุล 45 สําหรับลักษณะของเผด็จการอิรัก ดูงานของ Kanan Makiya (pseud.Samir al-Khalil), Republic of Fear: The Politics of Modern Traq(Berkeley, CA, 1989). เมอรเ รยแ ละนอ กซ

341ของพลังอํานาจท่ีไดแสดงดวยภาพในอาวน้ันไดเริ่มไปท่ัวโลก ศิลปะการสงครามไมไดอยูกับที่หรือมีขั้วเดียว แตอยูเหนือการแขงขันของเจตนารมณท้ังหมดท่ีวา“เขาบงการฉนั เทา กบั ท่ฉี นั บงการเขา (he dictates to me as much as I dictate to him)”4546 การตอบสนองของอเมริกาตอชัยชนะยังไมฉลาดนัก และเปนมืออาชีพนอยกวาข้ันตอนตาง ๆ ท่ีไดดําเนินการเพ่ือดํารงชัยชนะน้ัน รูปแบบที่สําคัญบางประการในกองทัพอเมริกาไดสรุปโดยชัดเจนวา ชัยชนะทําใหเกิดการพยายามและการคิดที่มากข้ึน คือ “การปฏิวัติในกิจการทหารของอเมริกา” ซึ่งอาจทําใหสหรัฐฯ ตองข้ึนอยกู ับอนาคตที่คาดการณไดของกําลงั ทมี่ ีพรอมอยูแ ลว ในขณะที่คนอ่ืน ๆ มองวาชัยชนะ ในสงครามอาวดังกลาวเปนเพียงผลของความเปนมหาอํานาจทางเทคโนโลยีของสหรัฐฯ ทั่วไป ซ่ึงเปนการ ตีความผิดโดยส้ินเชิงของ 20 ปกอน ซึ่งความกาวหนาตาง ๆ ของกรอบแนวคิดไดมาจากชัยชนะแ ล ะ จ า ก ก า ร มุ ง ท่ี ข า ศึ ก เ ฉ พ า ะ ท่ี ไ ด ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ส ร า ง ส ร ร ค น วั ต ก ร ร ม 4 6 47คําโฆษณาของมุมมองดังกลาวยืนยันวา ความกาวหนาทางเทคโนโลยีอยางตอเน่ืองท่ีสหรัฐฯ เปนนั้น เปนไปตามการกําหนดเฉพาะที่ทําใหเกิด ซึ่งจะทําใหอเมริกามีพลังอํานาจเหนือกวาศัตรูท่ีเปนไปไดท้ังหมดอยางงายดายในศตวรรษท่ีจะถึงน้ีหรืออาจกลาวไดวา การไดรับบทบาทโดดเดนในการวิเคราะหความผิดพลาดในอดีตในการดํารงชัยชนะในป 1991 (พ.ศ.2534) กองทัพไดใชความพยายามเล็กนอยท่ีจะเรียนรูจากเหตุการณจริงของสงครามอาวคร้ังท่ี 2 ซ่ึงการวิเคราะหเพียงเล็กนอย 46 Clausewits, On War, หนา 77. 47 จริง ๆ แลว หนง่ึ ในปญ หาทีผ่ อู ํานวยการสํานักงานประเมินขีดความสามารถและศักยภาพทางทหาร (Director of the Office Net Assessment) แอนดรูวดบั เบิล้ ยู มารแ ชลล (Andrew W. Marshall) ไดเผชิญตั้งแตคร้ังแรกท่ีสํานักงานนี้ไดนาํ มาซง่ึ โอกาส ในการปฏิวัติในกจิ การทหาร มาสูก ารพจิ ารณาของเหลาทัพตาง ๆหลังสงครามอา วไดใ หค วามสาํ คญั มากเกินไป ตลอดมาในการถกแถลงของเพนตากอ นเกยี่ วกบั เทคโนโลยี แทนท่จี ะเปน กรอบแนวคดิ การใชเทคโนโลย.ี อนาคตตอ ไป

342ท่ีเกิดขึ้น สวนใหญไดละเลยการพัฒนาที่สูงกวาระดับยุทธวิธี และสวนใหญจะระบถุ ึงประเด็นทางเทคโนโลยแี คบ ๆ4748 สถานการณไมไดเปลี่ยนแปลงไปมากต้ังแตป 1991 (พ.ศ.2534)ความเช่ืออยางย่ิงในเพนตากอน สําหรับคําขวัญของการปฏิวัติในกิจการทหารอาจดูเหมือนวาจะเสนอหลักประกันวาสหรัฐฯ จะพัฒนากรอบแนวคิดและขีดความสามารถแบบปฏิวัติอยางตอเนื่อง แตสิ่งที่ปรากฏก็เปนการหลอกลวง ปรัชญาชีวิตแบบระบบราชการ-เทคโนโลยี (Bureaucratic-technological Weltanschauung)ท่ีเกิดจากสิ่งที่ดูเหมือนจะสมบูรณของสงครามนิวเคลียร ซ่ึงลดยุทธศาสตรลงเปนเพียงแคการกําหนดเปาหมาย ไดกลับมามีอํานาจอีกคร้ังเหนือประชาคมปองกันประเทศของพลเรอื นและวงรอบทางทหารท่ดี าํ เนนิ การดว ย การบริหาร “อาคารสํานักงาน(Building)”4849 48 ไมมีองคกรใดพยายามอยางจริงจังเพื่อตรวจสอบผลลัพธของสนามรบจริงในพ้ืนที่ของอิรักท่ีฝายพันธมิตรไดยึด และเฉพาะการดําเนินการของรัฐมนตรีทบวงทหารอากาศ (Secretary of the Air Force) ท่ีทําใหม่ันใจวาการสํารวจอํานาจกําลังรบทางอากาศของสงครามอาวไดดําเนินการ โดยกลุมอิสระท่ีไดรับทุนดําเนินการแตร ายงานทไ่ี ดนน้ั กเ็ พียงแคเก็บเขาแฟม มีเจา หนาทีเ่ พียงเล็กนอยที่ไดอา นรายงานดังกลาว. 49 ความสอดคลองกันระหวางสวนงานพลเรือนกับทหารของระดับสูงของเพนตากอนเปนไปตามขอกําหนดท่ีปรากฏอยูในเอกสารนโยบายตางประเทศท่ีสําคัญของสหรัฐฯ ซ่ึงผูเขียน โจเซฟ เอส. นาย จูเนียร (Joseph S. Nye, Jr.)และนายพลเรือโอเวนซ (Owens) แถลงวา “ความไดเปรียบดานขอมูล (ของสหรัฐฯ)สามารถชว ยปอ งกนั หรอื เอาชนะภัยคุกคามทางทหารท่ัวไปดวยงบประมาณท่ีคอนขางตํ่า... (มัน) สามารถสรางความเขมแข็งในการเช่ือมโยงท่ีชาญฉลาดระหวางนโยบายตางประเทศ กับพลังอํานาจทางทหาร ของสหรัฐฯ และใหแนวทางใหม ๆทจี่ ะเปนผนู ําในหมพู ันธมิตรและความรว มมือชั่วคราว... ขีดความสามารถทางทหารที่เกิดขึ้นของอเมริกา...ทําใหเกิดตัวอยางเชน ความชัดเจนท่ีเพ่ิมขึ้น อยางมากกอนวิกฤต เมอรเรยแ ละนอ กซ

343 และสถานการณที่สหรัฐฯ เผชิญในปจจุบันและสําหรับอนาคตที่คาดการณไดจะแตกตางและชัดเจนนอยกวาของชวงระหวางส้ินสงครามโลกครั้งที่ 1กับเร่ิมสงครามโลกคร้ังท่ี 2 หรือสงครามเย็น โดยที่ไมมีศัตรูโดยตรงท่ีสําคัญที่จะเกิดขึ้นในไมชา เวนแตมหาอํานาจจีนที่อาจเปนไปได แตสหรัฐฯ ก็เผชิญกับภัยคุกคามแฝงตาง ๆ ระยะปานกลางและระยะยาว4950 ซ่ึงไมมีผูทาทายโดยตรงและชัดเจนตอความสงบเรียบรอยระหวางประเทศที่ตองการการพัฒนากรอบแนวคิดและหลักนิยมเฉพาะและสอดคลองกัน การไมมีภัยคุกคามในภูมิภาคปจจุบันท่ีมีผลรวมท้ังอาจไมมีจากจีนที่แมวาจะไมสามารถปกปดความปรารถนาอยางย่ิงได และกลุมตอตานตะวันตกที่เห็นวากฎระเบียบของกลุมตนมีความชอบธรรมแตเพียงลําพังที่ไดใหลักษณะของเปาหมายท่ีตองพัฒนาลักษณะของความสามารถเฉพาะของการปฏิวัติในกิจการทหาร ซ่ึงการบูชาสันติภาพอยางแทจริงจะอยูในองคประกอบทีแ่ นน อนของความคิดน้ี5051 อุปสรรคนอกเหนือจากนี้ตอการสรางสรรคนวัตกรรมท่ีสัมฤทธ์ิผลของอเมริกาที่นําไปสูการปฏิวัติในกิจการทหารในอนาคตเกิดจากวัฒนธรรมของสถาบันที่เปล่ียนแปลงไปของกองทัพเอง ในยุคหลังสงครามเวียดนาม บรรดานายทหารของกองทัพบก, นาวิกโยธิน, และกองทัพอากาศสหรัฐฯ ที่มีชีวิตรอดจากการถาสหรัฐฯ ตองการแบงปนความชัดเจนน้ี จะเปนการดีกวาท่ีสามารถสรางความรวมมือในการตอ ตา นกอ นการรกุ เริ่มขึ้น” (“America’s Information Edge,” Foreign Affairs,March/April 1996, หนา 20-36). 50 ดสู ภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ ศตวรรษท่ี 21 (The United StatesCommission on National Security/21st Century), The New World Coming. 51 หวงระยะเวลาท่ียาวนานของสันติภาพเพิ่มความยุงยากแกสถาบันทหารที่จะมุงเนนท่ีการดําเนินการ ของตนเอง คือ การดําเนินสงคราม (ดู AndrewGordob, The Rules of the Game: Jutland and British NavalCommand [London, 1996]). อนาคตตอ ไป

344ปฏิบัติการหลาย ๆ ผลัดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังคงกังขาอยูลึก ๆเกี่ยวกับปรากฏการณทางเทคโนโลยีที่คาดการณลวงหนาท่ีปราศจากความคิดโดยไมมีการตานทานโดย โรเบิรต แมคนามารา (Robert McNamara) และผูรวมงาน ซ่ึงไดนําสหรัฐฯ ไปสูความพายแพและขายหนา5152 ตนป 1980(พ.ศ.2523) ผูที่ผานศึกเวียดนามในรุนนี้ไดเลื่อนตําแหนงสูงขึ้นในตําแหนงผูนําตาง ๆและพยายาม ท่ีจะปรับเปลี่ยนมุมมองโลกเชิงสถาบันทหารของเหลาทัพตาง ๆบุคคลเหลานี้ได เรียนรูในทุงนา, หนองบึง, ปา และการระดมยิงของจรวดต อสู อากาศยานต าง ๆ ซ่ึ งแม คนามาร าและคณะนั กเศรษฐศาสตร ,นักวิทยาศาสตรการเมือง และพวกประจบ สอพลอในเครื่องแบบไดสงพวกเขาไปวาตัวช้ีวัดเชิงปริมาณของประสิทธิภาพ ทางทฤษฎีไมเพียงแคประสิทธิผลของสนามรบแตร วมถึงขา ศึกทีน่ ากลวั ดวย5253 แตชวงเวลาในการยึดถือแนวทางของเคลาซวิทซของอเมริกาไมไดคงอยูตลอดไป งานที่ไมมีการผอนปรนแบบเดียวกันของระบบการเลื่อนตําแหนงแบบปรามิดท่ีทําใหบรรดาผูรับผิดชอบตองสั่งอยางชัดเจนใหกาวผานแนวทางดังกลาวไปเวนแตนาวิกโยธินและเหลาสองสามเหลาของกองทัพบกสหรัฐฯ บรรดาผูปฏิรูปไดแสดงใหเห็นถึง การไมสามารถปรับปรุงวัฒนธรรมตาง ๆ ของเหลาทัพท่ีถาวรท่ียังคงไมเช่ือถือในประวัติศาสตรและตอตานความคิดและการใชเหตุผล(Anti-intellectual) อยางฝงลึก5354 เวนแตในทุกระดับสูงสุด บรรดาผูที่เคย 52 สําหรับการตรวจสอบเหตุการณน้ีใหละเอียดมากขึ้น ดู WilliamsonMurray, “Clausewitz Out, Computers In: Military Culture andTechnological Hubris,” The National Interest, Summer 1997. 53 ประเด็นนี้อุทิศใหแกทุก ๆ คนท่ีเคยเผชิญกับความไรสาระของสํานักงานตรวจสอบการปรนนิบัติ บํารุง (Command Maintenance ManagementInspection (CMMI)) ของกองทพั บกสหรัฐฯ. 54 ดู Williamson Murray, “Does Military Culture Matter?,” Orbis, เมอรเ รยแ ละนอ กซ

345ปฏิบัติการรบในเวียดนามที่ไดเกษียณไปเมื่อกลางป 1990 (พ.ศ.2533) และนายทหารรุนที่มีทัศนคติตางไปอยางมากก็ไดเขามาแทนท่ีผูท่ีไดเกษียณไปแลวมุมมองท่ีแยงกับเคลาซวิทซในเชิงกลไกของแมคนามารา (McNamara) ของสงครามในอนาคตไดเกิดข้ึนใหมที่ดูเหมือน จะมีพลังมากกวาที่เคยจาก 25 ปท่ีผานมาของความอัปยศ คติพจนในระหวางหลังสงครามเย็นคือ การเปนมหาอํานาจทางเทคโนโลยีโดยทั่วไปเปนกุญแจสําคัญสูอนาคต แทนที่จะเปนการคนหาการประเมินความเปนไปไดทางยุทธศาสตร, ยุทธการ และกรอบแนวคิด และเหลาทัพตาง ๆ ยกเวนนาวิกโยธินสหรัฐฯ ไดเพงเล็งที่คาดการณไดอีกคร้ังเฉพาะตอการจัดหาระบบอาวุธตนทุนสูงที่ซับซอน ขณะที่มองขามการเตรียมการดานกรอบแนวคดิ และการใชสติปญ ญาสาํ หรบั การสงคราม สรุป การปฏิวัติในกิจการทหาร (RMA) ตางจากการปฏิวัติการทหาร (Militaryrevolution) ท่ียิ่งใหญ ซึ่งทําลายหรือปรับเปลี่ยนพื้นฐานของสถาบันและรัฐตาง ๆในวิธีทางของมัน ทําใหเกิดขอบเขตท่ีกวาง สําหรับการมองการณไกล และการสรางสรรคของมนุษยชาติ ซ่ึงการปฏิวัติในกิจการทหารท่ีผานมาไดใหลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนอยา งนอย 4 ประการ ประการท่ี 1 เพียงแคเทคโนโลยีอยางเดียวยากท่ีจะขับเคลื่อนการปฏิวัติในกิจการทหาร โดยเทคโนโลยีไดทําหนาท่ีเหนือกวาทุกสิ่งในฐานะตัวกระตุนกองพลยานเกราะที่โจมตีดานหลังของกองทัพฝร่ังเศสเมื่อ พ.ค.1940 (พ.ศ.2483)ไมไดใชเทคโนโลยีท่ีเหนือกวา ซ่ึงรถถังของเยอรมันดอยกวารถถังที่ฝร่ังเศสใชอยางชัดเจนWinter 1999 และ “Military Culture Does Matter,” Strategic Review,Spring 1999. อนาคตตอ ไป

346 ประการท่ี 2 การปฏิวัติในกิจการทหารเกิดข้ึนจากการแกปญหาแบบวิวัฒนาการท่ีมุงตรงตอประเด็นทางยุทธการและยุทธวิธีเฉพาะ ในยุทธบริเวณเฉพาะของการรบที่กระทําตอขาศึกเฉพาะ ผูสรางสรรคนวัตกรรมที่สําเร็จผลจะคิดในแงของการตอสูสงครามตอศัตรูที่แทจริงมากกวาศัตรูตามสมมุติฐานดวยความสามารถที่แทจริง ในการดํารงการดําเนินการตอเปาหมายทางยุทธศาสตรและทางการเมืองที่แทจรงิ ประการที่ 3 การปฏิวัติตาง ๆ ดังกลาวตองมีกรอบงานท่ีสอดคลองกันของหลักนิยมและกรอบแนวคิดท่ีอยูบนวัฒนธรรมตาง ๆ ของเหลาทัพที่มีความเปนไปไดอยางยิ่ง การสรางสรรคนวัตกรรมท่ีจะประสบความสําเร็จตองอยูบนความเขาใจอยางแทจริงของลักษณะท่ีสับสนยิ่งของสงคราม ซึ่งนวัตกรรมจะตองไดมาจากประสบการณที่ไดจากทั้งในการสงคราม และในการฝกและการทดสอบตาง ๆ องคกรตาง ๆ ที่พยายามดําเนินการตองตอบแทนตอความจริงใจท่ีเปนพ้ืนฐานและใหสิทธิพิเศษตอการโตแยงหาเหตุผลท่ีเปดกวางของบทเรียนจากการรบตาง ๆ และของการฝกและการทดสอบตาง ๆ สําหรับคุณคาของการฝก โดยเฉพาะเมื่อขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งไมเพียงแคตองพึ่งพิงการดําเนินการฝก แตรวมถึงการวางแผนและการวิเคราะหหลังการปฏิบัติการฝกซึ่งตองมีเปาหมายท่ีความเขาใจมากกวาการทําใหเปนไปตามหลักนิยม, กรอบแนวคิดหรือระบบอาวุธตาง ๆ หนวยกําลังตาง ๆ ของกองทัพที่ดําเนินการปฏิวัติในกิจการทหารดังกลาว ตองใหเคร่ืองมือสําหรับเผยแพรและดําเนินกรอบแนวคิดและบทเรียนตา ง ๆ อยางไดผล ทั้งน้ี เอกสารทางทหารที่สําคัญของโลก ถูกทําใหสับสนดวยรายงานการคาดการณใ นอนาคตตา ง ๆ ทีไ่ มม ใี ครอาน5455 55 สําหรับประสิทธิผลท่ีนาเสียดายของกองทัพเยอรมันในการเผยแพรและใชหลักการทางยุทธวิธีท่ีได จากบทเรียนจากการรบ ดู Timothy T. Lupfer,“The Dynamics of Doctrine: The Changes in German Tactical เมอรเรยแ ละนอ กซ

347 ประการท่ี 4 การปฏิวัติในกิจการทหารยังคงยึดและจํากัดดวยยุทธศาสตรที่ไดรับและโดยธรรมชาติ ของสงคราม ซ่ึงการปฏิวัติในกิจการทหารไมใชสิ่งแทนสําหรับยุทธศาสตรตามที่มักถูกทึกทักโดยบรรดา บุคคลท่ีฝนในส่ิงที่เปนไปไมไดแตเปนเพียงเคร่ืองมือทางยุทธการหรือยุทธวิธีเทาน้ัน ความลมเหลวท่ีหายนะย่ิงของพรรคแรงงานสงั คมนยิ มแหงชาติเยอรมันหรือพรรคนาซี (National SocialistGermany) ตอโซเวียตรัสเซียเปนเคร่ืองเตือนตอการเขาใจผิด ท่ีนําการปฏิวัติในกจิ การทหารทใ่ี หเสรีภาพเชิงยุทธศาสตร เชนกนั เทคโนโลยไี มสามารถลบลางความสําคัญของสงครามในเรื่องของความไมแนนอน และการขัดแยงกันของเจตนารมณต าง ๆ การดาํ เนนิ กระบวนการดานพลังอํานาจไมสามารถมาทดแทนความสามารถในการเขาใจและความกลาหาญอยางย่ิงในระดับยุทธศาสตรไดมากไปกวาอยูในสนามรบเอง ซึ่ง “เครื่องยนตกลไกไมสามารถชนะสงครามไดแมวาจะชนะสงครามไดดวยเคร่ืองยนตกลไก ซ่ึงแตกตางกันอยางยิ่ง” และในสงคราม“ผลของสงครามก็ยังไมใชผ ลท่สี ดุ (the result is never final)”5556 การรวบรวมพลังทุก ๆ การปฏิวัติในกิจการทหาร ไมวาจะชาหรือเร็ว เปนเกราะของ“การตอบสนองท่ี อสมมาตร” และมาตรการตอบโตโดยตรง กองกําลังตาง ๆ ของสหรัฐฯ เมื่อเริ่มศตวรรษที่ 21 เผชิญกับโลกท่ีพิศวงกองกําลังเหลานี้ ตองพบกับงบประมาณท่ีจํากัดที่ลดลงอยางไมสามารถประเมินคาไดในตอนปลายสงครามเย็น กองกําลังเหลานี้ขาดคูแขงที่สําคัญหรือภัยคุกคามขนาดใหญ โดยตรงเปนการเฉพาะที่จะตองเตรียมพรอม และกองกําลังเหลานี้ไดพบกับความนาพิศวงตาง ๆ ท่ีไมตั้งใจสําหรับอนาคตที่สามารถคาดการณไดและมักเปน ภารกิจเสริมนอกเหนอื จากหนาท่ีทางทหารท่ีดูเหมือนวา ไดคํานวณแลวDoctrine during the First World War,” Leavenworth Papers 4 (1981),หนา 21-9, 46-9, 55-8. 56 Ernst Jünger, Das Wäldchen 125. Eine Chronik aus denGrabenkämpfen 1918 (Berlin, 1926), หนา 59; Clausewitz, On War, หนา 80. อนาคตตอ ไป

348ท่ีทําใหหนวยท่ีตองปฏิบัติภารกิจเหลาน้ันถูกถากถางมากที่สุด ตั้งแตการรักษาสันติภาพทามกลางประชาชนท่ีกระหายเลือด ไปจนถึงสงครามเล็ก ๆ ภายใตการขัดขวางที่ไรสาระ ไมมีการสังหารบนโทรทัศนท่ีดูเหมือนจะปองกันผลลัพธทางยุทธศาสตรท่ีเด็ดขาด ไปจนถึงการปฏิบัติการรักษาความสงบเรียบรอยท่ีไมมีขอจํากัด,ความพยายามที่ไรผลในการสกัดกั้นยาเสพติด, ภารกิจดานมนุษยธรรมท่ีไมมีคําขอบคุณและการชวยเหลือตัวประกันในบางโอกาส แตกองกําลังเหลานี้ก็ยังตองเผชิญและเตรียมตัวสําหรับอนาคตที่มีความทาทายตาง ๆ ที่สําคัญตอผลประโยชนและอาจรวมถึงการอยูรอดของสหรฐั ฯ ท่จี ะเกิดขึน้ อยางหลีกเลีย่ งไมได การหยุดชะงักทางยุทธศาสตรในปจจุบัน เชนเดียวกับการอธิษฐานถึงสันติภาพในการติดอาวุธของยุโรปตั้งแตป 1871 (พ.ศ.2314) ถึง 1914 (พ.ศ.2457)ยังไมนาจะถึงที่สุด ขณะท่ียังคงดําเนินการตอไป กองกําลังของสหรัฐฯ มีโอกาสทจี่ ะคนหาจดุ ออนพื้นฐาน โดยตองระวังเหนือส่ิงอื่นใดในการแทนท่ีเทคโนโลยีสําหรับยทุ ธศาสตร และการจัดหาระบบอาวุธที่ทรงพลานุภาพมากกวากองกําลังทหารท่ีพรอมรบตอ งนกึ ไวในใจเสมอถึงอันตรายวาหนึ่งในขาศึกท่ีประกาศอยางเปดเผยหรือแอบแฝงท้ังหลายของอเมริกา อาจทําการปฏิวัติในกิจการทหารไดในโอกาสตอไป ไดมากกวาอเมริกาเอง และตองเขาใจวาถาอดีตเปนสิ่งช้ีใด ๆ ทั้งหมด ราคาของการท่ีไมสามารถเปล่ียนแปลงในปจจบุ ันจะสูงเปนคา ชีวติ และทรัพยสินที่จะตองจายตอไปมากย่ิงกวาสําหรับการปรับใหเขากับสนามรบการฝกปฏิบัติงานจริง (OJT หรือ on-the-job training)ในภาษาเฉพาะของหนวยรบตาง ๆ ของอเมริกาในเวียดนาม ไดพิสูจนเสมอมาถงึ การสญู เสียเลือด, บทเรียนราคาแพง และความเจ็บปวดทีส่ ูงยิ่ง5657 57 สําหรับประสบการณของอเมริกาในเร่ืองนี้, Charles E. Heller andWilliam A. Stofft, eds., America’s First Battles, 1776-1965 (Lawrence,KS, 1986); สําหรับวัฒนธรรมทหารที่ผิดเพ้ียนของกองทัพ อังกฤษตนศตวรรษที่20 และผลที่เกิดขึ้นของสนามรบ ดู Timothy Travers, The Killing Ground:The British Army, the Western Front, and the Emergence of Modern เมอรเ รยและนอ กซ

349 ความใสใจอยางมงุ มั่นตอ แนวคดิ เชงิ หลักนิยมในการปรับปรงุ ดานขา วกรอง,ในการวิเคราะหการทดลองท่ีมีเปาหมายในการแกปญหาที่สามารถระบุไดเฉพาะ,และในการปรับวัฒนธรรมตาง ๆ ของเหลาทัพอยางถาวร อาจตองใชตนทุนจํานวนมาก ของการปฏิวัติอเมริกาหรือการปฏิวัติในกิจการทหารตอ ๆ ไปแตแนวโนมปจจุบัน ยังไมสามารถท่ีจะทําใหมั่นใจได เน่ืองจากกองทัพและรัฐบาลอเมริกาจัดหาสรรพาวุธตาง ๆ จํานวนมากเฉพาะที่สัมพันธระยะยาวกับความตองการทางยุทธศาสตรเฉพาะ และแนวคิดในการใชกําลังทางยุทธการและยุทธวิธี ขณะท่ี “(กําลัง) ดํารงที่จะ ‘บินไปดวยกัน ไมสนใจกับความสุขโดยมุงหวังสําหรับส่ิงที่ดีท่ีสุด’” ตามคํากลาว ท่ีเปนอมตะของค๊ิฟฟน รอคเวลล(Kiffin Rockwell) นักบินผูหน่ึงของฝูงบิน ลาฟาแยตต (Lafayette Escadrille)ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ท่เี ปน ตํานาน”5758Warfare, 1900-1918 (London, 1987) และ Martin Samuels, Commandor Control? Command, Training and Tactics in the British andGerman Armies, 1888-1918 (London,1995). 58 อางใน Robert Gaskin, “The Great 1996 Non-Debate onNational Security,” ใน Williamson Murray and Allan R. Millett, eds,Brassey’s Mershon American Defense Annual, 1996-1997(Washington, DC, 1996), หนา 27. อนาคตตอ ไป