Google yahoo msn ม ความแตกต างก นอย างไร

1

2

หน่วยที่ 4 การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ในการสบื ค้นข้อมลู

หัวข้อเร่ือง (Topics)

4.1 ความหมายของการสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศ 4.2 ประเภทการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ 4.3 หลักการคน้ หาข้อมลู ของ Search Engine 4.4 ประโยชน์ของ Search Engine 4.5 การสบื ค้นข้อมลู ด้วย Google

แนวคดิ สาํ คัญ (Main Idea)

โลกยุคอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนี้มีข้อมูลมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจํานวนมากมายอย่างนี้อาจจะ กดคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลได้ไม่ง่าย จําเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหา ที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วย เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมาย ทั้งที่ เป็นของคนไทย และตา่ งประเทศ ความหมาย/ประเภท ของ Search Engine การคน้ หาข้อมูลบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เป็น จํานวนมาก ถ้าเปิดไปที่ละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหา ข้อมูลที่ต้องการไม่พบ การที่จะ ค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็ว จะต้องใช้เว็บไซต์สําหรับการค้นหาข้อมูล ที่เรียกว่า Search Engine Site ซึ่งทํา หน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ตา่ ง ๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแตท่ ราบหัวข้อท่ีต้องการค้นหา แล้วป้อนคํา หรือข้อความของหัวข้อนั้น ๆ ลงไปในช่องที่กําหนด Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการ และการ จดั เกบ็ ฐานข้อมลู ท่แี ตกต่างกนั ไปตามประเภท ของ Search Engine ท่แี ต่ละเวบ็ ไซตน์ าํ มาใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล

สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

ใช้อินเทอรเ์ น็ตในการสืบค้นข้อมูล (Search Engine)

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives)

1. บอกความหมายของการสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศได้ 2. บอกประเภทการสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศได้ 3. อธบิ ายหลกั การค้นหาขอ้ มูล Search Engine ได้ 4. บอกประโยชนข์ อง Search Engineได้ 5. บอกวธิ ีการสืบค้นข้อมูลด้วย Googleได้

3 เนื้อหาสาระ (Content)

4.1 ความหมายของการสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ (Information retrieval) หมายถึง กระบวนการค้นหาสารสนเทศท่ี

ต้องการ โดยใช้เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่สถาบันบริการสารสนเทศจัดเตรียมข้อมูลไว้ให้บริการการสืบค้น สารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 2 วธิ ี คอื

4.1.1 การสบื คน้ สารสนเทศด้วยระบบมือ (Manual System) การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมอื สามารถกระทำได้โดยผ่านเครื่องมือหลายประเภท เช่น

บัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร บรรณานุกรม เปน็ ตน้

รปู ที่ 4.1 แสดงการสบื คน้ สารสนเทศ (ท่มี า : https://www.google.com/imgres) 4.1.2 การสืบคน้ สารสนเทศดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ (Computer System) การสบื ค้นสารสนเทศดว้ ยระบบคอมพิวเตอรส์ ามารถทาํ ไดโ้ ดยผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ใน การคน้ หาข้อมลู จากฐานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้แก่ ฐานขอ้ มลู โอแพก็ ฐานขอ้ มูลซีดีรอม ฐานข้อมลู ออนไลน์ ฐานขอ้ มูลบน อินเทอร์เน็ต

4

รปู ที่ 4.2 แสดงเว็บไซต์การค้นหาฐานขอ้ มูลโอแพ็ก (ท่ีมา : https://library.mju.ac.th/2020/)

4.2 ประเภทการสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ การค้นหาขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ น็ต สามารถแบ่งตามลกั ษณะการทาํ งานได้ 3 ประเภท ดังนี้ 4.2.1 Crawler Based Search Engines Crawler Based Search Engines เป็นเครื่องมือการค้นหาบนอินเทอร์เน็ตแบบอาศัย การ

บันทกึ ข้อมลู และจัดเกบ็ ข้อมูลเปน็ หลกั ซง่ึ จะเป็นจําพวก Search Engine ที่ได้รบั ความนยิ มสงู สุด เนือ่ งจากให้ผล การค้นหาแม่นยําที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามารถทําได้อย่างรวดเร็ว จึงทําให้มี บทบาทในการค้นหา ข้อมูลมากที่สดุ ในปัจจุบัน โดยมีองคป์ ระกอบหลกั เพียง 2 สว่ นด้วยกนั คอื

1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูล เป็นของตัวเองที่มรี ะบบการประมวลผล และการจดั อันดบั ที่เฉพาะ เปน็ เอกลักษณ์ของตนเองอยา่ งมาก

2. ซอฟต์แวร์ คือ เครื่องมือหลักสําคัญที่สุดอีกสว่ นหนึง่ สําหรับ Search Engine ประเภทน้ี เนอ่ื งจากต้องอาศยั โปรแกรมเล็ก ๆ ทาํ หน้าท่ใี นการตรวจหาและทําการจดั เกบ็ ข้อมูล หนา้ เพจ หรือเวบ็ ไซต์ ต่าง ๆ ในรูปแบบของการทําสําเนาข้อมลู เหมือนกับต้นฉบบั ทุกอยา่ ง ซงึ่ จะรู้จักกนั ในชื่อ Spider หรอื Web Crailer หรือ Search Engine Robots ทีเ่ ป็นท่รี ้จู ักกันทัว่ โลก ไดแ้ ก่ Google, Yahoo, MSN, Live, Search, Teethmarati (ฮา หรับ Blog) ส่วนลักษณะการทํางาน และการเก็บข้อมูลของ Web Cravuler หรือ Robot หรือ Spiderนั้นแต่ละ แห่งจะมีวธิ ีการเก็บขอ้ มูล และการจัดตนั ตับข้อมูลที่แตง่ กนั

5

4.2.2 Web Directory หรอื Blog Directory Web Directory หรอื Blog Directory คือ สารบญั เว็บไซตท์ ่ใี ห้สามารถคน้ หาขา่ วสารข้อมูล

ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก ๆ คล้ายกับสมุดหน้าเหลือง โดยจะมีการสร้าง ดรรชนี ระบุหมวดหมูอ่ ย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรยี บเทียบ อ้างอิง เพื่อหา ข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่ค้นหาข้อมูลเพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มี เนื้อหาคล้าย ๆ กันใน หมวดหมู่เดยี วกนั ใหเ้ ลอื กทจ่ี ะหาข้อมูลไดต้ รงประเด็นทส่ี ดุ ได้แก่

1. ODP หรือ Dmoz เป็น Web Directory ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Search Engine หลายแห่ง เลือกใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ มากมาย ODP มี การ บันทกึ ขอ้ มูลประมาณ 80 ภาษาทว่ั โลก รวมถึงภาษาไทยดว้ ย (URL : http://www.dm0Z.org)

2. สารบัญเว็บไทย SANOOK เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงและเป็นท่ีรู้จักมากที่สุด ใน เมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )

3. Blog Directory หรือ BlogFlux Directory สําหรับการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบล็อกตาม หมวดหมตู่ า่ ง ๆ หรอื Blog Directory อื่น ๆ ทสี่ ามารถหาคน้ หาขอ้ มลู

4.2.3 Meta Search Engine Meta Search Engine คือ Search Engine ที่สามารถสืบค้นข้อมูลจาก Search Engine

และหรือ Web Directories ได้มากกว่า 1 ตวั ในเวลาเดยี วกนั และแสดงผลการสบื คน้ ทไี่ ดร้ ับจาก Search Engine เหล่านั้นในเวลาเดียวกัน โดยเสนอผลการสืบค้นในรูปแบบที่สะดวก ซึ่งบางครั้งจะมีการปรับแต่งผล การสืบค้นท่ี ไดร้ ับท้งั หมดให้อยู่ในรปู แบบเดียวกัน และบรู ณาการผลการสบื ค้นเหลา่ นี้เข้าเปน็ ชดุ เดยี วกนั

ลักษณะของ Meta Search Engine เป็นเครื่องมือสําหรับใช้สืบค้นข้อมูลบนเว็บ โดยจะ ประกอบด้วย Search Engine และหรือ Web Directories หลายตัว ซึ่งส่วนใหญ่จะรวม Search Engine ที่ สําคัญ ๆ เหล่านี้ไว้ ได้แก่ Yahoo, Goto, Northern Light, Google, Direct Hit, Alta Vista, Lycos, Excite, Infoseek, Hot Bot, Web Crawler และอื่น ๆ

Meta Search Engine เหมาะสําหรับการดําเนินการสืบค้นข้อมูลแบบง่าย (Simple Search) การสืบค้นข้อมูลด้วยคําค้นที่เป็นคําหรือวลีที่มีลักษณะเฉพาะ หรือการสืบค้นที่ต้องการทดสอบคําค้น (เพียง 1 หรือ 2 คําคน้ ) วา่ จะให้ผลการสบื ค้นเป็นอยา่ งไร Meta Search Engine ถือวา่ เป็นเครือ่ งมอื ทม่ี ี ประโยชน์ สาํ หรบั การสบื ค้นข้อมลู ในกรณีท่ีรีบเร่ง และตอ้ งการดูผลลัพธ์โดยภาพรวมอย่างรวดเรว็ ในหวั ข้อ เรื่องหรือคําค้นท่ี มีความเฉพาะเจาะจง นอกจากนี้ ยังมีค่าสําหรับการส่งข้อคําถามไปยังแหล่งการสืบค้น หลายแห่งในครั้งแรกอีก ด้วย

6

สําหรับจุดเด่นของ Meta Search Engine มีดังนี้ คือ ยอมให้มีการเข้าถึง Search Engine หลายตัวในเวลาเดียวกัน มีความเร็วในการสืบค้นข้อมูลสูง และมีการเสนอผลการสืบค้นในรูปบูรณาการ และเป็น รูปแบบเดยี วกัน สว่ นจดุ ด้อยของ Meta Search Engine อาจสรุปได้ดงั น้ี

1. มี Meta Search Engine จํานวนน้อยที่ไปค้นข้อมูลจาก Search Engine ตัวที่มี ประโยชน์ มากทส่ี ุด และ Search Engine ทมี่ ีขนาดใหญ่ เช่น Northern Light และ Fast Search เปน็ ต้น

2. Meta Search Engine ไม่ได้ให้ทางเลือกในการสืบค้นมากเท่ากับที่ Search Engine แต่ ละตวั มี

3. การที่ Meta Search Engine ส่งข้อคําถามที่มีกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ (Syntax) และ การเชื่อมประสานในรูปแบบเดียวกันไปยัง Search Engine แต่ละตัวซึ่งมีความแตกต่างกันนั้น จึงเป็นไป ไม่ได้ที่ Meta Search Engine จะได้รับประโยชน์จากลกั ษณะทั้งหมดที่ Search Engine แต่ละตัวมี ดังนั้น ผลการสืบค้น ที่ได้รบั จึงอาจผนั แปรไป

4. Meta Search Engine มีข้อจํากัดในการใช้เทคนิคการสืบค้น กล่าวคือ ส่วนใหญ่จะ ยอมรบั การใช้เครื่องหมายอัญประกาศ (" ") แต่มสี ว่ นนอ้ ยทย่ี อมรบั การใชต้ รรกะบลู ีน และมีเพยี งบางตัว เท่าน้ันท่ี ยอมรับการใช้เครื่องหมายต่างเหล่านี้ คือ เครื่องหมายวงเล็บ ( ) เครื่องหมายบวก + (OR) เครื่องหมายลบ – (AND) และเครอ่ื งหมายดอกจัน (Truncate) เปน็ ตน้

5. Meta Search Engine จะไม่นําผลการสืบค้นที่ Search Engine แต่ละตัวสืบค้นได้ ทั้งหมดมาแสดง ปกติจะนําเอาเฉพาะผลการสืบค้นที่ปรากฏในลําดับต้น ๆ ของรายการผลการสืบค้นของ แต่ละ Search Engine มาแสดงเท่าน้ัน

ตวั อย่างของ Meta Search Engine • MetaCrawler (http://www.metaclawler.com) • Mamma (http://www.mamma.com) • Debriefing (http://www.debriefing.com) • Metafind( http://www.metafind.com) • Finder Seeker (http://www.finderseeker.com) • Dogpile (http://www.dogpile.com) • SavvySearch (http://www.savvysearch.com) • ProFusion (http://www.profusion.com)

7

(ที่มา : www.baidu.com/)

(ทีม่ า : www.bing.com) 4.3 หลักการคน้ หาขอ้ มูลของ Search Engine

หลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine จะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ ศูนยบ์ รกิ าร ตอ้ งการจะเกบ็ ขอ้ มูลแบบได โดยมหี ลักการค้นหาข้อมลู ดงั นี้

1. การคน้ หาจากชอ่ื ของตาํ แหนง่ URL ในเว็บไซตต์ ่าง ๆ 2. การค้นหาจากคําที่มีอยู่ใน Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ทางด้านซ้ายบน ของ หน้าต่างท่แี สดง

8

3. การค้นหาจากคาํ สาํ คญั หรือคําส่งั keyword (อยใู่ น tag คําสัง่ ใน html ท่ีมชี อื่ ว่า meta) 4. การค้นหาจากส่วนทใ่ี ช้อธบิ ายหรือบอกลกั ษณะ site 5. คน้ หาคําในหนา้ เวบ็ เพจดว้ ยบราวเซอร์ ซง่ึ การค้นหาคาํ ในหนา้ เวบ็ เพจนัน้ จะใช้ในกรณีท่ีเข้าไป ค้นหาข้อมูลที่เว็บเพจใดเว็บเพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความปรากฏอยู่เต็มไปหมด การที่จะมาดูรายละเอียด ทีละ บรรทดั คงไมส่ ะดวก ในลักษณะนใ้ี หใ้ ชบ้ ราวเซอร์ช่วยคน้ หา โดยขั้นแรกใหน้ ําเมาส์ไปคลกิ ท่ี Menu Edit แล้วเลือก บรรทัดคําสั่ง Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ จากนั้นใส่คําที่ต้องการค้นหา ลงไปแล้วก็กด ปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหาคําดังกล่าว หากพบข้อมูลมันก็จะกระโดดไปแสดงคํานั้น ๆ ซึ่งสามารถกดปุ่ม Find Next เพอ่ื ค้นหาต่อได้ อีกจนกวา่ จะพบข้อมลู ท่ีตอ้ งการ เทคนิคในการค้นหาข้อมูล 11 ประการ 1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการมากที่สุด เช่น ถ้าต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มี ลักษณะทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจง ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index ของ yahoo เพราะโอกาสที่จะ ค้นพบ นั้นมมี ากกว่าการส่มุ หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 2. ใช้คํามากกว่า 1 คําที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพธ์ที่มีขนาดแคบลง และ ช้เี ฉพาะมากขึ้น 3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพยนตร์ก็ ควร เลือกใช้ Search Engine ท่ใี หบ้ รกิ ารใกล้เคยี ง เพอ่ื ผลลพั ธท์ ่ไี ดจ้ ะนา่ เชอ่ื ถือมากกว่า 4. ใส่เคร่ืองหมายคําพูดครอบคลมุ กลุ่มคาํ ทตี่ ้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่า ต้องการผล การคน้ หาท่มี ีคําในกลมุ่ นั้นครบและตรงตามลาํ ดับที่พมิ พ์ทุกคาํ เชน่ “free shareware" เปน็ ต้น 5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าต้องการให้ค้นหาคํา ดังกลา่ วแบบไม่ตอ้ งสนใจว่าตัวอักษรทไ่ี ดจ้ ะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังน้ัน หากตอ้ งการค้นหาคาํ ตรงตามแบบ ท่เี ขียน ไว้ ควรพมิ พด์ ว้ ยอกั ษรตวั ใหญแ่ ทน 6. ใช้ตวั เชอ่ื มทาง Logic หรือตรรกศาสตรเ์ ขา้ มาชว่ ยค้นหา ได้แก่

(1) AND คาํ สง่ั ค้นหาโดยจะตอ้ งมคี าํ นน้ั ๆ มาแสดงดว้ ยเท่านัน้ โดยไม่จําเปน็ วา่ จะต้องติดกัน เชน่ phonelink AND pager เปน็ ต้น

(2) OR คาํ สง่ั คน้ หาโดยจะต้องนาํ คําใดคําหนึ่งทพ่ี ิมพล์ งไปมาแสดง (3) NOT คําสง่ั ไม่ให้เลือกคํานัน้ ๆ มาแสดง เช่น food and cheese not butter คือ ใหท้ ํา การหา เวบ็ ท่เี กีย่ วข้องกบั food และ cheese แต่ตอ้ งไมม่ ี butter เป็นต้น

9

7. ใชเ้ ครอ่ื งหมายบวกลบคดั เลือกคํา + หนา้ คําท่ตี ้องการจริง ๆ - (ลบ) ใชน้ าํ หน้าคําท่ีไม่ต้องการ () ชว่ ยแยกกลุม่ คาํ เชน่ (pentium+Computer)cpu

8. ใช้เป็นตัวร่วม เช่น Com” เป็นการบอกให้หาคําที่มีคําว่า com ขึ้นหน้า ส่วนด้านท้ายจะเป็น อะไร ไมส่ นใจ “tor เปน็ การให้หาคําที่ลงทา้ ยดว้ ย tor ดา้ นหนา้ จะเปน็ อะไรไม่สนใจ

9. หลกี เลี่ยงการใชต้ วั เลข พยายามเลี่ยงการใช้คําค้นหาที่เป็นคําเด่ียว ๆ หรอื เปน็ คําที่มีตัวเลขป็น แต่ถ้าเลย่ี งไม่ได้ อยา่ ลมื ใสเ่ คร่อื งหมายคําพดู (" ") ลงไปด้วย เชน่ windows 10"

10. หลีกเลี่ยงภาษาพูด หลีกเลี่ยงคําประเภท Natural Language หรือเรียกง่าย ๆ ว่าคําหรือ ข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคําหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดได้ Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยได้มากในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้ แคบลง ซ่งึ จะทาํ ใหไ้ ด้รายช่อื เวบ็ ไซต์ ที่ตรงกบั ความต้องการของมากข้ึน

11. เลือกใช้ Help แตล่ ะเวบ็ จะมีปมุ่ help หรือ Site map ไวค้ อยชว่ ยเหลือ แตผ่ ใู้ ช้สว่ นใหญ่มัก มองขา้ ม help/site ท่ชี ว่ ยในการอธบิ ายออปชนั หรอื การใช้งาน/แผนผงั ปลกี ย่อยของแตล่ ะเวบ็ ไซต์

4.4 ประโยชน์ของ Search Engine เครื่องมือที่ช่วยในการค้นหา (Search Engine) มีประโยชน์อย่างมากต่อผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต

ทั่วไป เนื่องจากข้อมูลข่าวสารบนโลกอินเทอร์เน็ตมีมหาศาล และเมื่อผู้ใช้ต้องการข้อมูลสารสนเทศใด ๆ จําเป็น ต้องมเี คร่อื งมือทชี่ ่วยในการคน้ หา เพอื่ ให้ได้มาซง่ึ ข้อมูลสารสนเทศทผี่ ู้ใชง้ านต้องการ Search Engine มปี ระโยชน์ ดังนี้

1. คน้ หาเว็บท่ตี อ้ งการได้สะดวก รวดเรว็ 2. สามารถค้นหาแบบเจาะลกึ ได้ ไมว่ า่ จะเป็นรปู ภาพ ข่าว MP3 และอนื่ ๆ 3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทางทีจ่ ัดทาํ ไว้ เช่น download.com เว็บไซต์เก่ียวกบั ขอ้ มูล และ ซอฟตแ์ วร์ เป็นต้น 4. มคี วามหลากหลายในการคน้ หาข้อมูล 5. รองรบั การคน้ หาภาษาไทย

10 4.5 การสบื ค้นข้อมลู ดว้ ย Google

Google Search Engine เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการในการค้นหาข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต โดยการ ค้นหาข้อมูลจากข้อความ หรือตัวอักษรที่พิมพ์เข้าไป แล้วทําการค้นหาข้อมูล รูปภาพ หรือเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้อง นํามาแสดงผล

4.5.1 Google Search Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

ของเว็บไซต์ Google.com โดยผู้ใช้งานสามารถเข้าเว็บไซต์ www.google.com จากนั้นพิมพ์คําหรือข้อความ (Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการค้นหา แล้วกดปุ่ม Enter เพียงเท่านี้ Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Keyword เหล่านั้นทันที ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์ เท่านั้น แต่ Google Search ยังสามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ (Images) กลุ่มข่าว (News Groups) และ สารบบเวบ็ (Web Directory) ให้อกี ด้วย

รูปที่ 4.4 Google Search (ท่ีมา : www.google.com)

4.5.2 รปู แบบการค้นหาข้อมูลดว้ ย Google ทีค่ วรทราบ การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการนําทางการค้นหา

อย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย จะทําให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทําให้ ผใู้ ช้ได้ข้อมลู ท่ตี รงกบั ความตอ้ งการมากขึ้น เครอื่ งหมายทีส่ ามารถนาํ มาช่วยในการคน้ หาได้ มดี งั นี้

11 1. การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคํา โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในการค้นหาข้อมูล จากการพิมพ์ Keyword ประเภท Common Word (คํางา่ ย ๆ) เชน่ at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครงั้ คาํ เหลา่ น้ีเปน็ คําสําคญั ของประโยคทผ่ี ้ใู ชจ้ ําเปน็ ต้องคน้ หา ดังนนั้ เคร่ืองหมาย + จะช่วยเชื่อมคํา โดยมีเงื่อนไขว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการ ค้นหาเวบ็ ไซตเ์ ก่ยี วกับเกมทม่ี ชี ื่อว่า Age of Empire ถ้าผใู้ ชพ้ มิ พ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทําการ ค้นหาแยกคําโดยไม่สนใจคําว่า of และจะค้นหาคําว่า Age หรือ Empire เพียง สองคํา แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age+of Empire แบบน้ี Google จะทาํ การค้นหาทงั้ คําวา่ Age, of และ Empire

รูปท่ี 4.5 ผลการคน้ หาคําว่า Age+of Empire 2. ตัดบางคาํ ทีไ่ มต่ ้องการคน้ หาดว้ ยเคร่ืองหมายลบ (-) จะชว่ ยให้ผใู้ ชส้ ามารถตัดเร่ือง ที่ ผู้ใช้ไม่ตอ้ งการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ท่ีเกี่ยวกบั การล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การลอ่ งแก่งทีเ่ กย่ี วข้องกับจังหวดั ตาก ให้ผู้ใชพ้ ิมพ์ Keyword วา่ ลอ่ งแก่ง จงั หวัดตาก (เชน่ เดียวกบั เครือ่ งหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้าเครื่องหมายด้วย) Google จะทําการค้นหาเว็บไซต์ที่ เกี่ยวกับการล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัด ตากเขา้ มาเก่ยี วขอ้ ง

12

รูปที่ 4.6 ผลการคน้ หาคําวา่ ลอ่ งแก่ง – จังหวดั ตาก 3. การค้นหาด้วยเครื่องหมายคําพูด ("") สําหรับการค้นหาคํา Keyword ที่มีลักษณะ เป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคําที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทุกคําในประโยค โดยไม่แยกคํา เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหา เว็บไซต์ เก่ยี วกบั เพลง ท่ีมีชื่อวา่ If I Let You Go ใหพ้ มิ พ์ว่า "If I Let You Go" จากนัน้ Google จะทําการ คน้ หาประโยค " If Let You Go” ท้งั ประโยคโดยไมแ่ ยกคําคน้ หามาให้

รูปท่ี 4.7 ผลการค้นหาคาํ ว่า "If I Let You Go"

13

4. ไม่จําเป็นต้องใชค้ ําว่า "AND” ในการแยกคําค้นหาแต่เดมิ การใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คําในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคํา ผู้ใช้จําเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคําเหล่านั้น ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้ว เพราะ Google จะทําการแยกคําให้โดยอัตโนมตั ิเมื่อผู้ใช้ทําการเว้นวรรคคําเหลา่ น้ัน เช่น ถ้าผู้ใช้ พิมพ์คําว่า Thai Travel Nature เมื่อคลกิ ปุ่มค้นหา กจ็ ะพบวา่ ในรายช่ือหรือเน้ือหาของเว็บทปี่ รากฏจะมี คําว่า Thai, Travel และ Nature อย่ใู นน้นั ดว้ ย

รูปที่ 4.8 ผลการค้นหาคาํ ว่า Thai Travel Nature 5. Google จะไม่สนใจใน Common Word คําศัพท์พืน้ ฐาน เช่น the, where, is, how, a, to และอื่น ๆ รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรเดี่ยว ๆ Google มักไม่ให้ความสําคัญและใส่ใจที่จะค้นหา เนื่องจาก เครือ่ งมือที่ Google ใชจ้ ดั เกบ็ และรวบรวมเวบ็ ทวั่ โลกจะค่อนขา้ งเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่ มีคาํ เหล่าน้ี (ซึง่ มีเยอะมาก ๆ) แต่ถ้าหากจําเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย "น" ในการเชื่อมคําเหล่านี้ด้วย หรืออีกทางก็คือผู้ใช้ อาจจะระบุคําท่ีต้องค้นหาทง้ั หมดในรปู ของวลภี ายใตเ้ ครอื่ งหมาย " " 6. ค้นหารูปภาพได้ง่าย ความสามารถที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ชอบกันนัก และสร้างชื่อให้กับ Google ก็คือการค้นหารปู ภาพดว้ ย Google Search วธิ ีการใช้คอื (1) คลิกเมนูลิงก์ ค้นรูป จากนั้นก็พิมพ์ชื่อภาพที่ต้องการค้นหา และคลิกปุ่มค้นหา รูปภาพ ดังรปู ท่ี 4.9

14 คลิกทเ่ี มนูลง้ิ ก์ คน้ รปู

รปู ท่ี 4.9 คลกิ เมนูล้ิงก์ ค้นรปู และพิมพช์ ื่อภาพทตี่ ้องการค้นหา (2) จะปรากฏรูปภาพทั้งหมดที่ตอ้ งการดงั รูปที่ 4.10

รูปท่ี 4.10 ผลการค้นหารปู

15

ใบงาน 4.1 สรุปองค์ความรู้

คำสั่ง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุม่ ศึกษาเนื้อหาแล้วสรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ (Mind mapping) หน่วยท่ี 4 การใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมลู สามารถใชโ้ ปรแกรม หรือแอพพลิเคช่ัน ที่มคี วามถนัด หรอื จะวาดเขียนลงในกระดาษ แล้วนำสง่ ในห้องเรยี น Classroom

16

ใบงาน 4.2

คำส่ัง ตอบคำถามใหส้ มบูรณ์ 1. “การสืบคน้ ” หมายถงึ อะไร 2. “การสบื ค้นข้อมลู ” มคี วามหมายวา่ อย่างไร 3. โปรแกรมคน้ หาขอ้ มูล (Search Engine) หมายถงึ อะไร 4. โปรแกรมคน้ หาข้อมูล (Search Engine) แบง่ ออกเปน็ กี่ประเภท อะไรบ้าง 5. การใช้งานโปรแกรมค้นหาข้อมูล (Search Engine) ผู้ใช้ควรมคี วามรู้เกยี่ วกับการคน้ หาก่ีวิธี อะไรบ้าง

17

แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 2

คาํ ช้แี จง ให้นักเรยี นทาํ เคร่ืองหมายกากบาท (X) ทับขอ้ ที่เหน็ วา่ ถกู ต้องท่สี ดุ เพียงข้อเดยี ว 1. คาํ วา่ “การสบื คน้ ” หมายถึงข้อใด ก. การคน้ หาข้อมูล ข. การค้นหาข้อเทจ็ จรงิ ค. การหาผลลพั ธจ์ ากอินเทอรเ์ น็ต ง. การสืบเสาะคน้ หาเร่ืองใดเร่อื งหนึ่ง ซง่ึ อาจจะไดร้ บั คําตอบในรูปของบรรณานกุ รม

2. คาํ วา่ “การสบื ค้นข้อมลู " หมายถึงข้อใด ก. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ข. เครอ่ื งมือชว่ ยค้น ค. เครอื่ งมือหรือเว็บไซตท์ ่ีอํานวยความสะดวกในการสืบค้น ง. เคร่ืองมือชนิดหน่ึงที่ใชต้ ่อพ่วงกบั คอมพวิ เตอร์

3. โปรแกรมค้นหาข้อมูล (Search Engine) หมายถึงขอ้ ใด ก. เครื่องมือช่วยค้น ข. การคน้ หาข้อเท็จจรงิ ค. เครอื่ งมือหรือเว็บไซตท์ ่ีอาํ นวยความสะดวกในการสืบค้น ง. การหาผลลัพธจ์ ากอินเทอร์เน็ต

4. โปรแกรมค้นหาข้อมูล (Search Engine) แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท

18

5. วิธีการใชง้ านโปรแกรมค้นหาข้อมูล (Search Engine) ก. 6 วิธี ข. 5 วิธี ค. 4 วิธี ง. 2 วธิ ี

6. ขอ้ ใดคือเทคนิคในการคน้ หาขอ้ มูล ก. การคน้ หาจากเว็บไซต์ ข. บีบประเดน็ ให้แคบลง ค. การนาํ เทคโนโลยสี มัยใหม่มาใช้ ง. การใชเ้ วบ็ ไซต์ทีท่ ันสมัย

7. เครอื่ งมือช่วยค้นแบ่งออกเปน็ ประเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท

8. Meta Search Engine คือข้อใด ก. การใช้เว็บไซตท์ ่ีทันสมัย ข. การคน้ หาจากเว็บไซต์ ค. การนาํ เทคโนโลยมี าใช้ ง. เปน็ เครอ่ื งมือสืบค้นท่ีไม่มฐี านขอ้ มูลของตนเอง

19

9. ข้อใดคือเทคนคิ พน้ื ฐานในการคน้ หาสารสนเทศ ก. การนาํ เทคโนโลยีมาใช้ ข. สงิ่ ที่กาํ ลังค้นคืออะไร ค. การคน้ หาจากเวบ็ ไซต์ ง. การใชเ้ ว็บไซต์ที่ทันสมยั

10. การสบื ค้นขน้ั สงู (Advanced Search) เปน็ การสืบค้นแบบใด ก. การนาํ เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ ข. การค้นหาข้อเท็จจรงิ ค. การสบื คน้ ข้อมลู ทีเ่ จาะจงมากขนึ้ ง. การคิดวา่ สง่ิ ท่ีกาํ ลังคน้ คืออะไร

20

Search Engine มี3ประเภทอะไรบ้าง

เสิร์ชเอนจิน คืออะไร มีกี่ประเภท.

1. Crawler based หรือแบบที่ใช้ตัวไต่ Search Engine ชนิดแรกเป็นประเภทใช้ software ที่เขียนขึ้นมาเรียกว่ ตัวไต่ (web crawler ) ... .

2. เว็บไดเร็กทอรี่ ... .

3. แบบลูกผสม (Hybrid).

Search Engine คือ อะไร พร้อมยกตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง

Search Engines คืออะไร สำหรับ Search Engines ปัจจุบันมีมากมายหลายเจ้าให้เราเลือกใช้งาน เช่น กูเกิล (Google) ไป่ตู้ (Baidu) คูล (Cuil) ยานเดกซ์ (Yandex) และอีกหลายๆ เว็บไซต์ แต่ทุกเจ้าจะมีหลักการค้นหาและแสดงผลที่คล้ายๆ กัน อาจจะแตกต่างไปที่ความนิยมของประเทศนั้นๆ หรือแตกต่างกันในเรื่องของฟีเจอ

Search Engine มีทั้งหมดกี่ประเภท อะไรบ้าง

ในปัจจุบันมีจะมี Search Engine ที่คนนิยมใช้กันอยู่ 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ Crawler Based เป็นประเภทของ Search Engine ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ได้แก่ Google Yahoo Bing Baidu โดยผู้ให้บริการจะส่ง Bot ไปเก็บข้อมูลมาเพื่อจัดทำดัชนี ค้นหาและจัดอันดับต่อไป

ประโยชน์ของ Search Engine มีอะไรบ้าง

ประโยชน์ของ Search Engines.

ค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว.

ค้นหาข้อมูลได้อย่างละเอียด และหลากหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น ข่าว เพลง รูปภาพ และอื่นๆ เป็นต้น.

ค้นหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์เฉพาะทางต่างๆ ได้ เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับ ขาย Software หรือ เว็บไซต์รับทำการตลาดออนไลน์ เป็นต้น.

ค้นหาข้อมูลได้อย่างหลากหลาย.