ค่า reliability ที่เหมาะสม

ค่า reliability ที่เหมาะสม
ความเชื่อถือได้ ( Reliability )

คือ ความสอดคล้องกันของผลที่ได้จากการวัดแต่ละครั้ง >> ความเชื่อถือ Reliability

  • โดยการวัดวิธีเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง แล้ว นำผลการวัดมาหาความสัมพันธ์กันของความเชื่อถือ
  • ค่าของความสัมพันธ์ของการวัด คือ ค่าบ่งชี้อัตราความเชื่อถือได้

วิธีหาค่าความเชื่อถือได้ของมาตรวัด / เครื่องมือ

1. วิธีการทดสอบแล้วทดสอบซ้ำ (Test and retest method)

ความคงเส้นคงวาของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาที่ต่างกัน โดยวิธีสอบซ้ำด้วยแบบทดสอบเดิม การหาค่าความเชื่อมั่น : การทดสอบซ้ำใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกัน ด้วยเครื่องมือเดียวกัน โดยทำการวัดสองครั้งในเวลาที่ต่างกัน

  • ใช้มาตรวัดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวกันในเวลาต่างกัน
  • ดูความสัมพันธ์ระหว่างผลการวัดทั้ง 2 ครั้ง
  • ถ้ามีความสัมพันธ์สูง แสดงว่า มีความเชื่อมั่นสูง

2. วิธีวัดแบบที่ทดสอบแทนกันได้ (Alternate forms method)

การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน Equivalent-Forms Reliability ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้แบบทดสอบที่สมมูลกัน การหาค่าความเชื่อมั่น : การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกันใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับที่ทัดเทียมกัน

  • มีมาตรวัดคู่ขนานกัน 2 ชุด (parallel form)
  • นำไปวัดคนกลุ่มเดียวกัน
  • ดูความสัมพันธ์ของผลการวัดทั้ง 2 มาตรวัด

3. Split–halves method

            การทดสอบแบบการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half Reliability ) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ ภายในโดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวและสอบครั้งเดียว แต่แบ่งข้อสอบเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่
การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากการแบ่งครึ่งข้อสอบที่สมมูลกันโดยใช้สูตร Spearman Brown

  • วัดครั้งเดียว
  • แบ่งเครื่องมือเป็น 2 ส่วน
    • ส่วนบน/ส่วนล่าง
    • ข้อคู่/ข้อคี่
  • นำผลการวัดทั้งสองส่วนมาหาความสัมพันธ์กัน
  • ความยาวของมาตรวัดมีผลต่อความเชื่อถือ

4. การวัดความสอดคล้องภายใน

      วัดเพียงครั้งเดียว วิเคราะห์ค่า “ความสอดคล้องภายใน ” (ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือได้)

4.1 วิธี Kuder-Richardson (Zero/one Method)

การทดสอบโดยการหาความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อ มีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ การหาค่าความเชื่อมั่น: การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ (ให้คะแนนแบบ 0-1) และคะแนนรวมใช้สูตร Kuder-Richardson (KR-20, KR-21)

  •  มาตรวัดทำถูกได้ 1  ทำผิดได้ 0
  •  KR – 20 / KR – 21

            4.2 วิธี Cronbach’s Alpha (Coefficient Alpha)

การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า Alpha Coefficient Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่า แบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ (คะแนนตั้งแต่ 0-…) การหาค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามทั้งฉบับ การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรวมทั้งฉบับโดยใช้สูตรคำนวณสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient)

  ใช้หาความเชื่อมั่น Essay question

  หรือการให้คะแนนเป็น Scale

Validity / Reliability

  • ในการวัดสิ่งสำคัญที่สุดคือ Validity / ความตรง
  • มาตรวัดที่มีความตรงจะต้องมีความเชื่อถือได้ แต่ มาตรวัดที่มีความเชื่อถือได้อาจไม่มีความตรง
  • ค่าความเชื่อถือได้ (r) อยู่ระหว่าง -1 ถึง +1
    ⇒ ค่ายิ่งใกล้ +1 ยิ่งดี/ถ้าเกิน .75 ก็ OK แล้ว

Email:
ยินดีให้คำปรึกษาทุกท่านค่ะ คลิก : https://m.me/iamthesis/
Facebook : https://www.facebook.com/iamthesis
Website: http://www.iamthesis.com/
ช่องทางในการติดตามความรู้จากเรา

#บทความ #แปล #ปรึกษาวิทยานิพนธ์
#เครื่องมือวิจัย #เทคนิคสำหรับวิจัย #งานวิจัย
#การวิจัย #วิจัย

แบบทดสอบที่นิยมใช้คือวิธีแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน(Kuder-Richardson)มีอยู่ 2 สูตรคือ KR.-20 และKR.21

ความเชื่อมั่น(Reliability)แบบทดสอบที่นิยมใช้คือวิธีแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน(Kuder-Richardson)มีอยู่ 2 สูตรคือ KR.20 และKR.21 เมื่อวิเคราะห์ข้อสอบและได้ข้อสอบที่ทุกข้ออยู่ในเกณฑ์ ค่าความยากง่าย (P) ตั้งแต่ .20-.80 และค่าอำนาจจำแนก(r) ตั้งแต่ .02 ขึ้นไป (ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม) เมื่อเป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ จะมีค่าความยากง่ายของการสอบก่อนเรียนไม่เกิน .40 และหลังเรียนเกินกว่า .75 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.0 ขึ้นไป แล้วจึงนำแบบทดสอบทั้งฉบับไปทดลองสอบใหม่ เพื่อหาความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของแบบทดสอบนั้นต่อไป การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ 1. ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ 1.1 การวัดความมีเสถียรภาพ โดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันไปสอบ กับกลุ่มเป้าหมายกลุ่มหนึ่ง 2 ครั้ง ในช่วงเวลาต่างกันตามความเหมาะสม (เพื่อให้ผู้สอบลืมจากการสอบครั้งแรก) แล้วนำคะแนนทั้งสองครั้งมาหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเปียร์สัน เรียกว่า"การหาความเชื่อมั่นโดยวิธีทดสอบซ้ำ" 1.2. การวัดความคล้ายกัน โดยการใช้แบบทดสอบคู่ขนาน จำนวน 2 ฉบับ ทดสอบกับนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ฉบับละ 1 ครั้ง แล้วนำคะแนนจากการสอบทั้ง 2 ฉบับ มาหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเปียร์สัน 1.3. การวัดความคงที่ภายใน ด้วยการใช้แบบทดสอบเพียงฉบับเดียว สอบครั้งเดียว แล้วนำคะแนนมาคำนวณตามทฤษฎีต่าง ๆ เช่น 1.3.1 การแบ่งครึ่งจำนวนของข้อสอบ นำคะแนนจากแบบทดสอบข้อคี่ และข้อคู่มาหาค่าสหสัมพันธ์แบบเปียร์สัน เมื่อได้ค่าเท่าใดแล้วขยายเป็น 2 เท่า เพื่อให้เป็นค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้สูตร r(tt)=2r(hh)/(1+r(hh)) เมื่อ r(tt) แทนความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ r(hh) แทนความเชื่อมั่นของแบบทดสอบครึ่งฉบับที่คำนวณได้ในชั้นแรก 1.3.2 ใช้สูตร KR.20 วิธีนี้จะนำคะแนนจากการสอบเพียงครั้งเดียว โดยตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน ดังนี้ r(tt)=(k/(k-1))(1-∑pq/s2) เมื่อ r(tt) แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จํานวนข้อสอบ p แทน สัดส่วนของผู้ที่ตอบถูกในแต่ละข้อ q แทน สัดส่วนของผู้ที่ตอบผิดในแต่ละข้อ S แทน ความแปรปรวนของคะแนนของแบบทดสอบ 2 แทน เลขยกกำลัง 1.3.3 ใช้สูตร KR.21โดยใช้สูตร KR-20 ของ คูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson) r(tt)=ks2-x(k-x)/(k-1)s2 r(tt) แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จํานวนข้อสอบ x แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนของแบบทดสอบ S แทน ความแปรปรวนของคะแนนของแบบทดสอบ 2 แทน เลขยกกำลัง 1.3.4 ใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา... 2.การหาความเชื่อมั่นแบบอิงเกณฑ์ เป็นการตตรวจสอบนั้นมีสมบัติที่สามารถจำแนกกลุ่มเก่งกับกลุ่มอ่อน ได้อย่างคงเส้นคงวา เพียงไร 2.1 ใช้แบบทดสอบคู่ขนาน โดยทดสอบนักเรียนกลุ่มละครั้ง แล้วคำนวณสัดส่วนของความสอดคล้องในการตัดสินความรอบรู้ ด้วยการหาผลรวมของสัดส่วน จำนวนผู้ผ่านเกณฑ์ ทั้ง 2 ครั้ง กับสัดส่วนของจำนวนผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ 2.2 การสอบซ้ำ โดยใช้แบบทดสอบ 1 ฉบับไปสอบกับนักเรียนกลุ่มหนึ่ง เป็นจำนวน 2 ครั้ง หรือการใช้แบบทดสอบคู่ขนาน และใช้สัมประสิทธิ์แคปปา 2.3 ใช้วัดความคงที่ภายใน โดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียว และทำการทดสอบกับนักเรียนเพียงครั้งเดียว ด้วยสูตรของลิวิงตัน.... #อ้างอิง :การประเมินผลและการสร้างแบบทดสอบ ผศ.ปรีชา สนธิรักษ์ ,2543#

ชื่องาน รายงานการสร้างนวัตกรรมแบบฝึกทักษะการบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์

และตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดลานบุญ

กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์

สำนักงานเขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร

ชื่อผู้รายงาน นางภิญโญ ลักษณะวิลาศ

ปีการศึกษา 2553

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์ไม่เกิน 100 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดลานบุญ และเปรียบเทียบความสามารถด้านการบวกและการลบที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ

1. แบบฝึกทักษะการบวกและการลบที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่สร้างขึ้น มี 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 การบวก ตอนที่ 2 การลบ ตอนที่ 3 โจทย์ปัญหา พร้อมแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 19 แผน ซึ่งเป็นแผนการใช้ชุดฝึก มีประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (E1) และด้านผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 86.32 /81.20

2. คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หลังการใช้แบบฝึกการบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 สูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกทักษะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ค่า Reliability ที่ยอมรับได้ต้องมีค่าเท่าใด

3) ความเชื่อมั่น (Reliability) ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ หมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่ได้จากการสอบนักเรียนหลายครั้ง โดยใช้แบบทดสอบชุดเดิม หรือพูด ง่ายๆ คือวัดกี่ครั้งก็ได้คาตอบที่คงที่เหมือนเดิม ซึ่งค่าความเชื่อมั่นจะมีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง +1 ซึ่งแบบทดสอบที่ดีควรมีค่าความเชื่อมั่นมากกว่า 0.70 การคานวณจะหาในรูปของ

ค่า Reliability คืออะไร

รัตนะ บัวสนธ(2540) เรียกคา Reliability คือ คา “ความเชื่อมั่น” ของเครื่องมือหรือแบบทดสอบนั้น ใหผลการสอบคงเสนคงวา (Consistency) ในการสอบวัดคนกลุมเดิมจะกี่ครั้งก็ตาม การพิจารณาวาแบบทดสอบ ใดมีความเชื่อมั่นสูงเพียงใด สามารถพิจารณาจากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของความเชื่อมั่น (Reliability Coefficient) ซึ่งจะบอกถึงความคงเสนคงวา ...

ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบคืออะไร

ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) คือ ระดับความถูกต้องของคะแนนที่วัดได้ เมื่อเทียบ กับคะแนนจริงของผู้สอบ ถ้าคะแนนที่วัดได้ และคะแนนจริงใกล้เคียงกันมาก แบบทดสอบก็จะมี ความเชื่อมั่นสูงด้วย การประมาณค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ พัฒนามาจากสมการของสเปียร์แมน (Nunally, X = Xp + X, เมอ เมื่อ

การทดสอบซ้ำ (Test

1. การทดสอบซ้ํา (Test-Retest Reliability) เปน การทดสอบหาความเชื่อมั่นของแบบ ทดสอบโดยการทําแบบทดสอบฉบับเดียวกัน 2 ครั้งในเวลาตา งกัน หลังจากนั้น จึงนํา คาที่ไดจาก การทดสอบทั้ง 2 ครั้งไปหาคาสหสัมพันธ เพื่อหาความสอดคลองของผลการทดสอบ โดยใช สูตรของเพียรสัน (Pearson Product-Moment Correlation) คา สัมประสิทธิ์ที่คํา ...