สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

สิทธิที่ผู้บริโภคจะได้รับการคุ้มครอง

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

         สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการเป็นสิทธิที่จะเน้นในเรื่องการได้รับความสะอาด ความปลอดภัย จากผลิต ภัณฑ์และสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งเรื่องสุขภาพและความปลอดภัยเป็นปัญหาสำคัญของผู้บริโภค จึงมีการออกกฎหมายคุ้มครอง ผู้บริโภคและตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายจากสินค้าและบริการองค์การที่จัด ตั้งเพื่อป้อง กันสิทธิด้านความปลอดภัยของผู้บริโภค

1. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ

         เป็นสิทธิที่จะเน้นในเรื่องการได้รับความสะอาด ความปลอดภัย จากผลิตภัณฑ์และสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งเรื่องสุขภาพ และความ ปลอดภัยเป็นปัญหาสำคัญของผู้บริโภค จึงมีการออกกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและตั้งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อป้องกัน ไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายจากสินค้าและบริการองค์การที่จัดตั้งเพื่อป้องกันสิทธิด้านความปลอดภัยของผู้บริโภคที่สำคัญมีองค์การคือ

                  - องค์การคุ้มครองผู้บริโภค
                  - องค์การอาหารและยา

2. สิทธิที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้อง และเพียงพอเกี่ยวกับสินค้า หรือบริการนั้น ๆ

         ข้อมูลที่เกี่ยวกับสินค้าที่ผู้บริโภคควรได้รับมีดังนี้

         2.1.ราคาหมายถึง ราคาต่อหน่วยของสินค้า ซึ่งราคาผู้บริโภคไม่สามารถรู้ว่าผลิตภัณฑ์ชิ้นไหนดีหรือไม่ดี เพราะสินค้านั้น ๆ จะแตก ต่างที่การบรรจุหีบห่อ ปริมาณ ขนาดและมีสินค้าบางชนิดไม่ระบุราคา จึงทำให้ผู้บริโภคไม่สามารถทราบได้ว่าสินค้านั้นดี หรือไม่ และประหยัดที่สุดหรือไม่

         2.2. ป้ายโภชนาการหมายถึง การให้ข่าวสารข้อมูลของสินค้า ว่าเป็นอะไร บริโภคอย่างไร ใช้อย่างไรเพื่อผู้บริโภคจะได้เข้าใจราย ละเอียดโดยปิดอยู่ที่บรรจุภัณฑ์ของสินค้านั้น ๆ

         2.3. รายละเอียดอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์หมายถึง รายละเอียดเกี่ยวกับอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบด้วย วัน เดือน ปี ที่ผลิต อายุการใช้งาน และวันหมดอายุของ ผลิตภัณฑ์ โดยจะชี้แจงบนหีบห่อของผลิตภัณฑ์

         2.4. ความจริงเกี่ยวกับสินค้าที่ช่วยสนับสนุนหมายถึง สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดได้ชัดเจน เพื่อเพิ่มความรู้ให้แก่ผู้บริโภค ผู้บริ โภค จะต้องแยกข้อมูลที่ได้ออกมา และทำความเข้าใจ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ

         2.5. รายละเอียดของสินค้าผู้ผลิตมีการกำหนดจำนวนของรายละเอียดของสินค้านั้น ๆ ให้เหมาะสมโดยผู้บริโภคจะใช้รายละเอียด ของสินค้านั้น เปรียบเทียบกับสินค้าอื่น ๆ เพื่อจะสามารถเลือกตัวเลือกที่ดีที่สุด ได้ประโยชน์มากที่สุด

3. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเลือกซื้อ ควรมีองค์ประกอบดังนี้

         - ให้ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ที่จะใช้ประเมินในตัวสินค้า และบริการที่ต้องใช้เทคโนโลยียุ่งยากซับซ้อน และให้เลือกได้อย่างมีประ สิทธิภาพ
         - ให้มีทักษะในการบริหารและการตัดสินใจ ในระดับนี้สามารถเทียบกับการศึกษาที่ให้กับมืออาชีพ
         - ให้ความรู้เกี่ยวกับองค์การธุรกิจต่าง ๆ รัฐบาล และการให้ความรู้ทางด้านการตลาดเพิ่มขึ้น

         โดยการพิจารณาให้ข่าวสารข้อมูล และความรู้แก่ผู้บริโภคเกี่ยวกับตัวสินค้าและบริการ ผู้บริโภคจะนำมาใช้ประเมินให้ตรงกับความ ต้องการและความถูกต้องเหมาะสมที่จะเลือกซื้อสินค้าได้ต่อไป

4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดใช้ความเสียหาย

         สิทธิที่ผู้บริโภคจะได้รับการพิจารณาและชดใช้ความเสียหาย ทำได้ 3วิธี คือ
         - การป้องกัน โดยภาครัฐและเอกชนมีการออกกฎหมายพิทักษ์ผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นกลไกในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ควบคู่ไปด้วย
         - การเอากลับคืนมา การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดให้ดีดังเดิม ทำได้หลายวิธี เช่น แก้ไขที่ตัวสินค้า เมื่อเกิดการผิดพลาดภายหลังจากที่สินค้า นั้นออกสู่ตลาด โดยการนำเอากลับมาแก้ไข วิธีนี้จะใช้กันมากในการแก้ไขภาพพจน์ของตัวสินค้า
         - การกำหนดบทลงโทษ กำหนดตัวบทกฎหมาย ใช้เป็นบทลงโทษต่อผู้ผลิต โดยจะมีทั้งการปรับ ทั้งจำคุก

ที่มา : คลังปัญญาไทย
http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/special_report/27405

​​​​รู้ทัน "วอร์แรนท์"

วอร์แรนท์ (Warrant) เป็นตราสารที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์กันอย่างคึกคัก แต่กลับเป็นสิ่งที่เข้าใจยากสำหรับผู้ลงทุน ผู้ที่จะลงมาเล่นในสนามนี้ควรอย่างยิ่งต้องรู้ลึกรู้จริงแบบ “ถ่องแท้" ถึงธรรมชาติและความเสี่ยงของตราสารประเภทนี้  
.
วันนี้ กัปตัน ก.ล.ต. มีสาระดี ๆ ย่อยง่ายเกี่ยวกับเจ้า “วอร์แรนท์" มาฝาก อ่านตามทีละแผ่นเลยคร้าบ..

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

วอร์แรนท์ คือ ตราสารที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือ ในการซื้อหลักทรัพย์ที่ใบสำคัญแสดงสิทธินั้นอ้างอิงอยู่ (Underlying Asset) ตามราคาใช้สิทธิ (Exercise Price) จำนวนที่ให้ใช้สิทธิ (นิยมใช้เป็นอัตราส่วน เช่น 1:2  แปลว่า 1 วอร์แรนท์ แลกได้ 2 หุ้น) และภายในระยะเวลาที่กำหนด

จะเปรียบไปลักษณะ วอร์แรนท์ ก็เป็นใบจองประเภทหนึ่งเพื่อซื้อหุ้น คล้ายใบจองเพื่อซื้อคอนโด

โดยทั่วไป หลักทรัพย์อ้างอิง จะเป็นหุ้นของบริษัทที่ออกวอร์แรนท์ (หุ้นแม่) แต่หากเป็นวอร์แรนท์ให้สิทธิซื้อหุ้นของบริษัทอื่น จะเรียกว่า ใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ (Derivative Warrant หรือ DW)

ตัวอย่าง บริษัท เป็ด จำกัด (มหาชน) มีหุ้นชื่อ PED เมื่อออกวอร์แรนท์ ไม่ว่าจะเพื่อแจกฟรีเป็นปันผลให้ผู้ถือหุ้นเดิม หรือเพิ่มสภาพคล่อง วอร์แรนท์จะชื่อว่า PED-W1 ล็อตต่อไปเป็น PED-W2 และ PED-W3 เรียงกันไป

ผลตอบแทนของวอร์แรนท์มาจาก...

1. ขายวอร์แรนท์ ให้ผู้สนใจได้ในราคาสูงกว่าที่ซื้อมา

2. ใช้สิทธิวอร์แรนท์ แปลงเป็นหุ้นแม่ = ได้หุ้นเพิ่ม ... และหากราคาดีขายหุ้นในตลาด = ทำกำไร

วอร์แรนท์บางช่วงก็มีค่า บางช่วงก็ไม่มีค่า...ผู้ลงทุนต้องพึงระวังเรื่องมูลค่าของวอร์แรนท์

กรณีที่ราคาใช้สิทธิ (รวมกับราคา warrant) ต่ำกว่าราคาหุ้นแม่ในตลาด  เราจะใช้สิทธิซื้อหุ้น และเอาหุ้นนั้นไปขายในตลาด ทำกำไร  ซึ่งวอร์แรนท์นั้นจะมีมูลค่า หรือเรียกว่า in-the money

ในทางกลับกัน ถ้าราคาใช้สิทธิ (รวมกับราคา warrant) สูงกว่าราคาหุ้นแม่ในตลาด มักไม่ใช้สิทธิ เพราะไปซื้อหุ้นนั้นในตลาดได้ในราคาที่ถูกกว่า วอร์แรนท์นั้นจะไม่มีมูลค่า หรือเรียกว่า out-of-the money

สิ่งที่ทำให้วอร์แรนท์ดึงดูดผู้ลงทุน คือ ความเป็น Leverage ที่หมายถึง การลงทุนที่ใช้เงินน้อยแต่มีโอกาสได้กำไรมาก โดยจำกัดความสูญเสีย อย่างมากคือต้นทุนที่ได้ warrant มา บางคนได้ฟรีก็ไม่เสียอะไร ส่วนผู้ที่ซื้อในตลาด แล้วใช้สิทธิไม่ทันจะขาดทุนเท่าราคาที่ซื้อมา

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด
4 ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ Warrant

ก่อนตัดสินใจลงทุนในหุ้นต้องคิดแล้วคิดอีก เพราะหุ้นมีค่าความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง แต่หากเป็นการลงทุนในวอร์แรนท์ ยิ่งต้องตระหนักถึงความเสี่ยงยิ่งขึ้นไปอีก เพราะต้องดูทั้งความเสี่ยงของหุ้นอ้างอิง และความเสี่ยงของวอร์แรนท์เองอีกด้วย

หุ้นกับวอร์แรนท์ แม้จะคล้ายกัน แต่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน ในแง่ความเป็นเจ้าของที่แท้จริง

- ผู้ถือหุ้น คือ เจ้าของร่วม

- ผู้ถือวอร์แรนท์ คือ ผู้ที่มีสิทธิที่จะเป็นเจ้าของ มีใบจองแต่ยังไม่ใช่เจ้าของที่แท้จริง

นอกจากเรื่องความเป็นเจ้าของแล้ว ไปดูกันว่าอีก 4 เรื่องวอร์แรนท์ที่เข้าใจผิดมากที่สุด มีอะไรบ้าง

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

ผู้ลงทุนมือใหม่อาจเผลอคิดว่าวอร์แรนท์เหมือนหุ้น จะถือนานแค่ไหนก็ได้

คุณเข้าใจผิดนะครับ เพราะ...

วอร์แรนท์มีวันหมดอายุ!

โดยปกติ วอร์แรนท์ ที่บริษัทออกจะมีอายุไม่เกิน 10 ปี โดยในข้อกำหนดสิทธิ จะกำหนดอายุ ราคา อัตราใช้สิทธิ และวิธีการใช้สิทธิ

ฉะนั้น ระหว่างการถือครองตราสารตัวนี้ ผู้ลงทุนต้องบริหารจัดการให้ดี ว่าจะขาย หรือจะใช้สิทธิ เมื่อใด เพราะหากเผลอลืม แล้วปล่อยให้หมดอายุไปเฉย ๆ วอร์แรนท์ดังกล่าวจะมีมูลค่าเป็นศูนย์ทันที  ผู้ลงทุนก็ไม่สามารถใช้สิทธิใด ๆ ได้อีก

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

หากผู้ลงทุนมีความมั่นใจว่าจะบริหารจัดการใช้สิทธิได้แน่ วันไหนทำกำไรได้ จะใช้สิทธิวันนั้น

คุณเข้าใจผิดนะครับ เพราะ...

วอร์แรนท์ กำหนดวันที่ใช้สิทธิแลกซื้อหุ้นแม่ (และราคาใช้สิทธิ) ไว้ชัดเจน บางครั้งกำหนดให้ใช้สิทธิทุกเดือน ทุกสามเดือน หรือทุกหกเดือน ผู้ลงทุนจึงไม่สามารถใช้สิทธิได้ตามที่ต้องการทันที

ดยส่วนใหญ่บริษัทจะส่งจดหมายหรืออีเมล รวมทั้งแจ้งบนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ ให้ผู้ถือวอร์แรนท์ ทราบถึงวันและราคาใช้สิทธิ ในการแลกวอร์แรนท์เป็นหุ้นแม่

หากคิดว่ารอบนี้ ยังไม่คุ้มก็ผ่านไป แต่อยากบอกให้รู้ไว้ ยิ่งใกล้หมดอายุ คนมักจะอยากขายอาจทำให้ราคาวอร์แรนท์ต เพราะหากหมดอายุ วอร์แรนท์จะกลายเป็นแค่กระดาษที่ไม่มีมูลค่าอันใด

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

ผู้ลงทุนบางคนตั้งใจถือยาว เพราะเชื่อว่า ราคาจะปรับขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งนานยิ่งกำไร

คุณเข้าใจผิดนะครับ เพราะ...

วอร์แรนท์ เป็นแค่เอกสารที่ให้สิทธิบางอย่าง ราคาจะขึ้นหรือลง ขึ้นอยู่กับ

(1) สิ่งที่ไปอ้างอิง ในที่นี้ คือ ราคาหุ้นแม่ โดยธรรมชาติของตราสารทุนนั้น ราคาปรับขึ้น-ลง ตามปัจจัยพื้นฐาน เช่น ภาวะเศรษฐกิจ แผนการลงทุนโครงการใหม่ ผลประกอบการ เป็นต้น และ (2) ยังขึ้นอยู่กับความต้องการ (ดีมานด์-ซัพพลาย) ตามกลไกตลาด  คนอยากซื้อ-ราคาก็ดี คนไม่อยากซื้อ-ราคาก็ตก

ผู้ถือวอร์แรนท์ จึงจำเป็นต้องติดตามข้อมูลข่าวสารของบริษัทและข่าวที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดเพื่อประกอบการตัดสินใจซื้อขาย 

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

หลายคนเลือกลงทุนวอร์แรนท์ ในหุ้นที่ราคาขาขึ้น เพราะคิดว่าราคาวอร์แรนท์ต้องขึ้นเหมือนกันแน่

คุณเข้าใจผิดนะครับ เพราะ...

าคาหุ้นแม่กับราคาวอร์แรนท์ ไม่ได้เคลื่อนไหวทิศทางเดียวกันเสมอไป

จริงอยู่ หุ้นแม่กับวอร์แรนท์ของบริษัทเดียวกัน ปัจจัยพื้นฐานเดียวกัน ราคาควรเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน

แต่วอร์แรนท์ มีลักษณะเฉพาะของตัวเองที่มีข้อจำกัด เช่น วันหมดอายุ วันใช้สิทธิ ความเสี่ยงสูงที่ดึงดูดคนต้องการผลตอบแทนสูงให้กระโจนเข้ามา หลายต่อหลายครั้งราคาวอร์แรนท์จึงสวนทางออกมาจากราคาหุ้นแม่

ารลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงสูงโดยหวังผลตอบแทนสูง ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ  ถ้าปล่อยปละละเลยไป มีโอกาสขาดทุนสูงมากเช่นกัน

สินค้าทุกชนิดจะต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ผลิต และหมดอายุ สอดคล้องกับสิทธิในข้อใด

สรุป จะลงทุนวอร์แรนท์ ถามตัวเองก่อนว่ารู้ความเสี่ยงเหล่านี้ดีหรือยัง?

1. ลักษณะความเสี่ยงคล้ายหุ้น แต่ระดับความเสี่ยงมากกว่าหุ้น เพราะหุ้นไม่มีอายุ แต่วอร์แรนท์มีอายุ มีกำหนดวันและราคาใช้สิทธิ

2. ราคาวอร์แรนท์อาจไม่สอดคล้องกับราคาหุ้นแม่ เช่น กรณีที่วอร์แรนท์อยู่ในสถานะ out-of-the money (ราคาหุ้นแม่ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ) มาก ราคาวอร์แรนท์อาจไม่ขยับหรือลดลง แม้ราคาหุ้นแม่ขึ้น

3. ราคาวอร์แรนท์อาจผันผวนมากกว่าหุ้นแม่ เช่น ถ้าหุ้นแม่ ขึ้น 1% วอร์แรนท์อาจขึ้นถึง 5% ทางกลับกัน ถ้าหุ้นแม่ลง 1% วอร์แรนท์อาจลงได้ถึง 5%

เมื่อดูความเสี่ยงแล้ว วอร์แรนท์คงจะเหมาะกับ..

- ผู้คาดหวังผลตอบแทนสูง สามารถรับความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาได้ แม้มูลค่าเหลือศูนย์ก็ตาม

- ผู้ที่เชี่ยวชาญในการลงทุนในหลักทรัพย์ และเข้าใจตราสารอนุพันธ์เป็นอย่างดี

ด้วยความที่วอร์แรนท์ มี ความเสี่ยงสูง  อีกทั้งเป็นตราสารที่มีอายุ ควรมองแนวโน้มและจัดสรรวอร์แรนท์ในมือให้ดี อย่างน้อยต้องมีแผนตัดขาดทุน ป้องกันไม่ให้วอร์แรนท์ในมือไร้ค่าเป็นศูนย์ นั่นเองคร้าบ​