การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

การเชื่อมต่อเครือข่ายประเภทต่างๆ

ประเภทของการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่าย มีหลายรูปแบบ แต่ละแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสียต่างกัน

Bus Topology

การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหนึ่ง ด้วยสายเคเบิลยาวมาเชื่อมต่อกันไปเรื่อยๆ โดยใช้ คอนเน็ตเตอร์ในการเชื่อมต่อกันที่เรียกว่า T-connector และมี Terminator เป็นตัวปิดปลายสายสัญญาณ รูปแบบการส่งข้อมูลจะมีการส่งข้อมูลทีละเครื่องในช่วงเวลาหนึ่ง โดยมีเครื่องปลายทางจะส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา

Token-Ring Topology

การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหนึ่ง เราสามารถเรียกได้อีกชื่อว่า Token-Ring โดยจะต่อเข้ากันเป็นลักษณะวงกลม ถือได้ว่าเป็นการต่อแบบระบบปิด การทำงานจะมีการส่งผ่าน (Token) จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในเครือข่าย ปัญหาของการต่อแบบนี้คือ ถ้าจุดใดมีปัญหาจะทำให้ทั้งระบบมีปัญหาตามไปด้วย

Star Topology

การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันมากที่สุด เนื่องจากปัญหาของระบบ Bus และ Ring ที่ว่า ถ้าเคเบิลหนึ่งมีปัญหาก็จะทำให้ระบบมีปัญหาทั้งหมด แต่สำหรับระบบ Star จะแก้ปัญหาของทั้ง 2 ระบบที่กล่าวมาคือ ถ้ามีปัญหาเคเบิลเส้นใด จะเสียเพียงจุดๆ เดียวเท่านั้น นอกจากนี้การแก้ไข ตรวจสอบระบบในเครือข่ายแบบ Star ก็ทำได้ง่ายกว่าทั้ง 2 ระบบที่กล่าวข้างต้นอีกด้วย


1. แบบบัส ( BUS Topology ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย

การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

ข้อดี ของการเชื่อแบบบัส คือ

สามารถติดตั้งได้ง่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อน
การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำได้ง่าย
ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที
ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้
ข้อเสีย ของการเชื่อแบบบัส คือ

1. ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานีหนึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายนี้หยุดการทำงานลงทันที

2. ถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่

������Ẻ��� (Bus Topology)

               ���ç���ҧ���������������������е�Ǵ���������ŷ���������ѹ �������������ͺ�ʹ�����º����͹�Ѻ����������Ũж١�觼�ҹ��������ҧ��������ͧ���ʹ���� ������ͧ��ҹ价���ٹ���ҧ��͹

การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายประเภท bus topology

�ç���ҧẺ����բ�ʹշ������¹��� ��ж��������ͧ���¡�����ռ����õ���к������ ��ǹ������¡��͵�Ǩ�Ҩش����繻ѭ�����ҡ

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย

1. แบบบัส ( BUS Topology )

1. แบบบัส ( BUS Topology ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย

ข้อดี ของการเชื่อแบบบัส คือ

สามารถติดตั้งได้ง่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อน

การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำได้ง่าย

ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที

ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้

ข้อเสียของการเชื่อแบบบัส คือ

1. ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานีหนึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายนี้หยุดการทำงานลงทันที

2. ถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่

2. แบบดาว ( Star topology )

2. แบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน เมื่อสถานีใดเกิดความเสียหายจะไม่มีผลกระทบกับสถานีอื่น ๆ ปัจจุบันนิยมใช้อุปกรณ์ HUB เป็นตัวเชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง

ข้อดีของการเชื่อมแบบดาว คือ ง่ายต่อการใช้บริการ เพราะมีศูนย์กลางอยู่ที่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายอยู่เครื่องเดียวและเมื่อเกิดความเสียหายที่คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะไม่มีผลกระทบอันใดเพราะใช้สายคนละเส้น

ข้อเสียของการเชื่อมแบบดาว คือ ต้องใช้สายสัญญาณจำนวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจึงเหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กว่าการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล การขยายระบบก็ยุ่งยากเพราะต้องเชื่อมต่อสายจากศูนย์กลางออกมา ถ้าศูนย์กลางเสียหายระบบจะใช้การไม่ได้

3. แบบวงแหวน ( Ring Topology )

3. แบบวงแหวน ( Ring Topology ) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชื่อมต่อกับสถาน สุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำสารวิ่งไปบนสายสัญญาณของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเองต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป

ข้อดีของการเชื่อมแบบวงแหวน คือ ใช้สายสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวกันด้วยความเร็วสูง

ข้อเสียของการเชื่อมแบบวงแหวน คือ ถ้าสถานีใดเสียระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใดและถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไปจะพกหระทำได้ยากด้วย

4. แบบผสม(Hybrid Network)

 4. แบบผสม (Hybrid Network)    เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆหลายๆแบบเข้าด้วยกันคือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ หลาย ๆ  เครือข่ายเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน

-ข้อดี
1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก
2. สามารถขยายระบบได้ง่าย
3. เสียค่าใช้จ่ายน้อย

-ข้อเสีย
1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
2. การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเนตเวิร์ก ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้

5. โทโปโลยีแบบเมช

เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก

ข้อดี

อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล ความเชื่อถือได้ของระบบ

ง่ายต่อการตรวจสอบความผิดพลาด

ข้อมูลมีความปลอดภัยและมีความเป็นส่วนตัว

ข้อเสีย

จำนวนจุดที่ต้องใช้ในการเชื่อมต่อ และจำนวน Port I/O ของแต่ละโหมดมีจำนวนมาก (ตามสูตรข้างต้น) ถ้าในกรณีที่จำนวนโหมดมาก เช่นถ้าจำนวนโหมดทั้งหมดในเครือข่ายมีอยู่ 100 โหมด จะต้องมีจำนวนจุดเชื่อมต่อถึง 4,950 เส้น เป็นต้น

จัดทำโดย

นายยี่ นายโง่ย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1เลขที่8

การเชื่อมต่อ (Topology) แบบใด

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายในลักษณะกายภาพ (Physical Topology) สามารถ แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ คือ โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology) โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

Bus topology ใช้สายอะไร

1. เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลา หนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้อง ...

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย ( Topologies )มีกี่ประเภท

การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถึงกันเป็นเครือข่าย มีมาตรฐานการเชื่อมต่อ 4 แบบคือ โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

ระบบเครือข่ายแบบ BUS เป็นอย่างไร

1. เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ เข้ากับสายเคเบิ้ลในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วง