คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ระยะแรกเปิดสอนระดับปริญญาตรีเพียงสาขาเดียวคือ สาขานิติศาสตร์ ได้รับปริญญาธรรมศาสตร์บัณฑิต ใช้อักษรย่อว่า ธ.บ. ในภาคที่ 5 และ 6 ของหลักสูตรธรรมศาสตร์บัณฑิต มีวิชาเศรษฐศาสตร์อยู่ 2 วิชา คือ “เศรษฐศาสตร์” และ “ลัทธิเศรษฐกิจ” ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.เดือน บุนนาค เป็นผู้สอนวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นท่านแรก

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

ศาสตราจารย์ ดร.เดือน บุนนาค

ต่อมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และเปลี่ยนโครงสร้างคณะต่างๆ โดยได้ประกาศจัดตั้งคณะจำนวน 4 คณะ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2492

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับ การตัดสินใจเพื่อกระจายทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และการตอบสนองแรงจูงใจของมนุษย์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน เช่น การใช้เวลา การผลิต การลงทุน การบริโภคสินค้าและบริการ

HomeAbout usFAQPressSite mapTerms of servicePrivacy policy

10อันดับคณะเศรษฐศาสตร์ ปริญญาตรี ที่เป็นที่ยอมรับในการเข้าทำงาน

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่

  • ·
  • ·
  • ·
  • ·
  • ·
  • ·

1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์  
2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเศรษฐศาสตร์  
3 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเศรษฐศาสตร์  
4 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยนานาชาติ  
5 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  
6 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์  
7 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาการจัดการ  
8 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะสังคมศาสตร์  
9 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการ  
10 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะเศรษฐศาสตร์

อ้างอิง
http://www.urank.info/rankview.php?major_group=25&quest=11&edu_level=1&search=Go+%3E%3E

อ้างอิงเกณการตัดสิน ข้อที่สิบหัวข้อ ชื่อเสียงและการยอมรับ ใช้สิ่งบงชี้ ความมั่นใจและการยอมรับจากบริษัท และองค์กรต่างๆ ในการรับเข้าทำงาน
http://www.urank.info/about2.php


แล้วมีใครแอดเข้าที่ไหนบ้าง
คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

เฮ่ยๆๆ

25 เม.ย. 53 เวลา 23:20 น.

0

like

1,111

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

26 เม.ย. 53 เวลา 09:58 น. 6

สำหรับเรานะ เราคิดว่า เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ที่1 อ่ะ
เพราะเป็น1ใน4 คณะแรกของ มธ แถมคณะนี้ตั้งก่อนเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ

ความคิดเรานะ เราว่าคนส่วนมากจะมองว่า จุฬาฯเก่งๆๆ คณะไรก็เก่งหมด หรืออาจตัดสินจากคะแนนแอดมิชชั่น
แต่ความคิดของเราเลย เราว่า แต่ละมหาลัยก็มีคณะเด่นๆต่างกัน
อย่างมธ ก็ นิติ พาณิชย์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์
ถ้าจุฬาฯ แพทย์ วิศวะ นิเทศ ครุ พาณิชย์

สำหรับตัวเรา จขกท เขาบอกว่าตอนรับสมัครงาน เพราะฉะนั้นไม่ควรดูที่คะแนนแอดนะ ควรดูตัวบัณฑิตที่จบมามากกว่า
ตัวเรา เราชอบเศรษศาสตร์ เราเลือก เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เราว่าอันนี้ต้องยกให้เขาจริงๆ

0
ถูกใจ 3 ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

      เมื่อเล็งแล้วว่าอยากเข้าที่ไหนก็อย่าลืมติดตามข่าวสอบเข้าของสถาบันนั้น ๆ ด้วยนะคะ พลาดไปเสียดายแย่ จะมานั่งรอแอดมิชชั่นอย่างเดียวพี่แป้งว่าก็ดูจะเสี่ยงดวงเกิดไป หาสอบตรงไว้เผื่อบ้างก็ปลอดภัยดีนะคะ
เศรษฐศาสตร์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการควบคุมและกระจายทรัพยากรของมนุษย์ คำว่าเศรษฐศาสตร์ในภาษาอังกฤษคือ Economics มาจากคำว่า Oikonomia ในภาษากรีกโบราณ ซึ่งมีความหมายว่า การจัดระเบียบเรื่องในบ้าน และ การบริหารจัดการภาระหน้าที่ เดิมทีเศรษฐศาสตร์เป็นส่วนหนึ่งของสาขาวิชารัฐศาสตร์ ที่เพิ่งแยกออกมาเป็นวิชาของตัวเองช่วงปลายศตวรรษที่ 19 การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถแบ่งตามเนื้อหาได้เป็น 2 สาขาหลักๆ คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค โดยเศรษฐศาสตร์จุลภาคจะมุ่งเน้นศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับบุคคล โครงสร้างของระบบเศรษฐกิจนั้นๆ และบุคคลหรือหน่วยงานสำคัญๆ ที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง ส่วนเศรษฐศาสตร์มหภาค จะศึกษาเศรษฐกิจโดยรวมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติฃ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่น่าสนใจศึกษาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในสถานการณ์เศรษฐกิจโลกยุคปัจจุบัน ที่มีการแข่งขันสูงและระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศทั่วโลกต่างเชื่อมโยงถึงกัน บุคลากรที่มีความรู้เชิงลึกในด้านเศรษฐศาสตร์จึงยิ่งเป็นที่ต้องการตัวขององค์กรต่างๆ อย่างมาก

คุณสมบัติ

1.ชอบวิเคราะห์ คิดคำนวณ และวางแผนอย่างเป็นระบบ
2.ช่างสังเกต   รักการศึกษาค้นคว้า
3.สนใจติดตามข่าวสารที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
4.สำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมปลายหรทอเทียบเท่า

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

#มหาวิทยาลัยคณะ/สาขาระดับชั้นที่เปิดรับปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอกปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอก1มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการเงินและการธนาคาร      2มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการจัดการการสื่อสาร      3มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการจัดการธุรกิจ      4มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการท่องเที่ยว      5มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการบัญชี      6มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการประชาสัมพันธ์      7มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการสื่อสารมวลชน      8มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาการสื่อสาร      9มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ      10มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาเศรษฐศาสตร์      11มหาวิทยาลัยนเรศวรคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร สาขาสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร      12มหาวิทยาลัยมหาสารคามคณะการบัญชีและการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ     13มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการจัดการธุรกิจเกษตร      14มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร      15มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      16มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีวิทยาลัยอิสลามศึกษา สาขาเศรษฐศาสตร์และการจัดการในอิสลาม      17มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีคณะเทคโนโลยีและการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      18มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      19สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์      20สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน      21สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      22มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์การคลัง      23มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      24มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      25มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      26มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      27มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      28มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      29มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      30มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      31มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์การจัดการ      32มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหาร      33มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      34มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      35มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      36มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      37มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      38มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      39มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      40มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษคณะบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์การเงินและการคลัง      41มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      42มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      43มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานีคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      44มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      45มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      46มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์คณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      47มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูนารถคณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาเศรษฐศาสตร์      48มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรีคณะเทคโนโลยีสังคม สาขาเศรษฐศาสตร์      49มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      50มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีคณะบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์      51จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง      52จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ      53จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์      54จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และการเงินระหว่างประเทศ      55จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการจัดการบริการสุขภาพ      56จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์    57มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาธุรกิจการเกษตร      58มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การประกอบการ      59มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร      60มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์      61มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขนคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      62มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะเกษตรศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร      63มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      64มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิทยาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      65มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสังคมศาสตร์บูรณาการ สาขาเศรษฐศาสตร์      66มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเกษตรศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร     67มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเกษตรศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร      68มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง      69มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์สมุนไพร      70มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร     71มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์    72มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสังคมศาสตร์ สาขาการบริหารเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์    73มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง      74มหาวิทยาลัยทักษิณคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจ     75มหาวิทยาลัยทักษิณคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี      76มหาวิทยาลัยทักษิณคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาบริหารธุรกิจ      77มหาวิทยาลัยทักษิณคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์      78มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขานิติเศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ      79มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ      80มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์    81มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยสหวิทยาการ สาขาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์      82มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยรังสิตคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      83มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปางวิทยาลัยสหวิทยาการ สาขาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์      84มหาวิทยาลัยบูรพาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      85มหาวิทยาลัยบูรพาคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ     86มหาวิทยาลัยพะเยาวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      87มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงสำนักวิชาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      88มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สำนักวิชาการจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์      89มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์     90มหาวิทยาลัยรามคำแหงโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      91มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขานิเทศศาสตร์      92มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์     93มหาวิทยาลัยกรุงเทพคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการเงิน      94มหาวิทยาลัยกรุงเทพคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      95มหาวิทยาลัยกรุงเทพคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ      96มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิตคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      97มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิตคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ      98มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      99มหาวิทยาลัยพายัพคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      100มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาECONOMICS      101มหาวิทยาลัยรังสิตคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์      102มหาวิทยาลัยรังสิตคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      103มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการจัดการทั่วไป บัญชี      104มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยคณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์      105มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยบัณฑิตวิทยาลัย สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      106มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยวิทยาลัยนานาชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์      107มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยวิทยาลัยนานาชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      108มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญคณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและเศรษฐศาสตร์      109มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญคณะบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ      

แนวทางการประกอบอาชีพ

คนที่จบการศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์  สามารถทำงานได้ทั้งรัฐบาล  รัฐวิสาหกิจ  และเอกชน  ได้แก่  ธนาคาร  บริษัทเงิน ทุนหลักทรัพย์  ครู  อาจารย์ในมหาวิทยาลัย  ทำงานในบริษัทประกันภัยและบริษัทธุรกิจอื่นๆ  ที่ต้องการนักเศรษฐศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับสภาวะการตลาด  และการวางแผนดำเนินธุรกิจต่าง ๆ  ตลอดจนประกอบธูรกิจส่วนตัว  และยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท  และปริญญาเอกในสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ  เพราะมีการเปิดสอนมากมาย

ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ

โอกาสหางานง่าย

7/10

ความยากง่ายในการเรียน

7/10

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

คณะเศรษฐศาสตร์ใน ประเทศไทย

ที่มาข้อมูล

http://econ.eco.ku.ac.th/2014/
http://tantaiz.exteen.com/20130204/entry-1
http://mangt.pcru.ac.th/Economics%20Website/

http://www.hotcourses.in.th/subject/economics/
http://iamnp.com/hatyai/portfolio_category/graduation/page/4/#lightbox[group-8]/1/
http://www.trueplookpanya.com/true/guidance_after_m6.php?cms_category_id=124&cms_id=7418

SHARED

จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?

พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!

สูตรสำเร็จสอบติดคณะดี ม.ดัง

ครบทุกวิชาในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งเจาะเนื้อหาและเจาะข้อสอบ 7 ม.ดัง มหิดล จุฬาฯ มธ. มช. มข. มอ. มน.

ใครอยากเป็นเด็กไทย-ญี่ปุ่น โอกาสมาแล้ว!! เปิดรับสมัครรอบ โควตา สอบตรง/ชิงทุน 2

เกรดเฉลี่ย 2.50 ขึ้นไป l สมัครวันนี้ รับส่วนลด 7,000.- ได้เรียนภาษาญี่ปุ่น มีโอกาสไปฝึกงาน ทำงานจริงที่ญี่ปุ่น