สุขศึกษา ม. 2 หน่วยที่ 6 อารมณ์และ ความเครียด

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง.การจัดการอารมณ์และความเครียด ด้วยการฝึกจิต

รวบรวมโดย ครูสุพร อ่างทอง

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด

  1. ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตไม่ดีจะเป็นเช่นไรชอบคุยกับเพื่อนๆ

    1.   ?    ใบหน้าเฉยๆ
    2.   ?    ชอบคุยกับเพื่อนๆ
    3.   ?    ทำงานอยู่ตลอดเวลา
    4.   ?    เก็บตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ
  2. การฝึกจิตวิธีใดเหมาะสมที่สุด

    1.   ?    การนั่ง
    2.   ?    การทำสมาธิ
    3.   ?    การนับ ๑ - ๑๐
    4.   ?    การออกกำลังกาย
  3. เมื่อเกิดความเครียดควรหาวิธีการแก้ไขอย่างไร

    1.   ?    หาคนที่ไว้ใจได้และขอคำปรึกษา
    2.   ?    หาคนที่ไว้ใจได้และขอคำปรึกษา
    3.   ?    พยายามไม่นึกถึงปัญหานั้น
    4.   ?    พยายามแก้ปัญหาด้วยตนเอง
  4. เมื่อเกิดอาการเครียดระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงเนื่องมาจากอวัยวะใด

    1.   ?    ต่อมใต้สมอง
    2.   ?    ต่อมหมวกไต
    3.   ?    ตับอ่อน
    4.   ?    ปอด
  5. ประโยชน์ที่ได้รับจากการนั่งสมาธิขั้นสูงสุดคือข้อใด

    1.   ?    มีสุขภาพจิตดี
    2.   ?    มีสุขภาพกายและจิตดี
    3.   ?    การทำงานมีประสิทธิภาพดี
    4.   ?    พบกับความสุขที่แท้จริง
  6. WHO (องค์การอนามัยโลก) ประกาศให้ปีใดเป็นปีสุขภาพจิตสากล

    1.   ?    ค.ศ. ๒๐๐๐
    2.   ?    ค.ศ. ๒๐๐๑
    3.   ?    ค.ศ. ๒๐๐๒
    4.   ?    ค.ศ. ๒๐๐๓
  7. การจัดการกับอารมณ์และความเครียดที่ให้ผลระยะยาวคือวิธีใด

    1.   ?    การฝึกจิต
    2.   ?    การใช้จินตนาการ
    3.   ?    การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
    4.   ?    การใช้เทคนิคคลายเครียด
  8. ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่ออารมณ์น้อยที่สุด

    1.   ?    พันธุกรรม
    2.   ?    สิ่งแวดล้อม
    3.   ?    สภาพร่างกาย
    4.   ?    สภาพทางเศรษฐกิจ
  9. ข้อใดจัดเป็นการมองปัญหาเชิงบวก

    1.   ?    การมองแต่แง่ดี
    2.   ?    การมองถึงกำไร
    3.   ?    การมองถึงผลประโยชน์
    4.   ?    การมองเฉพาะปัญหาที่สำคัญ
  10. เมื่อเกิดความเครียดควรปฏิบัติตนตามแบบใดจึงเหมาะสมที่สุด

    1.   ?    สมพลนัดเพื่อนไปเที่ยวกลางคืน
    2.   ?    สมพลนัดเพื่อนไปเที่ยวกลางคืน
    3.   ?    เสรีเล่าเรื่องที่ไม่สบายใจให้พ่อแม่ฟัง
    4.   ?    สนธิผ่อนคลายด้วยการเล่นเกมออนไลน์
  11. ข้อใดจัดเป็นการมองโลกในแง่ดี

    1.   ?    ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
    2.   ?    มองว่าโลกนี้น่าอยู่
    3.   ?    ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี
    4.   ?    มีการระบายความเครียดที่เหมาะสม
  12. การจัดการกับความเครียดข้อใดเหมาะสมที่สุด

    1.   ?    ปล่อยให้เครียดให้ถึงที่สุด
    2.   ?    ยอมรับและทำความเข้าใจ
    3.   ?    ประกอบกิจกรรมนันทนาการ
    4.   ?    เผชิญกับปัญหาอย่างจริงจัง
  13. การฝึกจิตมีประโยชน์ต่อการจัดการกับความเครียดอย่างไร

    1.   ?    ทำให้ความเครียดลดลง
    2.   ?    ทำให้ไม่เกิดความเครียด
    3.   ?    ทำให้รู้จักควบคุมอารมณ์
    4.   ?    ทำให้ร่างกายสดชื่นจึงไม่เกิดความเครียด

วยั ร่นุ เป็ นวยั ท่ีมีภาวะอารมณ์ท่ีอาจมีการเปล่ียนแปลงรวดเรว็ วุฒิภาวะทางอารมณ์ ยงั ไม่สมบูรณ์ ขาดทักษะและประสบการณ์ในการเผชิญกบั ปัญหา การเรียนรู้เกี่ยวกบั ปัญหาสุขภาพจิต จะช่วยให้เรามีแนวทางในการเผชิญความเครียดต่างๆ ในชีวิตได้ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมอันจะก่อให้เกิดสุขภาพจิตที่ดีและเป็ นผู้ใหญ่ ที่มีคณุ ภาพในอนาคต

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รนุ่ ปัญหาการเรยี น ไดแ้ ก่ ๑. การเรยี นไมท่ นั เพอ่ื น ๒. การไมส่ ามารถทางานทค่ี รมู อบหมายไดต้ ามกาหนด ๓. การไมเ่ ขา้ ใจในบทเรยี น ๔. การมผี ลการเรยี นไมเ่ ป็นไปตามทบ่ี ดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครองคาดหวงั

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัญหาสขุ ภาพจิตในวยั รนุ่ ปัญหาพฤติกรรม ไดแ้ ก่ ๑. ปรับตวั เขา้ กบั เพ่อื นไม่ได้ ๒. กิริยามารยาท ทา่ ทางการแสดงออก การใชภ้ าษาไม่สุภาพ ๓. ก่อกวน คุยเสียงดงั ในหอ้ งเรียน ชวนทะเลาะ โตเ้ ถียง ไม่เชื่อฟัง ตอ่ ตา้ น ๔. ทาผดิ กฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั ทางโรงเรียน ๕. พดู โกหก สร้างเร่ืองท่ีไมเ่ ป็ นความจริง ๖. ลกั ขโมยเงิน ส่ิงของเคร่ืองใชข้ องผอู้ ่ืน

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รนุ่ ปัญหาพฤติกรรม ไดแ้ ก่ ๗. เล่นการพนนั ๘. หนีโรงเรียน เท่ียวเตร่ตามห้างสรรพสินคา้ จบั กลุ่มมว่ั สุมแหล่งอบายมุข สถานเริงรมย์ ๙. กา้ วร้าว ทาลายของ ทะเลาะวิวาท ๑๐. การใชส้ ารเสพติด ๑๑. พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ๑๒.พฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัญหาสขุ ภาพจิตในวยั รนุ่ ปัญหาอารมณ์และจติ ใจ ได้แก่ ๑ โมโหง่าย ๒ ไม่กล้า ๓ ขลาดกลวั ถอย ๔ ซึมเศร้า ๕ พยายามทาร้ายตนเอง ฆ่าตวั ตาย การมกี ิจกรรมรว่ มกบั เพื่อน เป็นวิธีหนึ่งของการกระชบั มิตร

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัจจยั ที่ทาให้วยั รนุ่ เกิดความเครียด และเส่ียงต่อการเกิดปัญหาสขุ ภาพจิต ความเครียดภายในร่างกาย ๑.๑ การเปลยี่ นแปลงทางร่างกาย ๑.๒ ความวติ กกงั วลกบั อารมณ์เพศท่สี ูงขึน้ ๑.๓ ความกงั วลกบั พฤติกรรมทางเพศ

ปัญหาสุขภาพจิตในวยั รุ่น ปัจจยั ท่ีทาให้วยั รนุ่ เกิดความเครียด และเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสขุ ภาพจิต ความเครียดจากภายนอก ๒.๑ ความคาดหวงั ของสังคมว่าวยั รุ่นจะต้องแสดงพฤตกิ รรมท่ีเป็ นผ้ใู หญ่ ๒.๒ ความปรารถนาส่วนตัวของวยั รุ่นทไ่ี ม่สอดคล้องกบั ความ ๒.๓ การปรับตวั ต่อเพศตรงข้าม ๒.๔ กงั วลใจเร่ืองความขดั แย้งกบั เพื่อน ๒.๕ ความสัมพนั ธ์ท่ีไม่ดใี นครอบครัวหรือโรงเรียน

สาเหตแุ ละลกั ษณะพฤตกิ รรมและการแสดงออกบ่งบอกว่า เสี่ยงต่อการมปี ัญหาสุขภาพจติ สาเหตขุ องการเส่ียงต่อการมีปัญหาสขุ ภาพจิตในวยั ร่นุ จากตวั วยั รุ่น ๑.๑ พนั ธุกรรม ๑.๒ เชาวน์ปัญญา ๑.๓ สุขภาพร่างกาย ๑.๔ ลกั ษณะบุคลกิ ภาพของตัววยั รุ่นเอง

สาเหตุและลกั ษณะพฤตกิ รรมและการแสดงออกบ่งบอกว่า เส่ียงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิต สาเหตขุ องการเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตในวยั ร่นุ จากสิ่งแวดล้อม ๒.๑ ภาวะของครอบครัว ๒.๒ ฐานะทางครอบครัว ๒.๓ การเลยี้ งดู ๒.๔ สิ่งแวดล้อมอ่ืนๆ เช่น ภาวะกดดนั จากการเปลยี่ นแปลงทางสังคม ชุมชน ท่ีอาศัยอยู่ เช่น ชุมชนแออดั

อารมณ์และความเครียด อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกทางภาวะจิตใจท่ีได้รับการกระตุ้นให้ เกิดมีการแสดงออก ต่อส่ิงท่มี ากระตุ้น อารมณ์สุข คือ อารมณ์ท่เี กดิ ขนึ้ จากความสบายใจ หรือได้รับความสมหวงั อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากความไม่สบายใจ หรือได้รับความไม่สมหวงั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีจะช่วยให้อย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ

อารมณ์และความเครียด ความเครียด ความเครียด เป็นภาวะท่ีเกิดข้ึน เมื่อจิตใจวติ กกงั วลส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงดา้ นร่างกายข้ึนได้ ลกั ษณะอาการท่ีบง่ บอกวา่ บุคคลเริ่มมีความเครียด ๑. ปวดศีรษะ ๒. นอนไม่หลบั ๓. อ่อนเพลีย ๔. กินมาก ๕. ทอ้ งผูก ๘. หวาดวิตก/ตาขยิบ ๖. ปวดหลงั ๗. มอี าการภูมิแพ้ ๑๑. เป็นลมพิษ ๙. ฝันรา้ ย/นอนละเมอ/กดั ฟัน ๑๐. ความดนั เลือดสูง ๑๒. ใชย้ าหรือแอลกอฮอล์

อารมณ์และความเครียด สาเหตขุ องความเครียด สาเหตุจากปัจจยั ภายในตวั บุคคล ๑.๑ สาเหตุทางกาย เช่น การพกั ผ่อนไม่เพยี งพอ ๑.๒ สาเหตุทางใจ - บคุ ลิกภาพบางประเภทที่ก่อให้เกิดความเครียดไดง้ ่าย ไดแ้ ก่ บคุ ลิกภาพแบบเอาจริงเอาจงั กบั ชีวติ เป็นคนเจา้ ระเบียบ - ความขดั แยง้ ในใจ ตอ้ งเผชิญทางเลือกสองทางข้ึนไป - ความคบั ขอ้ งใจ ไมส่ ามารถบรรลุเป้าหมายท่ีตอ้ งการได้

อารมณ์และความเครียด สาเหตขุ องความเครียด สาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม ๒.๑ ทางกายภาพ เช่น อณุ หภูมิ ภูมิอากาศ การจราจร กลน่ิ เหมน็ ๒.๒ ทางชีวภาพ เช่น เชื้อโรคต่างๆ ๒.๓ ทางสังคม เช่น ปัญหาการเรียน ปัญหาการทางาน ปัญหาการเงนิ ปัญหาครอบครัว ปัญหาการเรียนเป็นปัจจยั หน่ึงท่ีทาให้เกิดความเครียด

วธิ ีปฏบิ ัตติ นเพ่ือจัดการกบั อารมณ์และความเครียด เทคนิคการจดั การกบั ความคิดและอารมณ์ ๑. ตอ้ งตระหนกั ถึงอาการท่ีแสดงวา่ เร่ิมมีความเครียด ๒. พจิ ารณาวา่ อะไรทาให้เครียด ๓. ใชเ้ ทคนิคการผอ่ นคลายอารมณ์ เพอื่ ใหเ้ กิดความสงบ ๔. ชื่นชมตนเองทีส่ ามารถจดั การกบั ความคิดและอารมณ์ทางลบของตนเองได้ อยา่ งสร้างสรรค์

วธิ ีปฏบิ ตั ติ นเพื่อจดั การกบั อารมณ์และความเครียด เทคนิ คการจดั การกบั ความคิดและอารมณ์ การฝึ กสมาธิช่วยผอ่ นคลายความเครียด

สรุป วัย รุ่ น เ ป็ น ช่ ว ง เ ว ล า ท่ี มี ค วา ม สับ สน ท าง จิ ต ใ จม าก ที่ สุ ด ก ว่า วัย อื่ น ๆ ร วม ถึ ง ค ว า ม ตึ ง เ ค รี ย ด ซ่ึ ง เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง ต่ อ ม ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น ร่ า ง ก า ย และปั จจัยทางส่ิ งแวดล้อมอีกด้วย การท่ีจะเข้าใจถึงความเครี ยด ตระหนักถึงอาการ ท่ีแสดงว่าตนกาลังมีความเครี ยด ตลอดจนเรี ยนรู้ทักษะในการเผชิญ กับความเครี ยด จะช่วยใหเ้ รามีความพร้อมในการแกป้ ัญหาก่อนท่ีปัญหาน้นั จะรุนแรงเกินกวา่ ที่จะแกไ้ ข หน่วยก่อน สารบญั หน่วยต่อไป