โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต

การติดตั้งโซลาร์รูฟท๊อปนั้นไม่อยาก แต่จะติดตั้งอย่างไรให้ถูกหลักวิศวกรรมและถูกกฏหมายนั้นไม่ง่าย หลายคนคงประสบกับปัญหาเรื่องการขออนุญาตต่างที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งโซลาร์รูฟท๊อป Solar Rooftop มาที่มหานครเอ็นจิเนียริ่งฯ ที่เดียว ทั้งออกแบบเขียนแบบ, รับติดตั้ง, จำหน่ายอุปกรณ์ รวมถึงรับดำเนิการขออนุญาตทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น อ.1, พค.2, หนังสือยกเว้นฯ, ขอเดินเครื่องขนานระบบ โดยวิศวกรสามัญโยธา,วุฒิวิศกรโยธา,วิศกรไฟ้ฟ้าสามัญเซ็นรับรอง จบสมบูรณ์แบบใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องตามกฏหมายกำหนดครับ ยินดีให้คำปรึกษาและรับยื่นเอกสาร โทร. O62-895-8288 โดยทีมงานที่มีประสบการณ์ กว่า 100 โครงการ 

โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต
โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต

เปิดกฎหมายวุ่นๆ ติดโซลาร์เซลล์บนหลังคาบ้าน กกพ.ยกเว้น ไม่ต้องขอใบอนุญาต แต่ ก.มหาดไทย...

Posted by กองทุนแสงอาทิตย์ on Thursday, May 7, 2020

ช่วงนี้หลายๆท่านที่สนใจระบบโซล่าเซลจะนำมาใช้กับบ้าน คงเคยทราบถึง ระบบโซล่าเซลล์ที่เรียกกันว่าออนกริด หรือแบบเชื่อมต่อกับไฟฟ้าการไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้าแล้วใช้งานเลยตอนกลางวัน ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ ไฟฟ้าในส่วนที่ไม่เพียงพอจะดึงไฟฟ้าการไฟฟ้าเข้ามาเสริมการใช้งานอัตโนมัติ

มีคำถามที่ถามเข้ามาบ่อยครั้งว่า ต้องดำเนินการขออนุญาตการไฟฟ้าด้วยไหม เพราะก็ใช้อุปกรณ์เช่น อินเวอร์เตอร์ที่ผ่านการไฟฟ้า กฟน.  กฟภ. รับรองอยู่แล้ว และมีระบบป้องกันไฟฟ้าที่ผลิตได้เกินจากระบบโซล่าเซลไหลย้อนออกสู่การไฟฟ้า

คำถาม “ติดตั้งโซล่าเซลระบบออนกริด ต้องขออนุญาติการไฟฟ้าหรือไม่”

คำตอบคือ “ต้องขออนุญาตกับการไฟฟ้าครับ “

ทำไมต้องขอด้วยในเมื่อก็ใช้อุปกรณ์ที่ผ่านการไฟฟ้ารับรองอยู่แล้ว คำตอบคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานต้องผ่านการไฟฟ้ารับรองอันนี้เป็นข้อบังคับอยู่แล้ว แต่อย่าลืมว่ายังมีอุปกรณ์อื่นๆที่ต่อร่วมอยู่ในระบบเช่นการเลือก ชนิด /ขนาดสายไฟฟ้า ชนิด/ขนาดของอุปกรณ์ป้องกัน ฟิวส์ เบรกเกอร์ ระบบกราวด์ ซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยของการใช้งานของเจ้าของบ้าน  การไฟฟ้าจึงต้องให้ผู้ที่ติดตั้งระบบยื่นเรื่องขออนุญาติ พร้อมมีวิศวกรไฟฟ้าเซ็นรับรองแบบของการติดตั้งด้วยครับ

อีกคำถามที่ถามกันต่อมาทันทีคือ แล้วถ้าไม่ขออนุญาตล่ะ จะมีปัญหาอะไรไหม

คำถาม “ถ้าติดตั้งแล้วไม่ขออนุญาติจะมีปัญหาอะไร

คำตอบคือ มีหลายกรณีแล้วแต่ว่าจะเจอกรณีไหน ตั่งแต่ไม่เกิดอะไรเพราะการไฟฟ้าไม่รู้ จนถึงโดนแจ้งและเสียค่าปรับและให้ยกเลิกการใช้งาน

กรณีที่ 1 การไฟฟ้าไม่รู้ เจ้าของบ้านก็ยังสามารถใช้งานได้ปกติ  (โชคดีไป..)

กรณีที่ 2 การไฟฟ้ารู้ว่าไม่ได้ขออนุญาต และมีหนังสือแจ้งให้เจ้าของบ้านทำการปลดระบบออก และให้ไปดำเนินการขออนุญาตให้ถูกต้องก่อน  ถึงจะกลับมาใช้งานได้ (ไม่เอาเรื่อง แนะนำให้ไปทำให้ถูกต้อง )

กรณีที่ 3 การไฟฟ้ารู้ว่าไม่ได้ขออนุญาต และมีหนังสือเรียกค่าเสียหายมาที่เจ้าของบ้านจากการที่ขนานไฟฟ้าโดยไม่ขออนุญาติ โดยเรียกค่าเสียหายเป็นเงินค่าปรับ คิดจากหน่วยไฟฟ้าที่โซล่าเซลผลิตได้ทั้งหมดพร้อมดอกเบี้ย (เอาเรื่องเจ้าของบ้าน )

ดังนั้นเพื่อการใช้งานอย่างสบายใจ ไม่ต้องกลัวผิดกฎหมาย ยื่นขออนุญาตการไฟฟ้าให้ถูกต้องก่อนใช้งานนะครับ ไม่งั้นเงินแสนที่ติดตั้งระบบโซล่าเซลไปอาจจะไม่ได้ใช้ประโยชน์เลยก็ได้

ขั้นตอนการขออนุญาตติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปตามกฎหมาย หลายคนพอจะได้ทราบกันไปแล้วว่าโซลาร์รูฟท็อปดียังไง และมีอยู่ด้วยกันกี่แบบ แต่การจะติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปไม่สามารถดำเนินการด้วยตนเองได้ทันที เพราะจะต้องมีกระบวนการขออนุญาตหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องก่อน ซึ่งการขออนุญาตติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปนั้นจะแบ่งการขออนุญาตออกเป็น 2 แบบคือ

1. การขออนุญาตเพื่อขอขายไฟคืนตามโครงการไฟฟ้าภาคประชาชน (ต้องติดตั้งขนาดที่มีกำลังการผลิตไม่เกิน 10 กิโลวัตต์) และต้องเป็นบ้านพักอาศัยเท่านั้น (ประเภท1)

2. การขอขนานไฟเพื่อติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปเสรี โดยติดตั้งที่มีกำลังการผลิตได้ทุกขนาดไม่จำกัด

โดยมีหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องทั้งการขายไฟคืน หรือการติดตั้งเพื่อใช้ภายในบ้านหรือสำนักงาน จะต้องติดต่อกับหน่วยงานของรัฐทั้ง 3 หน่วยงานดังนี้ค่ะ

1. กกพ.(สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน) เพื่อแจ้งขอเป็นผู้ประกอบกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นและขอรับใบอนุญาตทำการผลิตพลังงานควบคุม

2. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือสำนักงานเขตที่อาคารที่จะติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปตั้งอยู่เพื่อขอรับใบอนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร (อ.1)

3. กฟน. (การไฟฟ้านครหลวง) หรือ กฟภ. (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) ในเขตพื้นที่เพื่อให้ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้ง

โซล่า เซลล์ กี่กิโลวัตต์ ต้องขออนุญาต

ขั้นตอนการยื่นขอติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป

1. ยื่นเอกสารต่อ กกพ. เพื่อแสดงความจำนงในการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปหลังจากนั้นจะได้ใบอนุญาตให้ผู้ยื่นขอสามารถทำการผลิตพลังงานควบคุมได้

2. เนื่องจากแผงโซลาร์เซลล์มีน้ำหนักถึง 22 กิโลกรัม การนำแผงโซลาร์เซลล์จำนวนหลาย ๆ แผงไปวางบนหลังคา จะต้องมีการตรวจสอบโครงสร้างหลังคาว่ารับน้ำหนักได้หรือไม่ ผู้ติดตั้งจึงต้องยื่นแบบขอต่อเติมอาคารกับสำนักงานเขต หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น แล้วก็จะได้ใบอนุญาตมา 1 ใบ (แต่ในกรณีที่พื้นที่ติดตั้ง มีขนาดไม่เกิน 160 ตรม. และมีน้ำหนักรวมของแผงเซลล์แสงอาทิตย์และโครงสร้างรับรองแผงไม่เกิน 20 กิโลกรัมต่อ ตรม. ไม่ต้องขอใบอนุญาต อ.1 แต่จะต้องขอแจ้งเจ้าหน้าที่พนักงานท้องถิ่นทราบว่าการออกแบบและการคำนวณได้มีวิศวกรโยธาเซ็น๖รับรอง )

3. นำเอกสารทั้ง 2 ส่วนมายื่นต่อการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) หรือ การไฟฟ้าฯส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ซึ่งการไฟฟ้าฯจะนำมิเตอร์ไฟฟ้ามาเปลี่ยนให้ใหม่ เป็นมิเตอร์แบบป้องกันไฟฟ้าย้อนกลับ และหากจะขายไฟฟ้าคืน มิเตอร์ก็จะเป็นอีกประเภทหนึ่งที่สามารถปล่อยไฟฟ้ากลับคืนสายส่งของภาครัฐได้ โดยขั้นตอนทั้งหมดเป็นไปตามเงื่อนไข ของผู้จำหน่ายในแต่ละผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ค่ะ

หากคุณสนใจระบบโซล่าเซลล์ Thai-A เราเป็นผู้นำด้านบริการ และจัดจำหน่าย อุปกรณ์ระบบโซล่าเซลล์ครบวงจร เช่น แผงโซล่าเซลล์ แผงโซล่าเซลล์ 325 วัตต์ ปั๊มโซล่าเซลล์ ปั๊มหอยโข่งโซล่าเซลล์ ปั๊มน้ำซับเมอร์ส พร้อมทั้งติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม  โซลาร์รูฟท็อปราคาจับต้องได้ เรามีประสบการณ์ยาวนาน เจ้าแรกที่ติดตั้งในไทย มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาตรฐาน มอก.พร้อมรับประกันงานติดตั้ง 1 ปี