Morphvox pro ไม ม ให เปล ยนเส ยง

38

ของผู้อ่านไม่น่าเบื่อก็คือ “การตั้งคำถาม” ผู้อ่านอาจตกใจว่าการตั้งคำถามจะ ทำให้คาบเรียนของคุณผู้สอนสนุกได้อย่างไร ไม่ใช่ว่าทำให้ผู้เรียนหลับไปเลย หรอื การต้งั คำถามที่ดี สามารถเปล่ยี นคาบเรยี นสุดหาวใหก้ ลายเป็นคาบสดุ ว้าว ได้ง่าย ๆ เลย

การตั้งคำถามในชั้นเรียน (Classroom Questioning) นอกจากจะเป็น เครื่องมือหนึ่งในการใช้จัดการห้องเรียนแบบทั่ว ๆ ไป ก็ยังสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับห้องเรียนแบบออนไลน์ได้เช่นกัน ถ้าผู้สอนตั้งคำถามได้ดี รู้จักแบ่งช่วงถามคำถาม ให้ผู้เรียนคิดตามได้ หรือสามารถใช้คำถามดึงความ สนใจผเู้ รยี นไดอ้ ยูห่ มดั คาบเรียนออนไลน์ของคณุ ผูอ้ ่านก็จะสนุก น่าเรียนรู้มาก ขึ้นแน่นอน ผู้สอนอาจใช้เทคนิค เครื่องมือ หรือสื่อการสอนอื่น ๆ มาช่วยเพ่ิม สีสัน และความสนุกให้ผู้เรยี นตอบคำถามดว้ ยก็ได้ หรือจะนำหลักการเสริมแรง ทางบวกมาใช้ เช่น การให้ของรางวัลเล็ก ๆ น้อย ๆ การชื่นชมเมื่อร่วมกัน แลกเปลี่ยนคำตอบ หรือการให้คะแนนพิเศษเมื่อตอบคำถามได้ครบถ้วนถูกใจ ผ้สู อนก็ได้

39 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ ก็อยากตอบ

ควำมสำคัญของ Classroom Questioning

สิ่งสำคัญที่สุดของการเรียนการสอน คือการประเมินว่าผู้เรียนสามารถเข้าใจใน เนื้อหาท่ีผู้สอนต้องการสื่อออกไปมาน้อย เพียงไหน การประเมินที่ดีที่สุดก็คือการ ประเมินโดยผู้เรียนว่า “ฉันรู้เรียนมากแค่ ไหน” หรือ “ส่วนไหนที่ฉันยังไม่เข้าใจอีก บ้าง” การถามคำถามของผู้สอนจะ กลายเป็นเครื่องมือที่ช่วยทำให้คำตอบของ ผู้เรียนกระจ่างมากขึ้นนั่นเอง ดังนั้นตลอด การจัดกิจกรรมการเรียนการออนไลน์ ผู้สอนสามารถใช้เทคนิคการถาม - ตอบ หรือการถามเพื่อกระตุ้นความสงสัยของ ผู้เรียนหรือเพื่อตรวจสอบระดับความเข้าใจ ในเนอื้ หาได้ตลอดการสอนท้ัง 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่ ช่วงนำสู่บทเรียน ช่วงดำเนินกิจกรรมการสอน และช่วงสรุปบทเรียน โดยใช้ คำถามปลายเปิดกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด การสงสัยตาม กระบวนการของ Active Learning ซงึ่ การหลกั การตัง้ คำถามท่ีดใี นแตล่ ะช่วงของ การจัดการเรียนการสอนอาจแตกต่างกันเล็กน้อย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของ ผู้สอนว่าต้องการวัดระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนขั้นใด ซึ่งในหัวข้อนี้ ผเู้ ขยี นขอแนะนำหลักการใช้คำถาม ในการเปลี่ยนหอ้ งเรียนออนไลน์ที่เงียบเหงา ใหก้ ลายเปน็ หอ้ งเรียนทแ่ี สนสนกุ และน่าสนใจมากขน้ึ กนั ดีกว่าครบั

40

7 เทคนิคกำรใชค้ ำถำม สรำ้ งห้องเรยี นออนไลน์สุด สนุก

การใช้สอนโดยใช้คำถาม เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดการชั้นเรียนท่ี น่าสนใจที่ผู้สอนสามารถนำมาปรับใช้ได้ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิด ทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) ซึ่งเป็นหนึ่งในทักษะการ เรียนรู้ที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 ซึ่งการที่ผู้สอนจะตั้งคำถามและสามารถใช้ คำถามให้ดีได้นั้น ควรคำนึงถึงความสำคัญของการตั้งคำถาม รวมไปถึงการ สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการใช้คำถามในการถาม-ตอบภายในชั้นเรียน ซึ่งการ เรียนการสอนแบบออนไลน์ก็สามารถสร้างสีสันความสนุกในการใช้คำถามของ ผู้สอนได้ดีทีเดียว ในส่วนนี้ผู้เขียนจึงอยากเสนอ 7 เทคนิคการใช้คำถาม ที่ สามารถสรา้ งห้องเรยี นใหส้ นุก และมีประสทิ ธภิ าพไปพร้อม ๆ กัน

41 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ กอ็ ยากตอบ

“Bloom’s Taxonomy

กับกำรต้ังคำถำม?”

เทคนิค ท่ี 1

กำหนดกรอบคำถำมด้วย Bloom’s Taxonomy

สำหรบั ผ้อู า่ นทอ่ี ยูใ่ นแวดวงด้านการศกึ ษาอาจไดย้ ินเรื่องราวของ Bloom’s Taxonomy กนั มาค่อนขา้ งเยอะ นนั่ คอื ทฤษฎกี ารเรียนรยู้ อดฮติ ท่ีผู้สอน หลาย ๆ ท่านชอบนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นออกแบบชน้ั เรยี น สำหรับการตงั้ คำถามท่ี ดกี ส็ ามารถนำทฤษฎีการเรยี นรนู้ ีม้ าเป็นตัวช่วยในการวางแผนการออกแบบ คำถามของผู้สอน ใหต้ รงจดุ ประสงคว์ ่าอยากเหน็ ผู้เรยี นแสดงพฤติกรรมการ เรียนรูแ้ บบใดออกมาได้เชน่ กัน โดยใชก้ ารเรยี นรดู้ า้ นพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ใน Bloom’s Taxonomy ท่มี ีจดุ ม่งุ หมายเปน็ แนวทางตั้งคำถามใหผ้ ู้เรียน เกดิ การเรยี นรู้ ยง่ิ ผูส้ อนคอ่ ย ๆ ยกระดบั การเรยี นรู้ของผู้เรยี นจากระดบั ต่ำสุด ข้ึนไปจนถึงสงู สุดได้ก็จะทำให้คาบเรียนออนไลน์ทเ่ี อาแต่นง่ั จดอย่หู น้า คอมพิวเตอรใ์ ห้กลายเป็นคาบเรยี นแบบ Active Learning ท่ีมีประสิทธิภาพมาก ข้ึน

42

รปู ภาพ 1 (ทีม่ า: KingClass Academy, การเรยี นรดู้ ้านพุทธพิ สิ ัย (Cognitive domain), 2561)

ตวั อยา่ งสถานการณ์ : คุณครรู ะดับชน้ั ประถมศึกษาตอ้ งการสอนให้ผ้เู รียนรเู้ รื่อง “ขอ้ มลู สารสนเทศ” คุณครูอาจใชค้ ำถามเพอ่ื กระต้นุ การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นไดด้ ังน้ี

ระดบั จดุ มงุ่ หมาย ตวั อย่าง ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั

ระดบั ความรู้ความจำ “ขอ้ มลู ” คอื อะไร?

ระดับความเขา้ ใจ อธิบายลกั ษณะของคำว่า “สารสนเทศ” ?

ระดบั การนำไปใช้ ใหน้ ักเรียนปรับปรงุ กลอนบทน้ใี ห้สมั ผัสถกู ต้อง?

ระดับการวิเคราะห์ นกั เรยี นจะแยกแยะความแตกตา่ งของ “ข้อมูล” และ“สารสนเทศ” ได้อยา่ งไรบ้าง?

ระดบั การประเมนิ นกั เรียนคิดวา่ ขอ้ มลู สารสนเทศมปี ระโยชน์อย่างไร?

ระดับการสร้างสรรค์ ใหน้ ักเรียนจะมกี ระบวนการในการประมวลผล ขอ้ มูลให้กลายเปน็ สารสนเทศไดอ้ ย่างไร?

43 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ กอ็ ยากตอบ

“เรม่ิ จำกงำ่ ย

ไปสู่ท้ำทำย”

เทคนิค ท่ี 2

ใชค้ ำถำมงำ่ ย ๆ ก่อนในชว่ งต้น

ในช่วงต้นของการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนควรเริ่มถามคำถามง่าย ๆ ก่อน เพิ่ม ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตัวผู้เรยี น อาจ ถามเป็นรายบุคคลหรือทั้งชั้นเรียนให้ร่วมกันหา คำตอบก็ได้ หรือใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความ เข้าใจ หรือใช้เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนที่กำลังสับสน ในเนื้อหาก็ได้ เช่น “เราสามารถใช้การคูณมา ช่วยหาคำตอบปัญหานี้ แทนการบวกซ้ำ ๆ ได้ หรือไม่” แลว้ จงึ เรม่ิ ขยบั ไปสู่การถามคำถามท่ีท้า ทายกระบวนการคิดในข้ันสูงขึน้ เช่น “ผูเ้ รยี นคดิ ว่าการคณู ดกี ว่าการบวกซำ้ อย่างไร ?”

44

“เรมิ่ ต้นดี มชี ยั กวำ่ คร่งึ ”

เทคนิค ที่ 3

คำถำมนำสู่บทเรยี น ใครวำ่ ไมส่ ำคัญ

“เรม่ิ ตน้ ดี มชี ัยกว่าครง่ึ ” อาจเปน็ คำคมที่สามารถใชไ้ ด้ในการจัดการสอน ออนไลน์ด้วยคำถามเช่นกัน ในช่วงนำสู่บทเรียนก็เป็นการเริ่มต้นทีด่ ี ที่ผู้สอนจะ ได้ใชค้ ำถามในการกระตนุ้ ความอยากร้อู ยากเหน็ ของผู้เรยี นกอ่ นจะเชอื่ มโยงไปสู่ เนื้อหาหลักของการสอนในช่วงถัดไปได้ หรือผู้สอนอาจใช้คำถามเพื่อสำรวจ ความพร้อม หรือพื้นฐานความรู้เล็ก ๆ ของผู้เรียนก่อนเริ่มดำเนินกิจกรรมก็ได้ เช่น “ถ้าผู้เรียนมีมือถอื 1 เครื่อง ผู้เรียนจะนำไปทำอะไร?” “ใหผ้ ู้เรยี นลองทาย วา่ รอบ ๆ ตวั เรา มเี ทคโนโลยสี ารสนเทศใดบา้ ง?”

45 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ ก็อยากตอบ

“กระตุ้นนิดหน่อยด้วย

Active Thinking”

เทคนิค ที่ 4

ทำคำบเรยี นใหไ้ มน่ ่ำเบ่อื ด้วยคำถำมกระตุ้นกำรเรยี นรู้

การดึงความสนใจให้ผู้เรียนอยู่หน้าจอได้จนจบการเรียนรู้ ผู้สอน จำเป็นต้องใช้คำถามที่กระตุ้นความท้าทายของผู้เรียนในการหาคำตอบ เพ่ือ ส่งเสริม Active Thinking ให้ผู้เรียนได้สังเคราะห์ความรู้ และเชื่อมประสบการณ์ หรือความรู้เดิมได้ อาจเป็นคำถามปลายเปิดที่สามารถตอบได้หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแบ่งปันความคิดเห็นกันได้ในช้ัน เรียน เช่น “A,B,C อักษรเหล่านี้จัดเป็นข้อมูลหรือสารสนเทศ? เพราะเหตุใด?” “ผู้เรยี นคิดว่าข้อมูลหรือสารสนเทศแตกต่างกนั อย่างไร?”

46

“ถำมได้ สรปุ ดี ส่งเสรมิ

Long-Term Memory”

เทคนิค ท่ี 5

บทสรปุ ท่ีเป็นกวำ่ กำรสรปุ

การใช้คำถามในชว่ งสรุป ควรเป็นคำถาม ที่ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงเนื้อหา หรือเป็น การเรียกคืนความรู้ที่ได้รับในช่วงเรียนรู้ เพ่ือ ส่งเสริม Long-Term Memory ผู้สอนควรเน้น คำถามที่ใช้หลักการคิดที่มีระดับขั้นสูงมากกว่า การรจู้ ำ และสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นเหน็ ประโยชนข์ อง บทเรียนว่าเรยี นแลว้ ดอี ยา่ งไร และจะนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร เพ่ือให้ผูเ้ รียน เปิดใจรับการเรียนรู้ในครั้งถัดไปได้ดีมากยิ่งขึ้น เช่น “ผู้เรียนคิดว่าเทคโนโลยี สารสนเทศมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร?” “ยกตัวอย่างเหตุการณ์ใน ชวี ิตประจำวันที่เกย่ี วข้องกบั การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศคนละ 1 ตวั อยา่ ง”

47 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ กอ็ ยากตอบ

“ถำม-ตอบไมน่ ่ำเบ่ือ

ลองใชอ้ โี มจชิ ว่ ยดู”

เทคนคิ ที่ 6

ใส่ลกู เล่นตอบคำถำม

ลดควำมน่ำเบ่อื

ในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ อาจไม่สะดวกในการตอบคำถามทีละคน แต่ผู้สอนก็สามารถให้ผู้เรียนร่วมกันตอบ คำถามผ่านช่องทาง Meeting Chat ได้ หรือใช้สัญลักษณ์อื่นแทนการตอบคำตอบ ได้เช่นกัน เพื่อดึงดูดความสนใจของ ผู้เรียนในการเรียน เช่น “ใครคิดว่า A,B,C เป็น‘ข้อมูล’ให้กดอิโมจิรูปหัวใจ ส่วนใคร คิดว่าเป็น‘สารสนเทศ’ให้กดอิโมจิรูป หัวเราะ” โดยใหผ้ เู้ รยี นร่วมกันตอบคำถาม โดยใช้ฟังก์ชัน Reaction ใน Platform ที่ ใชใ้ นการสอน

48

“เคร่อื งมือสรำ้ งสีสัน

เรยี นสนุก ตอบสบำย”

เทคนิค ที่ 7

เพ่ิมสีสันควำมสนุก ด้วยเคร่อื งมือตอบคำถำม

ในช่วงท้ายของการเรียนการสอน ผู้สอนอาจใช้เครื่องมือช่วยสอน ในการ เพิ่มความสนุกสนานก่อนจบชั้นเรียนด้วยเครื่องมือช่วยตอบคำถาม ซึ่งมีหลาย รูปแบบอาจเป็นในรูปแบบของเกมส์ หรือการแข่งขัน ผู้สอนอาจเพิ่มแรงจูงใจใน การร่วมตอบคำถามด้วยการให้คะแนนเสริม เพื่อให้ผู้เรียนสนใจคำถามมากข้ึน ซึ่งเครื่องที่ใช้ในการตอบคำถามแต่ละเครื่องมือก็จะมีรูปแบบและฟังก์ชันการใช้ งานที่แตกต่างกันไป เช่น Blooket.com, kahoot.it, vonder.co.th เป็นต้น ดังน้ัน ผู้สอนจึงควรศึกษารูปแบบและวิธีใช้งานให้ดีก่อน เพื่อจะได้ประยุกต์ใช้งาน เครอ่ื งมือต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ชั้นเรียนของผสู้ อนเอง

49 Chapter 4 Questioning โดนใจ ใคร ๆ กอ็ ยากตอบ

50

Chapter 5 Attract Attention สอนสดุ มนั ส์ไมม่ เี บือ่

กำรนำเสนอ

เทคนิคการดึงดูดความสนใจจากส่ือ ออนไลน์ การเรียนออนไลน์ผู้สอนจะเป็นผู้ส่งสารฝ่ายเดียว เนื่องจะมีเพียงผู้สอนท่ี จะพดู ตามสไลด์ หรอื ส่ือการสอนแบบเดมิ ๆ จงึ เป็นสาเหตุท่ีทำใหเ้ ด็กเบื่อหน่าย ในการเรียน ซึ่งทำให้บรรยากาศในการเรียนดูน่าเบื่อ และความอยากรู้อยาก เรียนของตัวนักเรียนก็จะน้อยลงไป บ้างคนอาจเปิดทิ้งไว้แล้วหนีไปนอน หรือไป ทำกิจกรรมอย่างอื่นมากกว่าการมานั่งเรียน จึงทำให้ประสิทธิผลของการเรียน ออนไลนล์ ดลงไปเร่อื ย ๆ

“ กระต้นุ ผู้เรยี นให้

เกิดควำมอยำกรู้

อยำกเรยี น ”

ผู้สอนจึงควรมีเทคนิคในดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ ผเู้ รียนเกดิ ความอยากรู้อยากเรยี น มีความสนใจในการเรียนอยูเ่ สมอ โดยการจะ ดึงดูดความสนใจนักเรียนนน้ั สามารถทำได้ต้ังแต่ กอ่ นเข้าส่บู ทเรยี น ระหว่างการ เรียน และช่วงสรุปบทเรียนเพื่อให้นักเรียนมีความสนใจ อยากมีส่วนร่วมของ การเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาโดยจะมีเทคนิคมาแนะนำสำหรับผู้สอน เพื่อที่จะดึงดูด ความสนใจของผ้เู รยี น ใหอ้ ยากมีสว่ นรว่ มในการเรียนอยเู่ สมอ เทคนคิ ตา่ ง ๆ

52

Super Sound เสียงดังก้องกังวำน

ก่อนเข้าสูบ่ ทเรียน ระหว่างการเรียน และช่วงสรุป

การเรียนอบอทนเไรลยี นน์ โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีแต่ผู้สอนเท่านั้นที่เป็นผู้พูด

บางครั้งในการ ตอบคำถามในช่วงการสอนออนไลน์ ก็ดูน่าเบื่อจนเกินไปเพราะ

เน่อื งจากมเี พยี งเสียงพดู ของผู้สอนเทา่ นัน้

จึงมีการแนะนำเทคนิค Super Sound เสียงดังก้องกังวาน ที่ใช้

Sound Effect มาช่วยในการสร้างบรรยากาศในการเรียนให้มีความน่าสนใจ

ตื่นเต้นมากยิ่งขึ้น เพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียนให้อยากมีส่วนร่วมในการ

เรียน การตอบคำถามมากยิ่งขึ้นเช่นถ้านักเรียนตอบคำถามถูก อาจจะเป็นเสียง

ปรบมอื

ไม่เพียงกว่านั้น Sound Effect สามารถช่วยเป็นตัวกำหนดสิ่งต่าง ๆ ได้

เช่น ถ้ามีการจบั เวลาในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ ก็สามารถเพิ่ม Sound Effect มา

ช่วยเพ่ือใหน้ ักเรยี นทกี่ ำลังทำกิจกรรมนั้นร้ตู ัวกอ่ นได้

เสียงจาก Sound Effect นั้นสามารถเลือกได้มากมายและหลากหลาย

แหล่ง เพื่อเลือกตามความเหมาะสมของการเรียนการสอนนั้น ๆ รวมถึงความ

สะดวกของผ้สู อนด้วย “

แก้ควำมนำ่ เบ่อื ด้วย

Sound Effect

53 Chapter 5 Attract Attention สอนสดุ มนั สไ์ ม่มเี บื่อ

1. Application Funny Sound Effect + สำหรับระบบปฏิบัตกิ าร iOS สามารถ โหลดฟรี โดยภายใน App Store

ขอ้ ดี 1. Application ฟรี สำหรบั iOS 2. ใช้งานงา่ ยเนอ่ื งจาก ในแตล่ ะเสยี งจะมชี ่ือและรปู สญั ลักษณท์ ่ี

ชัดเจน 3. มเี สียงมากมายและหลากหลายและสามารถโหลดเพม่ิ เตมิ ได้

ขอ้ เสยี 1. มีเพียงสำหรบั ระบบปฏบิ ตั กิ าร iOS เทา่ น้ัน 2. ไมม่ ีคีย์ลัดในการกด Sound ตอ้ งเลอื กหา Sound เอง

Funny Sound Effect +

iOS, ipadOS, macOS

54

2. Application Sound Effects สำหรับระบบปฏิบัติการ iOS และ Android สามารถโหลดฟรี โดยภายใน App Store และ Play Store

ขอ้ ดี 1. สามารถโหลดได้ท้งั 2 ระบบปฏิบัตกิ าร 2. สามารถเลือกหมวดหมขู่ องSound Effectได้ 3. มี Sound Effect ให้ใชเ้ ป็นจำนวนมาก

ขอ้ เสยี 1. เลือกใช้เสียงยากเพราะไมม่ ีสญั ลักษณ์เปน็ รูปภาพ หรอื Icon

ทชี่ ดั เจน 2. ถา้ จะโหลดเสียงเพิม่ เตมิ ตอ้ งเสยี เงนิ

Sound Effects

Android iOS

55 Chapter 5 Attract Attention สอนสดุ มนั ส์ไม่มเี บอื่

3. Program Jingle Palette สำหรับระบบปฏิบัตกิ าร Windows โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ Sound Effect ดูน่าสนใจมากยิ่งข้ึน

เพราะสามารถปรับแต่งเสียงได้มากมายและหลากหลาย รวมถึงสามรถสร้างปุ่ม ลัดในการกดให้มีเสยี งต่าง ๆ ออกมาได้

ขอ้ ดี 1. โปรแกรมสามารถเพม่ิ เสียงตา่ ง ๆ เขา้ มาไดม้ ากมาย 2. สามารถสรา้ งปุ่มลดั ในการกดใหม้ ีเสยี งตา่ ง ๆ ได้ 3. สามารถใหเ้ ล่นเสยี งต่อเน่ืองได้ 4. โปรแกรมสามารถ Download ไดฟ้ รี

ขอ้ เสยี 1. ความย่งุ ยากในการติดตง้ั โปรแกรมและการเพ่มิ เสียง ร่วมถงึ

การสรา้ งป่มุ ลัด 2. การเช่ือมเสยี ง กับโปรแกรมอื่น ๆ เพือ่ ใหม้ ี Sound Effect ใน การสอนออนไลน์ 3. การจำกดั เวลา และจำนวนคร้ังในการกดเสียง

Jingle Palette

Windows

56

Filter ใหม่ ไฉไลกวำ่ เดิม

เตรียมตัวกอ่ นเรยี นการสอน บ่อยครั้งที่การเรียนการสอนออนไลน์โดยผู้สอนต้องเปิดกล้องในการสอน ซึ่งส่วนใหญ่ผู้สอนจะเปลี่ยนเฉพาะพื้นหลังเท่านั้น ซึ่งอาจจะไม่กระตุ้นความ สนใจของผเู้ รยี น จึงทำใหผ้ ้เู รียนไม่สนใจในการเรียนลดน้อยลง จงึ แนะนำเทคนิค Filter ใหม่ ไฉไลกวา่ เดมิ โดยการเพม่ิ Filter บทใบหนา้ หรือรูปพื้นหลังให้มีความหลากหลาย มีลูกเล่นเพือ่ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ใหม้ คี วามต่นื เตน้ มากยงิ่ ขน้ึ ไม่เพียงเท่านั้น Filter สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับสื่อการสอนของ รายวิชาน้ัน ๆ ไดอ้ ีกด้วยโดยในการสอนออนไลน์ผู้เรียนอาจไม่เคยได้เห็นกับส่ิงท่ี สอนจริง ๆ โดยผู้สอนก็สามารถนำ Filter มาปรับใช้ในกิจกรรมการสอนได้ เชน่ การสอนเกี่ยวกับองคป์ ระกอบคอมพิวเตอร์ ผู้สอนสามารถนำ Filter ที่เกี่ยวข้อง กบั คอมพิวเตอรม์ าช่วยในการสอนได้

“กระต้นุ ควำมอยำก

เสรมิ สรำ้ ง

ควำมร”ู้

** Filter หรือ AR Effect เป็นการจำลองภาพเสมือน

57 Chapter 5 Attract Attention สอนสดุ มนั สไ์ มม่ เี บอื่

1. Program Snap camera สามารถโหลดแล้วได้ทั้ง Windows และ macOS ภายใน โปรแกรมมี Filter ต่าง ๆ มากมายให้เลือกเช่น Filter หน้ากาก สัตว์ต่าง ๆ รวมถงึ การเปลี่ยนพ้ืนหลงั เพอื่ กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นสนใจมากยิง่ ข้ึน

ขอ้ ดี 1. สามารถโหลด Filter ได้มากหมายและหลากหลาย 2. โปรแกรมสามารถ Download ไดฟ้ รี 3. สามารถปรบั แต่งเองได้

ขอ้ เสยี 1. ความย่งุ ยากในการสลบั กลอ้ ง 2. บาง Filter จะตรวจจับใบหน้า ถา้ กล้องไม่ชดั หรอื กลอ้ งไม่ สามารถจับโฟกสั ได้ Filter อาจไมแ่ สดงผล

Snap camera

Windows และ macOS

58

2. Program OBS Studio สามารถโหลดได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows และ macOS โปรแกรม ที่สามรถปรับแต่งพื้นหลัง รวมถึง Filter ที่มาจากโปรแกรม อื่นได้ โดยความสามารถพิเศษของ Program OBS Studio คือปรับเปลี่ยน รปู แบบการสอนเหมือนกับการจดั รายการได้ เช่นการเปลี่ยนพ้ืนหลัง การแสดง Logo หรือการแสดงสอื่ ทห่ี ลากหลายหน้าจอ

ขอ้ ดี 1. สามารถใช้ Filter จากโปรแกรมอ่นื ได้ 2. เปล่ยี นพื้นหลังไดต้ ามตอ้ งการ 3. สามารถใชก้ ลอ้ งไดม้ ากกว่า 1 ตัว 4. เพิ่มส่ือการสอนได้อย่างอิสระ 5. โปรแกรมสามารถ Download ไดฟ้ รี

ขอ้ เสยี 1. Filter มีจำนวนน้อย 2. ความย่งุ ยากของการใช้โปรแกรม

OBS Studio

Windows และ macOS

59 Chapter 5 Attract Attention สอนสุดมันส์ไม่มเี บือ่

Hello น่ีเสียงใคร

ก่อนเข้าสูบ่ ทเรยี น ระหว่างการเรียน และช่วงสรุป เพ่ิมสิ่งที่นบา่ ทสเนรียใจนไปอีกแบบ กับการเปล่ยี นเสียงของผู้สอนให้น่าสนใจมาก ยิ่งขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การสอนออนไลน์โดยปกตินักเรียนอาจเบ่ือ หน่ายกับเสียงผู้สอน เพราะผู้สอนจะใช้เสียงเดิมซ้ำ ๆ เป็นประจำ ร่วมถึงความ เหน่ือยล้าของผู้สอนทต่ี ้องสอนผู้เรยี นทง้ั วัน จึงเป็นแนวคิดเทคนิค Hello นี่เสียงใคร เป็นเทคนิคที่นำโปรแกรม คอมพิวเตอร์มาช่วยในการแปลงเสียงผู้สอนให้น่าสนใจ โดยการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย และเป็นการเพิ่มเทคนิคการสอนแบบใหม่ ๆ ให้กับครู ไม่ว่าจะเป็นการเลี่ยนแบบเสียงสัตว์ เสียงนักบินอวกาศ เปลี่ยนเสียงผู้ชายเป็น ผ้หู ญิง ผู้สอนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการสอนได้เช่นการสอนเรื่องสัตว์ก็ สามารถแปลงเสียงเป็นเสยี งสัตว์ได้ จะทำใหบ้ รรยากาศในการเรียนนั้นดูน่าสนใจ และกระตุ้นผูเ้ รยี นให้ตง้ั ใจมากยิ่งขึน้

WHO ARE

YOU

60

1. Program VOICE MOD สามารถโหลดทงั้ ระบบปฏิบัตกิ าร Windows และ macOS โปรแกรมสามารถปรับเสียงไมค์ของครูผู้สอนให้แตกต่างไปจากเดิม โดยภายใน ตัวโปรแกรมจะมเี สียงใหเ้ ลือกมากมาย มากกว่า 40 เสยี ง โดยในแต่ละเสยี งจะมี เอกลักษณะท่แี ตกตา่ งกันออกไป โดยครผู ้สู อนสามารถปรบั เปลย่ี นได้

ข้อดี 1. โปรแกรมสามารถ Download ไดฟ้ รี 2. สามารถเปลย่ี นเสยี งของ ส่อื มเี ดีย 3. เปลยี่ นเสยี ง สนทนาไดแ้ บบ Real time

ขอ้ เสยี 1. เมอ่ื หมดช่วงทดลองใช้ ผู้ใชง้ านต้องเสียเงินเพ่อื จ่ายแบบราย เดือน 2. ไม่สามารถเพม่ิ เสียงที่อยากจะเปล่ยี นไดต้ ามต้องการ 3. ความซับซ้อนของการใช้งานโปรแกรม

VOICE MOD

Windows และ macOS

61 Chapter 5 Attract Attention สอนสุดมันส์ไม่มีเบือ่

1. Program MORPHVOX PRO สามารถโหลดท้ังระบบปฏิบัติการ Windows และ macOS โปรแกรมเปลยี่ นเสียงทีม่ เี สยี งฟรีให้เลอื กหลากหลาย และสามารถนำมา ปรบั เป็นเสยี ง Sound Effect ได้

ข้อดี 1. มีเสียงให้เลอื กหลากหลาย 2. มีปมุ่ ลัดสำหรบั การเลือกใช้เสยี งได้ 3. เสียงมคี ุณภาพท่ีดี 4. สามารถปรบั เสียงได้ตามต้องการ

ขอ้ เสยี 1.ความซบั ซ้อนในการใช้งาน 2. โปรแกรมมีตวั ทดลองใช้ และมีตัวทต่ี อ้ งเสยี เงิน โดยจะอยู่ ทรี่ าคา $39.99 USD

MORPHVOX PRO

Windows และ macOS

62

Add เข้ำไป

กอ่ นเข้าสู่บทเรยี น ระหว่างการเรยี น และชว่ งสรุปบทเรยี น การสอนนั้นไม่เพียงจะนำสื่อการสอนมาสอนเพียงเท่านั้น ผู้สอนสามารถ ยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริงมาพูดคุยแลกเปลี่ยนกับนักเรียน เพื่อมาดึงดูด ความสนใจของผู้เรียนได้ เช่น การตอบคำถาม จากภาพจริง หรือการเปิดคลิป วดิ ีโอ สถานทีจ่ ริง เพอ่ื ให้นักเรยี นไดเ้ หน็ ภาพและจนิ ตนาการตามสงิ่ ทีเ่ รยี น การเพิ่มความรู้ใหม่ให้กับผู้เรียนนั้นผู้สอนอาจต้องมีการนำเทคนิคต่าง ๆ ในบทเรียนก่อนหน้ามาใช้ เช่นบทการตั้งคำถามผู้สอนต้องมีการตั้งคำถามให้ น่าสนใจและสอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน แล้วยกตัวอย่างที่ชัดเจนเพื่อให้ผู้เรียน เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ไม่เพียงเท่านั้นผู้สอนสามารถนำกิจกรรมการสอนมา พัฒนาให้สื่อการสอนเหล่านั้นกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้ อยากเรียน อยากค้นหาความรใู้ หม่ ๆ ผา่ นทางส่ือออนไลน์ได้ โดยไดร้ ับคำแนะนำชแี้ นะจาก ผู้สอนเพอ่ื ให้การเรยี นน้นั เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

เรยี นรเู้ ร่อื งใหม่

เขำ้ ใจเร่อื งเก่ำ

63 Chapter 5 Attract Attention สอนสุดมันส์ไม่มเี บอ่ื

1. Website Google Earth สามารถเข้าใช้งาน ไดท้ กุ ระบบปฏบิ ัตกิ าร เปน็ Website ท่สี ามารถ ใหผ้ ู้เรยี นได้เห็นสถานที่จรงิ ได้ โดยการใช้โหลด Street View โหมดท่สี ามารถดพู น้ื ท่ีของสถานท่ี ต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน เหมาะกับ สถานที่ ที่ เดินทางไปไดย้ าก

Google Earth

2. Facebook สามารถเข้าใช้งานได้ทุก ระบบปฏิบัติการ เป็น Website และ Application ท่สี ามารถให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูจ้ าก สื่อออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพสถานท่ี ท่องเที่ยวต่าง ๆ รวมถึงคลิปวิดีโฮ LIVE ท่ี ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึงและ รวดเร็ว

Facebook

64

Chapter 6 Active Activity สอนแบบนี้สนุกแน่

การสอนแบบออนไลน์อาจเป็นส่ิงใหม่ ที่ท้าทายสำหรับคุณครูหลาย ๆ ท่าน เพราะว่าปกติแล้วคุณครูและนักเรียน อาจ คุ้นชินกับเรียนในห้องเรียนมากกว่า จนทำ ให้คุณครูเผลอคิดว่าการเรียนในห้องเรียน ดีกว่าการเรียนออนไลน์ เนื่องจากครู สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนได้ง่าย เลยทำให้ห้องเรียนแบบปกติดูสนุก และ น่าสนใจมากกว่า แต่ความจริงแล้วคุณครูรู้ ไหม ว่าคุณครูก็สามารถทำให้ห้องเรียน ออนไลน์มคี วามน่าสนใจ และมปี ระสิทธิภาพ ไม่น้อยไปกวา่ การเรยี นในหอ้ งเรียน

ความแตกต่างของการเรียนการสอนในห้องเรียนและแบบออนไลน์ที่เห็น ได้ชัดเจนก็คือปฏิสัมพันธ์ระหว่างคุณครูกับผู้เรียน เนื่องจากครูและนักเรียน ไม่ไดอ้ ยรู่ ว่ มกันภายในห้องเดยี วกัน ทำใหค้ รูประเมินผูเ้ รียนขณะดำเนินการสอน ได้ยาก คุณครูเลยจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เหมาะสมกับ บริบทห้องเรยี นแบบออนไลน์มากขึ้น ซึ่งการเรียนการสอนแบบออนไลน์คุณครกู ็ สามารถออกแบบกิจกรรมการสอนได้ไม่ต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียน เลย โดยการใช้เทคโนโลยีมาอำนวยความสะดวกในการสร้างสื่อการเรียนการ สอนให้เหมาะสมเนื้อหา เพราะฉะนัน้ แล้วคุณครูก็ต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการ สอน เพอ่ื ให้ผู้เรียนไดค้ วามร้แู ละทักษะตามจุดประสงค์การเรียนรทู้ ีค่ ณุ ครูต้งั ไว้

66

รูปแบบการสอนมีหลากหลายรปู แบบ และคณุ ครกู ็สามารถนำรปู แบบการ สอนที่เคยใช้สอนในห้องเรียนแบบปกติมาปรับใช้ในห้องเรียนแบบออนไลน์ได้ เหมือนกัน โดยการนำเครื่องมือ และเทคนิคต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อสร้างความ น่าสนใจให้คาบเรียนสุดสนุกของคุณครูได้ ในบทนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอ 5 รูปแบบ การสอนออนไลน์ ที่จะทำให้ห้องเรียนออนไลน์ธรรมดา ๆ กลายเป็นห้องเรียน สุดว้าวไดง้ า่ ย ๆ

67 Chapter 6 Active Activity สอนแบบนส้ี นุกแน่

“กำรสอนโดย

กำรสำธิต”

รปู แบบกำรสอนโดยกำรสำธิต

การสอนแบบการสาธติ คือการทค่ี รจู ะแสดงยกตัวอยา่ งของรายวิชาที่สอน นั้น ๆ เพื่อสร้างเสริมความเข้าใจของนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นการทดลอง วิทยาศาสตร์ ที่ต้องมี อุปกรณ์ที่มากมาย รวมถึงบางการทดลองก็มีอันตราย ซึง่ ไม่เหมาะกบั การทนี่ ักเรยี นตอ้ งทำเพียงลำพังจึงทำให้ส่วนใหญ่การสาธิตจะทำ ในห้องเรียนแบบปกติเท่าน้ัน แต่การเรียนออนไลน์เป็นการเรียนผา่ นทางหนา้ จอ ซึ่งในบางครั้งก็จำเป็นที่จะต้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ทดลอง หรือการ ให้นกั เรียนเห็นภาพเพอ่ื สร้างเสริมความเขา้ ใจของนักเรยี น แต่ด้วยขดี จำกัดของ ทางอุปกรณ์ ร่วมถึงความปลอดภัยของนักเรียนเอง ผู้เขียนจึงมีเว็บไซต์แนะนำ สำหรับครูที่กำลังประสบปัญหาเกี่ยวกับการทดลอง ผ่านห้องเรียนออนไลน์ ได้แก่ เว็บไซต์ phet.colorado.edu เป็นเว็บไซต์ที่สามารถสร้างการจำลองหรือ การทดลองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการผสมสารเคมีในอัตราส่วนต่าง ๆ หรือ การ เคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์

68

ในการสาธิตแบบออนไลน์นั้นเป็นสิ่งสะดวกสำหรับครูผู้สอนเนื่องจาก สามารถเลือกการทดลองได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ ล่วงหน้า รวมถึงเป็นการสาธิตที่มีความปลอดภัย รวมถึงนักเรียนสามารถ มองเห็นภาพการทดลองที่หาดูได้ยาก แต่บางครั้งก็มีข้อจำกัดต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นผลลพั ธก์ ารทดลองในมุมมองที่มากกวา่ 2 มติ ิ เช่น กลน่ิ ผวิ สมั ผัส เปน็ ตน้

ข้อดี 1. เว็บไซต์มกี ารทดลองให้เลอื กหลากหลายวิชา 2. สามารถใช้งานได้ฟรี เว็บไซตไ์ มซ่ บั ซ้อน และเขา้ ใชง้ านไดง้ ่าย 3. กำหนดคา่ ตวั แปรต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำ 4. สามารถเหน็ การทดลองทไ่ี ม่สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่าได้

ขอ้ เสยี 1. แนวคิดสรา้ งสรรคใ์ นการทดลองมีนอ้ ย 2. เปน็ การแสดงภาพ 2 มิติ ทำให้ผเู้ รยี นอาจจะไม่เหน็ ภาพในมุมมองอื่น

69 Chapter 6 Active Activity สอนแบบนี้สนุกแน่

“กำรสอนแบบ

บรรยำย”

โดยปกติแล้วเราจะคุ้นชินวิธีการสอนแบบบรรยายนี้เป็นอย่างดี แต่จะทำ อย่างไรให้การ สอนแบบบรรยายนี้ไม่น่าเบื่อและนักเรียนได้รับความรู้อย่างมาก ที่สุดจากการเรียน ภาพคุ้นตาที่เคยเห็นในการเรียนในห้องเรียน คือ ครูเป็น ผู้บรรยายให้ความรู้อยู่หน้าห้องเรียน ทำให้สังเกตพฤติกรรมการเรียนของ นกั เรยี น การสบตา (eye contact) ตอบโต้กนั ในห้องเรยี น และมองดบู รรยากาศ รอบ ๆ ห้องเรียน ทำให้ครูประเมินสถานการณ์การสอนขณะที่สอนได้ แต่ใน กรณีที่เป็นการเรียนการสอนออนไลน์ ทำให้มีข้อจำกัดในตรงนี้ คือ ครูไม่ สามารถเห็น พฤติกรรมโดยรวมของนักเรียน อาจทำให้ไม่สามารถรับรู้ได้ว่า นักเรียนเข้าใจที่สอน หรือจดจ่อกับการเรียนมากน้อยแค่ไหน ในบางครั้งที่ นักเรียนไม่ตอบโต้เลยทำให้เป็นการเรียนแบบ Passive Learning ซึ่งทำให้ นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ได้น้อย ในบางวิชาอาจเลี่ยงการสอน แบบบรรยาย แทบไม่ได้ เนื่องจากเนื้อหาสาระที่มีมาก การสอนแบบบรรยายจึงยังคงมี ความสำคญั ต่อการจดั การเรยี นการสอนอยู่

70

ดังนั้นการบรรยายจึงต้องมีเทคนิคการสอนให้ไม่น่าเบ่ือ เพื่อให้มี ประสิทธภิ าพในการสอน และนักเรียนไม่หลับขณะเรียนเทคนิคที่ผู้เขยี นจะเสนอ คือ การถามคำถามระหว่างเรียน แล้วให้นักเรียนกดรีแอคชัน (Reaction) หรือ ตอบผ่านในกล่องข้อความ เพื่อให้ครูและนกั เรียนมีการตอบโตก้ นั ต่อมาอาจใช้ เครอ่ื งมอื ภายนอกช่วย เช่น การใช้กริ่งดึงสมาธิขณะสอน การนำส่อื การสอนมา ชว่ ยใหก้ ารเรยี นน่าสนใจยงิ่ ข้นึ

ข้อดี ข้อดีของการสอนแบบบรรยาย คือ ประหยัดเวลาในการสอน สามารถใช้

กับการเรียนการสอนที่มีจำนวนคนมาก เหมาะสมสำหรับเนื้อหาที่มีความยาก ซับซอ้ น ผู้เรยี นฟังบรรยายแล้วเข้าใจมากกวา่ ศึกษาด้วยตนเอง ขอ้ เสยี

ข้อเสียของการสอนแบบบรรยาย คือ ผู้เรียนมีส่วนรวมในการเรียนน้อย เนือ่ งจากเปน็ การเสนอทเ่ี น้นครูเป็นศนู ย์กลาง ผเู้ รียนอาจเกดิ ความเบอ่ื หน่าย ไม่ ค่อยพัฒนาด้านทกั ษะพิสัย และผู้เรียนแตล่ ะคนมีพื้นฐานแตกต่างกัน อาจทำให้ คนมีพื้นฐานน้อยตามไม่ทนั

71 Chapter 6 Active Activity สอนแบบนี้สนกุ แน่

“กำรใชเ้ กม”

การใช้เกม เพื่อบอกความแตกต่างของการใช้ เกมในการเรียนออนไลน์ กับในห้องเรียน การทำกจิ กรรมในห้องเรยี นทำให้นักเรยี นมีส่วนร่วมได้มากกว่า การจัดกิจกรรมออนไลน์ เพราะการจัดกิจกรรมในห้องเรียนทำให้นักเรียนมี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน แต่อาจจะมีปัญหาในเรื่องของความกล้าแสดงออกของ นักเรียน ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างราบรื่น และการจัดกิจกรรม ต้องใช้เวลามากในการเตรียมความพร้อมและอุปกรณ์ แต่การจัดกิจกรรม ออนไลนส์ ามารถเลือกไดห้ ลากหลาย ใชเ้ วลาในการเตรียมการไมน่ าน มีตัวช่วย ในการสร้างกิจกรรมต่าง ๆ เช่น Quiznetic.com หรือ kahoot.com แต่อย่างที่ ทราบดีว่ากจิ กรรมออนไลนไ์ มส่ ามารถสร้างปฏสิ ัมพนั ธ์ต่อนกั เรียนได้มากเท่ากับ กิจกรรมในชั้นเรียน แต่ทำให้ครูผู้สอนสามารถประเมินนักเรียนได้ง่ายกว่า เพราะครูสามารถเช็คการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ เช็คคะแนนของนักเรียน วา่ มคี วามเข้าใจในกจิ กรรมนัน้ ๆ มากเพยี งใดไดด้ ีกวา่

72

“กำรทำงำนกล่มุ ”

การทำงานกลุ่มท่ีมีการจัดกลุ่ม นักเรียนสามารถ สร้างห้องประชุมใหม่ แยก เพอ่ื ใหน้ ักเรียนทำงานกลุม่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ซ่งึ กันและกนั การทำงานกลุ่ม หรือทำงานเป็นเป็นทีม” คือผลลัพธ์ของการทำงานรูปแบบนี้มักจะประสบ ความสำเร็จเป็นอย่างดี ทำให้งานเติบโตขึ้นอยา่ งรวดเรว็ สิ่งนี้เป็นส่วนสำคัญใน การผลกั ดันให้พฒั นาตัวเองตลอดเวลา ซ่งึ การเรยี นรปู แบบออนไลน์น้ัน สามารถ ให้นักเรียนจับกลุ่มกันเองได้โดยเลือกเพื่อนสนิทกัน หรือคุณครูจะเพิ่มในส่วน ของการสุ่มนักเรียนเปน็ กลุ่ม ๆ เพื่อให้นักเรียน สามารถทำงานร่วมกนั กบั เพ่อื น คนอื่นในห้อง เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และกำหนดจุดประสงค์ของกลุ่ม ร่วมกัน โดยการให้นักเรียนแยกไปทำงานกลุ่มนั้น ครูผู้สอนสามารถสร้างกลุ่ม ใหก้ ับนักเรียนไดเ้ ลยผ่านตัวโปรแกรมการสอนทีผ่ ูส้ อนใช้จัดการเรยี นการสอน

73 Chapter 6 Active Activity สอนแบบนสี้ นุกแน่

ข้อดี ข้อดีของการทำงานเป็นทีมที่มีจุดเด่นแตกต่างกัน เช่น ทักษะการ ประสานงาน ทักษะโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทักษะทางการเงิน ฯลฯ เพราะไม่มี ใครที่เพอร์เฟคมีความสามารถครบทุกด้าน การทำงานเป็นทีมจึงเป็นการ ช่วยกันอุดช่องโหว่ของแต่ละคน โดยที่ไม่ลืมการมผี ูน้ ำที่มาช่วยเติมเพิม่ พลังใน การโฟกัสจุดประสงค์ของงานร่วมกัน มีการพัฒนาสัมพันธภาพในทีมให้ดีอยู่ เสมอ เพียงเท่านี้ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการทำงานเป็นทีมได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ข้อเสยี การทำงานเป็นทีมอาจพบข้อเสียบางประการ หรือข้อบกพร่องต่าง ๆ กันไปเพราะข้อจำกัดที่อาจเกิดขึ้นจากเนื้องานแต่ละชิ้นงานอาจอ้างได้ว่าเป็น ข้อเสีย หรือข้อบกพร่องของการทำงานเป็นทีม ตัวอย่างเช่น คนในทีมยังไม่มี ศักยภาพ ช่องว่างระหว่างคนในทีมยังมีมากมาย มากคนมากความ คนเยอะ จัดการยาก ปัญหาของการวางแผน ความแตกต่างของบุคคล ใช้เวลานาน กว่าทำงานคนเดยี ว มอี ิทธพิ ลของคนในกลุม่ เกดิ ขนึ้

74

“Case Study

กรณีศึกษำ”

การสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง หรือ “Case Study” เป็นการสอนที่ใช้กรณี หรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงให้ผู้เรียนได้ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อให้เกดิการ เรียนรู้อย่างกว้างขวาง การสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นการถามตอบโดยใช้ กรณีตัวอย่างที่ยกมาผ่านการบรรยาย อภิปราย โต้วาที หรือการแสดงบทบาท สมมติ เพื่อให้ผูเ้ รยี นเกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ันท้ังในเนอื้ หา และความคิดเห็น ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ และสร้างทักษะการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างมี เหตุ ในบทบาทของผู้สอนนอกจากการเตรียมกรณีศึกษาทีน่ ่าสนใจจากข่าวสาร หรือสื่อต่าง ๆ แล้ว หัวใจสำคัญในการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างก็คือการให้ ผู้เรียนได้วิเคราะห์กรณีตัวอย่างนั้น ๆ ออกมาแลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน ดังนั้น ในบริบทห้องเรียนแบบออนไลน์ ผู้สอนจึงต้องสร้างความกระตือรือร้นให้ผู้เรยี น อยากจะแลกเปล่ียนประเดน็ ปญั หาสกู่ นั และกนั การจดั การช้ันเรยี นออนไลน์อาจ ได้เปรียบการจัดการชั้นเรียนแบบปกติตรงที่ผู้สอนสามารถใช้สื่อประกอบ หรือ ใช้เสียงและเอฟเฟ็กต์ต่าง ๆ เพื่อเร้าความสนใจระหว่างนำเสนอหัวข้อ กรณีศึกษาให้แก่ผู้เรียนได้ นอกจากใช้ข่าวสารแล้วผู้สอนอาจเพิ่มลูกเล่นของ การนำเสนอด้วยสื่อมัลติมีเดียอื่น ๆ ร่วมด้วยก็ได้ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกรณี ตวั อย่าง และดงึ ความสนใจผ้เู รยี นใหอ้ ยกู่ ับหัวขอ้ อภิปราย

75 Chapter 6 Active Activity สอนแบบน้ีสนุกแน่

ขอ้ ดี ทำให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึง

กันและกัน เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ รู้จักวิธีแก้ปัญหาและการตัดสินใจ เกิดความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง และทำให้ผเู้ รยี นไดร้ จู้ กั รบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ข้อเสีย

หากใช้กับกลุ่มผู้เรียนมากเกินไปผู้เรียนก็จะแสดงออกไม่ทั่วถึง หากผู้สอนขาดทักษะในการต้ังคําถามกระตุ้นบรรยากาศของการเรียนรู้กเ็ กิดได้ ยากและหากผู้เรียนไม่ร่วมมือ ไม่กระตือรือร้นก็จะทำให้ผลการเรียนไม่เป็นไป ตามทกี่ ำหนดไว้

76

Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สือ่ ช่วยสอน

Teaching Media ในปัจจุบันสื่อการสอนเป็น

องค์ประกอบสำคัญในการสอน

ออนไลน์ และสร้างประสบการณ์ทาง

การศึกษาให้แก่ ผู้เรียน สื่อการสอนมี

ให้เลือกมากมายหลายชนิด สิ่งสำคัญ

ก็คือผู้สอนจะต้องเลือกและใช้สื่อการ

สอนให้เหมาะกับบทเรยี น สือ่ การสอน

นั้นจะต้องใช้ได้อย่างสะดวกและที่

สำคัญก็คือเมื่อนำมาใช้แล้วช่วยให้

การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมาก

ยง่ิ ขนึ้

สอ่ื การสอนกบั ผู้สอน

1.การใชส้ ่ือวสั ดุอปุ กรณต์ ่างๆ ประกอบการเรียนการสอน เป็นการช่วย

ให้บรรยากาศในการสอนมีความน่าสนใจยงิ่ ขน้ึ ทำให้ผู้สอนมคี วามสนุกสนาน

ในการสอนมากขึ้นกว่าวิธกี ารท่เี คยใชก้ ารบรรยายแตเ่ พยี งอย่างเดยี ว และเปน็

การสร้างความเชือ่ มน่ั ในตวั เองใหเ้ พ่ิมขน้ึ ดว้ ย

2.ส่ือจะช่วยแบง่ เบาภาระของผสู้ อนในการเตรียมเน้ือหา เพราะ

บางครัง้ อาจให้ผเู้ รียนศกึ ษาเน้อื หาจากสอ่ื ไดเ้ อง

3.เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรียมและผลิตส่ิง

ใหม่ๆ เพือ่ ใช้เปน็ ส่ือการสอน รวมไปถงึ การคิดค้นเทคนิควิธีการตา่ งๆ เพ่อื ให้

การเรียนรู้น่าสนใจมากย่ิงข้ึน

78

ส่อื การสอนกับผ้เู รียน 1.เป็นสิ่งที่ชว่ ยให้การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะช่วยให้ผู้เรียน

มีความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันแสนส้ัน และช่วยทำให้เกิดความคิดรวบยอดในเรือ่ งนนั้ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและรวดเร็ว

2.สื่อการสอนจะช่วยกระตุ้นและสร้างความสนใจให้กบั ผู้เรียน ทำให้เกิด ความสนุกสนานและไม่รสู้ กึ ว่าการเรียนเปน็ สิง่ ที่น่าเบือ่

3.การใช้สื่อจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าที่ใจตรงกัน และทำให้เกิด ประสบการณ์รว่ มกันในวชิ าที่เรียนน้นั ด้วย

4.ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น ทำให้ เกดิ มนุษยส์ ัมพันธอ์ ันดีในระหวา่ งผเู้ รยี นด้วยกันเองและกับตัวผ้สู อนด้วย

5.ชว่ ยสร้างเสริมลกั ษณะท่ีดีในการศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ ชว่ ยให้ผู้เรียน รคิ วามคดิ สรา้ งสรรคจ์ ากการใชส้ ือ่ เหลา่ น้ัน

6.ชว่ ยแกป้ ัญหาเรือ่ งของความแตกต่างระหวา่ งบุคคลโดยการจดั ให้มีการ ใชส้ อื่ ในการศกึ ษารายบุคคล

79 Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สือ่ ชว่ ยสอน

แนะนำส่ือกำรสอน เคร่อื งมือผลิตส่ือกำรสอน

พอเราพูดถึงงานวิจัยที่อาจะฟังดูน่าเบื่อ แต่กลับเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่า การใช้ AR เพื่อเป็นสื่อการสอนในการศึกษานั้นทำให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะ เรยี นมากขน้ึ และยงั ทำใหผ้ ู้สอนไมต่ อ้ งอธิบายเยอะ มีการทำสอบกับผู้เรียนว่า ก่อนใช้ AR กับการเรียนผลการเรียนเป็นแบบนึง แต่หลังจากที่ได้ใช้ AR คู่กับ การเAรียRนแลว้ กลับมีคะแนนการประเมินทดี่ ขี ้ึน

AR (Augmented Reality) คือ การนำเทคโนโลยีมาผสานระหว่างโลก แห่งความเป็นจริงและความเสมือนจริงเข้าด้วยกัน ด้วยการใช้ระบบ ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ เช่น เว็บแคมคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ อื่นที่เกี่ยวข้อง โดยวัตถุเสมือนที่ว่านั้น อาจจะเป็น ภาพ วีดิโอ เสียง ข้อมูล ตา่ งๆทป่ี ระมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์ มือถอื หรอื อปุ กรณส์ วมใส่ขนาดเล็ก ตา่ งๆ และทำให้เราสามารถตอบสนองกบั สง่ิ ท่ีจำลองนนั้ ได้

80

การประยกุ ตใ์ ช้ AR ในการศกึ ษา เรียนรู้เสมือนจริงแม้อยู่ในชั้นเรียน

(Augmented Reality classroom) สามารถ เรียนรู้สิ่งต่างๆได้แม้ว่าสิ่งนั้นไม่ได้อยู่ใน หอ้ งเรียน เช่น ผ้เู รยี นสามารถเหน็ สัตวใ์ ต้ทะเล โดยไม่ต้องดำน้ำลงไปดู หรือระบบสุริยะ จักรวาล ขึ้นกระสวยอวกาศออกไปดูถึงนอก โลก

สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาการเรียน (Engagement and interaction) ผู้เรียนสามารถควบคุมมุมมอง หรือการเรียนรู้เนื้อหาได้ด้วย ตนเอง เช่นสามารถดูส่วนต่าง ๆ ในมุมต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ด้วยการ เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนไปรอบ ๆ ผู้เรียนสามารถกดปุ่ม โต้ตอบกับสื่อ AR ได้ สามารถย้อนกลบั มาเรยี นรู้ไดต้ ลอดเวลา

เรียนรู้จากโมเดลสามมิติ (Objects Modelling) ผู้เรียนสามารถมองเห็น รูปร่างของวัตถุ AR ในรูปแบบสามมิติ คือเห็นได้ทุกมุมมองรอบด้านของวัตถุ นัน้ ๆ ตา่ งจากการมองดรู ปู ภาพแบนๆ(สองมิติ)บนหนงั สอื ตำราเรยี นทว่ั ๆไป

ส่งเสริมทักษะและการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Training) ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองทุกที่ทุกเวลา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการอบรม เช่นอบรมฝึกให้ช่างซ่อมเครื่องถ่ายเอกสารได้ด้วยตนเอง ช่างสามารถใช้ สมารท์ โฟนฉายไปที่เครื่องถา่ ยเอกสาร แล้วมีข้อมลู ขั้นตอนการซ่อมแซมแสดง ขึ้นมาใหเ้ รยี นรู้ได้ตนเอง

81 Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สอื่ ช่วยสอน โปรแกรมทอ่ี ยำกแนะนำ

Assemblr เป็นแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือช่วยพัฒนาสื่อการเรียนรู้ แบบเสมือนจริง (AR) สามารถสร้างภาพประกอบของตัวเอง และอุปกรณ์ ประกอบการเรยี นรใู้ นรูปแบบของแบบจำลอง 3 มติ ิแบบปฏิสมั พันธอ์ ีกดว้ ย

Jigspace แอปพลิเคชันเรียนรู้และให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับวัตถุ สิ่งของ วิทยาศาสตร์ เครื่องมือกลไก อวกาศ และอื่น ๆ อีกมากมาย เป็นต้น โดยจะ แสดงวัตถุและข้อมูลในรูปแบบของ AR 3 มิติ จะเห็นวัตถุนั้นในรูปแบบ 3 มิติ สามารถแตะช้ินส่วนต่าง ๆ เพือ่ ศกึ ษาขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งง่าย

82

ประโยชน์ของ AR AR นั้นถูกหยิบไปใช้เพื่อการศึกษาอยู่บ่อยครั้ง เพราะเรียนรู้เสมือนจริง

จะมีส่วนช่วยใหผ้ ู้ท่ีกำลังศึกษาช่วยอธบิ ายเนื้อหาที่เข้าใจยากให้เห็นภาพได้มาก ขนึ้ สามารถเข้าใจถึงเนือ้ หาบางอย่างมากยงิ่ ข้นึ เชน่ การศกึ ษาเรอ่ื งระบบสุริยะ จักรวาล เป็นต้น ทำให้ผู้เรียนหันมาสนใจเนื้อหาของเรื่องที่กำลังเรียนอยู่ และ ส่งเสรมิ ทกั ษะและการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอกี ดว้ ย

83 Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สือ่ ช่วยสอน

CAI

Computer Aided Instruction หรือ Computer Assissted Instruction (การ สอนใชค้ อมพิวเตอรช์ ่วย) หมายถงึ การใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน คอื การสร้าง โปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท ทบทวน และคำถามคำตอบไว้อย่างครบครัน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วย ตนเอง การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็น อปุ กรณ์การสอน แตไ่ ม่ใช่เป็นครูที่เป็นผสู้ อน

โดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ การที่ผู้สอนสามารถดึงดูดความสนใจของ ผเู้ รียน และกระตุ้นใหเ้ กดิ ความต้องการที่ จะเรยี นรู้ คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนเป็น ตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในแบบตัวต่อตัวในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราว ต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งผู้เรียน เกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผล ป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ ที่สามารถตอบสนองความ แตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และ ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนไดต้ ลอดเวลา

84

โปรแกรมทอี่ ยำกแนะนำ

Adobe Captivate เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการ สร้าง Movie ในรปู แบบส่ือเรียนการเรียนรู้ หรือสื่อการนำเสนอแบบมัลติมีเดีย เชน่ การนำเสนอผลงาน การจับหน้าจอภาพเพือ่ นำไปสร้างส่อื การเรยี นรู้ การ สร้างแบบทดสอบ รวมไปถึงการตัดต่อวิดีโอ เพื่อใช้สำหรับงานนำเสนอหรือ ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโปรแกรม Adobe Captivate เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้าง ช้นิ งานได้งา่ ยและเร็ว

PhET สถานการณ์จำลองบนคอมพิวเตอร์ของ PhET ถูกออกแบบเพ่ือ สร้างความสนุกและความมีปฏิสัมพันธ์ในระหว่างการเรียนเพื่อรู้เกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ทางกายภาพต่าง ๆ มากกวา่ นน้ั คือถกู สรา้ งขนึ้ มาจาก ผลการวจิ ัย ทางการเรยี นรู้และสามารถนำไปใช้ไดโ้ ดยไม่มีคา่ ใช้จ่าย

85 Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สอื่ ชว่ ยสอน

ประโยชน์ของคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI)

ช่วยให้ผู้เรียนท่ีมีความสามารถน้อย สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนใน การฝึกฝนทักษะ และเพิ่มเติมความรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนของตนโดยนำ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ที่สะดวก คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือ ร้น สนุกสนานไปกับการเรียน

86

MOOCs

Massive Open Online Courses หมายถึง ระบบการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน ซึ่งมีลักษณะให้เข้าเรียนได้ไม่จำกัดจำนวน คน เป็นระบบ “เปิด” ที่ทุกคนทอี่ ยากเรียนจะต้องได้เรียน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ในการเรียน และใช้เทคโนโลยีออนไลน์เป็นเครื่องมือ MOOCs ต่างจาก E-learning

MOOCs ต่างจาก E-learning ตรงที่ E-learning จะเรียนเมื่อไหร่ก็ได้ แต่ MOOCs มีลักษณะเหมือนหลักสูตร มีระยะเวลาเปิด-ปิด เหมือนห้องเรียน ปกติ ถูกกำหนดหัวข้อย่อยในรายวิชาไว้แล้ว มีการวัดและประเมินผล มี การบ้าน มีกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทำงานกลุ่ม รวมทั้งให้ผู้เรียนช่วยกันตรวจงาน MOOCs หลายตัวสามารถให้ผู้เรียนเทียบหลักสูตรกับสถาบันอุดมศึกษาชื่อดัง หรือใช้อา้ งองิ ในการสมคั รงานได้

ปจั จุบนั มี MOOCs Provider เพิ่มมากขนึ้ เรอื่ ยๆ โดยแต่ละแหง่ จะจับมือ กับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลกในการผลิตสื่อการเรียนการสอน ทั้งน้ี ช่องทางที่บริษัทและมหาวิทยาลัยจะสร้างรายได้ ได้แก่ กรณีที่ผู้เรียนต้องการ ใบรับรองการจบหลักสูตร ค่าดำเนินการสอบ การช่วยนำโปรไฟล์ในการเรียน ไปเผยแพรก่ ับบริษัทจัดหางาน ฯลฯ

87 Chapter 7 Teaching Media ไอเดยี สอื่ ช่วยสอน

MOOCs ที่อยำกแนะนำ

THAI MOOC สร้างขึ้นจากแนวคิดการสนับสนุนให้ประชาชนคนไทยมีโอกาสเรียนรู้ตลอด ชีวิต เป็นเว็บที่พัฒนาต่อยอดมาจากโครงการ TCU ในดีไซน์ใหม่ที่ทันสมัยและ เข้าถึงง่ายกว่า ได้รับความร่วมมือจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พร้อมท้ังมหาวิทยาลยั ทั่วประเทศกวา่ 40 สถาบัน

CHULA MOOC ความจรงิ แลว้ CHULA MOOC เกิดจากการสร้างแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย แต่กลับมีบุคคลภายนอกให้ ความสนใจอย่างมาก ทางจุฬาฯจึงได้พฒั นาเว็บไซตแ์ ละคอร์สเรยี นตา่ ง ๆ เพอ่ื รองรับบคุ คลภายนอกดว้ ยในทส่ี ุด