50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

เงินบาท (ตัวละติน: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 15,000 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 15,000 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน

บาทThai bahtISO 4217รหัสTHBการตั้งชื่อหน่วยย่อย1/100สตางค์สัญลักษณ์฿ธนบัตรใช้บ่อย20, 50, 100, 500, 1000 บาทไม่ค่อยใช้50 สตางค์, 1, 5, 10 บาทเหรียญใช้บ่อย25, 50 สตางค์, 1, 2, 5, 10 บาทไม่ค่อยใช้1, 5, 10 สตางค์ข้อมูลการใช้ผู้ใช้อย่างเป็นทางการ

50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

ไทยอย่างไม่เป็นทางการ

50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

พม่า

50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

ลาว

50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

กัมพูชา

50 สตางค์กี่เหรียญ เท่ากับ 1 บาท

เวียดนามการตีพิมพ์ธนาคารกลางธนาคารแห่งประเทศไทยเว็บไซต์โรงพิมพ์ธนบัตรสำนักกษาปณ์เว็บไซต์การประเมินค่าอัตราเงินเฟ้อ>2.5% (ในวันที่ 15 พ.ค. 2555 เป็นต้นไป)ที่มา(พ.ศ. 2549)

เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยสำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ

ตามข้อมูลของสมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก (SWIFT) สกุลเงินบาทได้รับการอันดับเป็นสกุลเงินอันดับที่ 10 ของโลกที่ใช้ในการชำระเงินระหว่างประเทศ (most frequently used currencies in World Payments)

เนื้อหา

  • 1ประวัติศาสตร์
  • 2เหรียญ
    • 2.1เหรียญของเงินบาทไทย
  • 3ธนบัตร
  • 4อ้างอิง
  • 5ดูเพิ่ม
  • 6แหล่งข้อมูลอื่น

ระบบสกุลเงินไทยในปัจจุบัน ซึ่งเงิน หนึ่งบาท มีค่าเท่ากับ 100 สตางค์ เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2440 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนหน้านั้นเงินตราไทยใช้ระบบดังนี้

หน่วยเงินมูลค่าหมายเหตุ1 หาบ80 ชั่ง = 6,400 บาท1 ชั่ง20 ตำลึง = 80 บาท1 ตำลึง4 บาท1 บาท1 บาท = 100 สตางค์1 มายน หรือ 1 มะยง1/2 บาท = 50 สตางค์ปัจจุบันยังมีการเรียกเหรียญมูลค่านี้ว่า เหรียญสองสลึง1 สลึง1/4 บาท = 25 สตางค์ปัจจุบันยังมีการเรียกเหรียญมูลค่านี้ว่า เหรียญสลึง1 เฟื้อง1/8 บาท = 12.5 สตางค์1 ซีก หรือ 1 สิ้ก1/16 บาท = 6.25 สตางค์1 เสี้ยว 1 เซี่ยว หรือ 1 ไพ1/32 บาท = 3.125 สตางค์1 อัฐ1/64 บาท = 1.5625 สตางค์1 โสฬส หรือ โสฬศ1/128 บาท = 0.78125 สตางค์1 เบี้ย1/6400 บาท = 0.015625 สตางค์

เหรียญสตางค์โลหะผสม

ในปัจจุบันมีการผลิตเหรียญกษาปณ์อยู่ทั้งหมด 9 ชนิดคือ เหรียญ 1, 5, 10, 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรียญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท เป็นเหรียญที่ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป ส่วนเหรียญ 1, 5 และ 10 สตางค์ ไม่ได้ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป แต่ใช้ภายในธนาคารเท่านั้น

แต่ในปัจจุบันได้เกิดปัญหาราคาวัตถุดิบในการผลิตเหรียญสูงกว่าราคาเหรียญ ทำให้เกิดการลักลอบหลอมเหรียญไปขาย หรือบางครั้งก็เกิดปัญหาการใช้เหรียญผิด เพราะรูปร่างและสีของเหรียญบางชนิดนั้นคล้ายกัน (เช่น เหรียญ 1 บาท กับ เหรียญ 2 บาท แบบเก่า) ดังนั้น ใน พ.ศ. 2552 กระทรวงการคลัง ได้เปลี่ยนแปลงวัตถุดิบในการผลิตเหรียญบางชนิด เพื่อป้องกันการหลอมเหรียญ สร้างความแตกต่างของเหรียญ และลดความยุ่งยากในการใช้เหรียญเป็นดังนี้

เหรียญของเงินบาทไทย

การหมุนเวียนของเงินตรา(ไทย)มูลค่าตัวแปรทางเทคนิคคำบรรยายปีที่ผลิตครั้งแรกเส้นผ่าศูนย์กลางมวลองค์ประกอบด้านหน้าด้านหลังเหรียญ 1 สตางค์ 115 มิลลิเมตร0.5 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร, จังหวัดลำพูนพ.ศ. 2530 (1987)99% Aluminiumพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 5 สตางค์ 116 มิลลิเมตร0.6 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร, จังหวัดนครปฐมพ.ศ. 2530 (1987)16.5 มิลลิเมตร99% Alพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 10 สตางค์ 117.5 มิลลิเมตร0.8 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgวัดพระธาตุเชิงชุม, จังหวัดสกลนครพ.ศ. 2530 (1987)99% Alพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 25 สตางค์16 มิลลิเมตร1.9 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร, จังหวัดนครศรีธรรมราชพ.ศ. 2530 (1987)เหรียญ 25 สตางค์ (แบบ 2)16 มิลลิเมตร1.9 กรัมทองแดง ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 50 สตางค์18 มิลลิเมตร2.4 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์วัดพระธาตุดอยสุเทพ, จังหวัดเชียงใหม่พ.ศ. 2530 (1987)เหรียญ 50 สตางค์ (แบบ 2)18 มิลลิเมตร2.4 กรัมทองแดง ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 1 บาท20 มิลลิเมตร3.4 กรัมคิวโปรนิกเกิลวัดพระศรีรัตนศาสดาราม, กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2529 (1986)3 กรัมนิกเกิล ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 2 บาท21.75 มิลลิเมตร4.4 กรัมนิกเกิล ชุบ เหล็กคาร์บอนต่ำวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร, กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2548 (2005)21.75 มิลลิเมตร4 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์พ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 5 บาท24 มิลลิเมตร7.5 กรัมคิวโปรนิกเกิล หุ้ม ทองแดงวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร, กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2531 (1988)6 กรัมพ.ศ. 2551 (2008)เหรียญ 10 บาท26 มิลลิเมตร8.5 กรัมวงแหวน: คิวโปรนิกเกิล
ตรงกลาง: อะลูมีเนียมบรอนซ์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2531 (1988)เหรียญ 10 บาท
(แบบ 2)26 มิลลิเมตรพ.ศ. 2551 (2008)

สำหรับบทความหลักในหมวดหมู่นี้ ดูที่ ธนบัตรไทย

นับ แต่เริ่มนำธนบัตรออกใช้เมื่อพุทธศักราช 2445 จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้นำธนบัตรออกใช้รวมทั้งสิ้น 16 แบบ ซึ่งแบ่งเป็นธนบัตรก่อนจัดตั้งโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ 1-10 รวมทั้งธนบัตรแบบพิเศษ และธนบัตรที่ผลิตจากโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ 11-16

ธนบัตร ที่ใช้ในประเทศไทยในปัจจุบันมีหลายชนิด แต่หลายชนิดเป็นธนบัตรที่ระลึกที่มีจำนวนจำกัด และไม่ถูกใช้ในการหมุนเวียนทั่วไป เช่น ธนบัตรที่ระลึกมูลค่า 60 บาท เป็นต้น ส่วนธนบัตรที่ถูกใช้หมุนเวียนทั่วไป และยังมีการผลิตอยู่อย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน มี 5 ชนิด ได้แก่ ธนบัตร 20, 50, 100, 500 และ 1000 บาท

200สตางค์เท่ากับกี่บาท

25 100. ดังนั้น กล้ามีเงิน 225 สตางค์เท่ากับ 2.25 บาท เงิน 200 สตางค์เท่ากับ 2 บาท Page 21 วิธีคิด เปลี่ยนหน่วยสตางค์เป็นบาท

เหรียญ1สลึงกี่บาท

ในกรุงเทพฯ 1 สลึง มีค่าเท่ากับ 10 บาท และใน พัทยา 1 สลึง มีค่าเท่ากับ 20 บาท

เงิน50สตางค์หนักกี่กรัม

ชนิดราคา
โลหะ
น้ำหนัก (กรัม)
50 สตางค์
โลหะส่วนที่เคลือบ - ทองแดงร้อยละ 99 โลหะส่วนที่เป็นไส้ - เหล็กร้อยละ 99
2.4
25 สตางค์
โลหะส่วนที่เคลือบ - ทองแดงร้อยละ 99 โลหะส่วนที่เป็นไส้ - เหล็กร้อยละ 99
1.9
10 สตางค์
- อะลูมิเนียมร้อยละ 99
0.8
5 สตางค์
- อะลูมิเนียมร้อยละ 99
0.6
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนปัจจุบันรัชกาลที่ 10www.royalthaimint.net › ewtadmin › ewt › mint_web › ewt_newsnull

เหรียญ50สตางค์พ.ศ.2500ราคากี่บาท

เหรียญ50สต.2500(2.5ซม.) ฿16,000.