พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

เนื่องจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้การประกาศใช้ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 ในด้านของการศึกษา โดยเฉพาะการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาถือเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก ในฐานะผู้ออกแบบและพัฒนานั้นจะต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นสำคัญ จึงจำเป็นต้องรู้กฎหมาย และมีความรอบคอบในการทำงานและระวังให้มากขึ้น

1. เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่อนุญาตให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา ถ้าเราแอบเข้าไป … จำคุก 6 เดือน

2. เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น แล้วเผยแพร่ให้คนอื่นรู้   จำคุกไม่เกินปี

3. แอบเข้าไปล้วงข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์   จำคุกไม่เกิน 2 ปี

4. ข้อมูลที่ถูกส่งหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แล้วไปดักจับข้อมูลของเขา จำคุกไม่เกิน 3 ปี

5. ข้อมูลที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ ถ้ามีไปตัดต่อ ดัดแปลง … จำคุกไม่เกิน 5 ปี (ดังนั้นอย่าไปแก้ไขงานเอกสารที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์คนอื่น)

6. ปล่อย Multiware เช่น virus, Trojan, worm เข้าระบบคอมพิวเตอร์คนอื่นแล้วระบบเข้าเสียหาย … จำคุกไม่เกิน 5 ปี

7. ถ้าเราทำผิดข้อ 5. กับ ข้อ 6. และสร้างความเสียหายใหญ่โต เช่น เข้าไปดัดแปลงแก้ไข ทำลาย ก่อกวน ระบบสาธารณูปโภค หรือระบบจราจร ที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ ……..จำคุกสิบปีขึ้น

8. ถ้ารบกวนโดยการส่ง email โฆษณาต่างๆไปสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น  … ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

9. ถ้าเราสร้างโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์เพื่อเพื่อสนับสนุนผู้กระทำความผิด … จำคุกไม่เกินปีนึง

10. ส่งภาพโป๊ , ประเด็นที่ไม่มีมูลความจริง, ท้าทายอำนาจรัฐ … จำคุกไม่เกิน 5 ปี

11. เจ้าของเว็บไซด์โหรือเครือข่ายที่ยอมให้เกิดข้อ 10. โดนลงโทษด้วย … จำคุกไม่เกิน 5 ปี

12. ชอบเอารูปคนอื่นมาตัดต่อ … จำคุกไม่เกิน 3 ปี

 ขอบคุณข้อมูลดี : http://www.site.rmutt.ac.th/

พระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา: เล่ม 124/ตอนที่ 27 ก/หน้า 4/18 มิถุนายน 2550

ข้อมูลทั่วไป
ผู้ตราสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ผู้ลงนามพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, พระมหากษัตริย์
วันลงนาม10 มิถุนายน 2550
ผู้ลงนามรับรองพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์, นายกรัฐมนตรี
วันประกาศ18 มิถุนายน 2550
(ราชกิจจานุเบกษา: เล่ม 124/ตอนที่ 27 ก/หน้า 4/18 มิถุนายน 2550)
วันเริ่มใช้17 กรกฎาคม 2550
(สามสิบวันหลังจากวันประกาศ)
ท้องที่ใช้ทั่วประเทศไทย
ผู้รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เว็บไซต์
บทบัญญัติ
ภาษาไทย • ภาษาอังกฤษ

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายไทย ประเภท พระราชบัญญัติ ตราโดย สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ ลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2550, ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2550 และมีผลใช้บังคับในอีกสามสิบวันให้หลัง คือ ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 2550

ประวัติ[แก้]

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

โครงสร้าง[แก้]

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

การตรวจชำระ[แก้]

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

การนำไปปฏิบัติ[แก้]

ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2550 ถึงธันวาคม 2554 มีการเปิดเว็บไซต์ทั้งสิ้น 81,213 ยูอาร์แอล ประมาณร้อยละ 75 เป็นเนื้อหาและภาพดูหมิ่น หมิ่นประมาท พระมหากษัตริย์ พระราชินี และรัชทายาท แม้กฎหมายกำหนดให้ศาลเป็นองค์กรผู้กลั่นกรองคำร้องให้ปิดกั้นเว็บไซต์ แต่พบว่าจากคำสั่งศาลทั้งสิ้น 156 ฉบับ มีถึง 142 ฉบับที่ศาลออกคำสั่งในวันเดียวกันกับที่กระทรวงไอทีซียื่นคำร้อง โดยในปี 2552 และ2553 ศาลมีคำสั่งปิดกั้นโดยเฉลี่ยถึง 326 ยูอาร์แอลต่อวัน และ 986 ยูอาร์แอลต่อวันตามลำดับ[1]

คดีความตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พบว่า มีคดีความทั้งสิ้น 325 คดี ซึ่งพบว่าคดีที่ขึ้นสู่ชั้นศาลเป็นคดีที่เกี่ยวกับการเผยแพร่เนื้อหาร้อยละ 66.15 ขณะที่คดีที่กระทำต่อตัวระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยแท้ คิดเป็นร้อยละ 19 เท่านั้น[1]

วันที่ 12 เมษายน 2560 รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมลงนามประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมให้ประชาชนงดการติดตาม ติดต่อหรือเผยแพร่เนื้อหาข้อมูลของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ และแอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์ โดยอ้างคำสั่งศาลอาญาให้ระงับการแพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันไม่เหมาะสมตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550[2]

ตั้งแต่ปี 2561 ทางการฟ้องความผิดเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แทน[3] เช่น จากโพสต์ #ขบวนเสด็จ ที่พูดถึงการปิดถนนให้ขบวนเสด็จของพระบรมวงศานุวงศ์ผ่านในปี 2562 ถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์[4]

การวิพากษ์วิจารณ์[แก้]

การบัญญัติฐานความผิดที่ไม่ชัดเจน ทำให้มีการใช้มาตรา 14 (2) “ความเสียหายต่อความมั่นคง” ควบคู่กับคดีความมั่นคง และมาตรา 14 (3) “ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน” ร่วมกับประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112[1]

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

อ้างอิง[แก้]

  1. ↑ 1.0 1.1 1.2 งานวิจัยเผย พ.ร.บ.คอมฯไทย มุ่งเอาผิดเนื้อหามากเกินไป เสนอแก้กฎหมาย ตั้งศาลคอมพิวเตอร์
  2. ก.ดิจิทัลฯประกาศให้ปชช.งดติดตาม-ติดต่อ บุคคล3ราย ไม่ว่าเจตนาหรือไม่เจตนา
  3. Changes in Thailand’s lèse majesté prosecutions in 2018
  4. ศาลนัดสอบคำให้การคดีนักกิจกรรมโพสต์ประวัติศาสตร์กษัตริย์ต่าง ปท. และ #ขบวนเสด็จ ก.ย.นี้

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • บทวิเคราะห์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์[ลิงก์เสีย] โดย ศิลป์ฟ้า ตันศราวุธ และ โทบี้ เมนเดล, พฤษภาคม 2553
  • สรุปสถานการณ์การควบคุมและปิดกั้นสื่อออนไลน์ พ.ศ. 2550-2553 สถิติการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ในการดำเนินคดีและการปิดกั้นเว็บไซต์
  • The Analysis of the Computer Crime Act in Thailand
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา
วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ:

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา
วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ:

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560

พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีกี่มาตรา
บทความเกี่ยวกับกฎหมายนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล