การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ข้อสอบ

วทิ ยาการคานวณ ม.3

บทท่ี 6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
อยา่ งรูเ้ ท่าทัน

1

การประเมิน
ความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู

2
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
อภิปรายข้อมูลท่เี ป็นเหตผุ ลวบิ ตั ไิ ด้
รูเ้ ท่าทันสื่อและข่าวลวง
อภิปรายกฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์
ใชง้ านลขิ สิทธ์ทิ ่ีเป็นธรรม

6

ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น

ในปัจจุบันการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศทาได้ง่ายดังนั้ นการใช้งาน
เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ จึ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ทุ ก ค น ซ่ึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี
ความรู้ความรอบคอบเข้าใจเทคโนโลยีและศึ กษาเง่ือนไขในการใช้งานไม่ว่า
จะเป็นการใช้สมาร์ทโฟน เคร่ืองคอมพิวเตอร์ การใช้งานแอพพลิเคช่ัน ทุก
คนจงึ ควรเรยี นรูแ้ ละตดิ ตามการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

ในบทน้ี นั กเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับความน่ าเช่ือถือของข้ อมูล
เหตุผลวิบัติ การรู้เท่าทันส่ื อ และการใช้ไอทีอย่างปลอดภัยและมีความ
รับผิดชอบ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และการใช้งานลิขสิ ทธ์ิท่ีเป็น
ธรรม

7

การประเมนิ
ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู

การนาข้ อมูลมาใช้ในการเรียน การทางานและการ
ตัดสิ นใจต่างๆ จะต้องพิจารณาความถูกต้องของข้อมูลท่ีนามา
จา ก ห ล า ย แ ห ล่ง ข้ อ มู ล โ ด ย ต้อ ง เ ป็ น แ ห ล่ งข้ อ มู ล ที่ มี ค ว า ม
น่ าเชื่อถือ มีความถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้องตรงตามความ
ตอ้ งการและมคี วามทนั สมัย

8 การประเมนิ

ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู

เพื่ อให้ ได้ข้ อมูลท่ีมีคุณภาพ นั กเรียนอาจใช้การ
ประเมนิ ความน่ าเชอื่ ถือของข้อมูลโดยใช้ประเด็นการพิจารณา
ของ "พรอมท์" PROMPT ไดแ้ ก่

การนาเสนอ ความสั มพันธ์ วัตถุประสงค์
(Presentation) (Relevance) (Objectivity)

วิธกี าร แหลง่ ท่ีมา เวลา
(Method) (Provenance) (Timeliness)

9 การประเมนิ

ความน่ าเชื่อถือของข้อมลู

การนาเสนอ
(Presentation)

การนาเสนอข้อมูลท่ีดี จะต้องมีการวางเค้าโครงที่
เหมาะสมมีรายละเอียดชัดเจน ไม่คลุมเครือ ใช้ภาษาและ
สานวนถูกต้อง มีข้อมูลตรงตามท่ีต้องการ เน้ื อหามีความ
กระชบั สามารถจบั ใจความหรอื ประเดน็ ทส่ี าคัญได้

10 การประเมนิ

ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล

ความสั มพันธ์
(Relevance)

การพิจารณาประเดน็ เกยี่ วกบั ความสัมพันธจ์ ะต้องคานึ งถึงความ
สอดคล้องของข้อมูลกับส่ิ งที่ต้องการถึงแม้ว่าข้อมูลนั้ นอาจมีคุณภาพ
มากแต่ถ้าไม่สั มพันธ์หรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ก็ไม่สามารถ
นาไปใช้ได้ เช่น นั กเรียนจะไปเที่ยวเกาะภูเก็ตซ่ึงอยู่ทะเลฝ่ ังอันดามัน
แตค่ ้นหาข้อมลู ทเ่ี กย่ี วกบั ทะเลฝ่ ังอา่ วไทย

11 การประเมิน

ความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

วตั ถุประสงค์
(Objectivity)

ข้อมูลท่ีจะนามาใช้ต้องมีวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนไม่ใช่ข้อมูลท่ีเป็นการแสดงความคิดเห็น
หรอื มีเจตนาแอบแฝง
ตัวอยา่ งข้อมลู ที่มีเจตนาแอบแฝง เชน่
• สื่ อสารด้วยการให้ข้อมูลด้านเดียวโดยมีวัตถุประสงค์อ่ืนพยายามปิดบังข้อมูลที่อาจจะส่ งผล

กระทบต่อตนเอง
• สื่อสารด้วยอารมณ์เชงิ บวกหรอื ลบ
• มีการโฆษณาแอบแฝง เช่น นายแบบช่ือดังเผยแพร่ตารางการออกกาลังกายแต่แฝงโฆษณา

อาหารเสรมิ ลดความอว้ น
• มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยในเรื่องใดเรื่องหน่ึ ง เช่น นั กวิจัยเผยแพร่ผลงานวิจัยท่ีเอื้อกับบริษั ทท่ี

สนับสนนุ ทนุ วจิ ยั

12 การประเมนิ

ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล

วิธกี าร
(Method)

ข้อมูลทนี่ ามาใช้ เป็นข้อมูลทีม่ ีการวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล
อย่างเป็นระบบ เช่น หากนั กเรียนต้องการใช้แอพพลิเคชั่นตรวจสอบ
ลาดับคะแนนสอบวิชาวิทยาการคานวณของตนว่าอยู่ในระดับใดของ
โรงเรยี น แอพพลเิ คชนั่ นั้นควรมกี ารเตรยี มข้อมูลดงั น้ี
1. เกบ็ ข้อมลู คะแนนสอบวิชาวทิ ยาการคานวณของนั กเรยี นทงั้ หมด
2. นาข้อมูลมาจดั เรยี งลาดบั จากมากไปน้ อย
3. ใชค้ ่าสถิตเิ ปอรเ์ ซน็ ไทล์

13 การประเมนิ

ความน่าเชอื่ ถือของข้อมูล

แหล่งที่มา เวลา
(Provenance) (Timeliness)

ข้อมูลท่ีน่ าเช่ือถือต้อง ข้อมูลที่มีคุณภาพจะต้องมีความ
มี ก า ร ร ะ บุ แ ห ล่ ง ท่ี ม า อ ย่ า ง เป็นปัจจุบันหรือมีความทันสมัยและมี
ชัดเจนและเป็นแหล่งข้อมูลท่ี ก า ร ร ะ บุ ช่ ว ง เ ว ล า ใ น ก า ร ส ร้ า ง ข้ อ มู ล ท่ี
เชอื่ ถือได้ ตรงกบั ความเป็นจรงิ

15 การตรวจสอบความน่าเช่ือถือ

ของแหลง่ ท่มี าของข้อมลู

ในการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์หรือ
แหล่งที่มาของข้อมูลเพื่อนาข้อมูลไปใช้งาน
และอ้างอิง จาเป็นต้องมีการตรวจสอบความ
น่ าเช่ื อถื อ ของ แหล่ งท่ีมา ของ ข้ อมู ลก่อ น
ไ ม่ เ ช่ น นั้ น อ า จ จ ะ ส ร้ า ง ค ว า ม เ สี ย ห า ย ไ ด้
วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม น่ า เ ช่ื อ ถื อ ข อ ง
แหล่งข้อมลู สามารถทาไดด้ งั นี้

16 การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ

ของแหลง่ ท่มี าของข้อมูล

เว็ บไ ซ ต์ ห รือ แ ห ล่ ง ท่ีม า 3 เ นื้ อ ห า เ ว็ บ ไ ซ ต์ ไ ม่ ขั ด ต่ อ
กฎหมายศี ลธรรมและจรยิ ธรรม
1 ของข้อมูลต้องบอกวัตถุประสงค์
ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลไว้
ในเวบ็ ไซต์อยา่ งชดั เจน

2 การนาเสนอเนื้ อหาต้อง 4 มี ก า ร ร ะ บุ ชื่ อ ผู้ เ ขี ย น
ตรงตามวัตถุประสงค์ในการสรา้ ง บทความหรอื ผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์
หรอื เผยแพรข่ ้อมลู ของเว็บไซต์

18 การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ

ของแหลง่ ท่มี าของข้อมูล

5 มีการอ้างอิงแหล่งท่ีมาหรือ 7 มีการระบุวันเวลาในการ
แหล่งต้นตอของข้ อมูลท่ีมีเน้ื อหา เผยแพรข่ ้อมลู บนเว็บไซต์
ปรากฏบนเว็บไซต์

6 สามารถเชื่อมโยง (link) ไป 8 มีก าร ให้ ท่ีอ ยู่ห รือ อี เ ม ล ท่ี
เ ว็ บ ไ ซ ต์ อื่ น ท่ี อ้ า ง ถึ ง เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์
แหล่งต้นตอของข้อมูลได้ ได้

20 การตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือ

ของแหล่งท่มี าของข้อมลู

9 มีช่องทางให้ ผู้ อ่านแสด ง
ความคิดเห็น

10 มีข้อความเตือนผู้อ่านให้ใช้
วิ จ า ร ณ ญ า ณ ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ช้
ข้อมูลท่ีปรากฏบนเว็บไซต์

21 การตรวจสอบความน่ าเชอื่ ถือ

ของแหลง่ ทีม่ าของข้อมลู

บางเว็บไซต์อาจใช้ช่ือที่คล้ายกับหน่ วยงานราชการที่เป็นแหล่งข้อมูลที่
เชื่อถือได้หรือมีส่ วนที่แตกต่างกันเล็กน้ อยซ่งึ เว็บไซต์เหล่านี้ อาจให้ข้อมูลท่ีคาด
เคล่ือนจากความเป็นจริง หากผู้ใช้งานไม่ได้สั งเกตให้รอบคอบอาจทาให้เข้าใจ
ผดิ วา่ เว็บไซตเ์ หลา่ น้ี เป็นแหลง่ ตน้ ตอของข้อมูล

ผู้ใช้สามารถตรวจสอบเบื้องต้นได้โดยดูข้อมูลจากการจดทะเบียนช่ือ
โดเมนว่าเป็นหมายเลขไอพีเดียวกับหน่ วยงานที่รู้จักและมีความน่ าเช่ือถือ
หรอื ไม่ ซ่งึ มเี วบ็ ไซต์ทีใ่ ห้บริการตรวจสอบชื่อโดเมนและข้อมูลอื่นๆของเว็บไซต์
เชน่ whois.domaintools.com

1

เหตผุ ลวบิ ตั ิ

2

เหตผุ ลวิบัติ

ก า ร ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล เ ป็ น วิ ธี ห น่ึ ง ท่ี ส ร้ า ง ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อใ ห้ กั บ
ข้อคิดเห็นหรือข้อสรุปต่างๆ การให้เหตุผลท่ีเหมาะสมมีส่ วนทาให้การ
ตดั สินใจยอมรบั ความเห็นและข้อสรุปทาไดง้ า่ ยข้ึน อยา่ งไรกต็ ามการให้
เหตผุ ลมที งั้ ทเ่ี หมาะสมและไมเ่ หมาะสมแตกตา่ งกนั ไป

3

เหตผุ ลวิบัติ

ในปัจจุบันการให้เหตุผลที่ไม่เหมาะสม พบเห็นได้มากข้ึน โดย
ผใู้ ห้เหตผุ ลอาจมเี จตนาบดิ เบอื นความจรงิ หรอื คิดไปเองไม่สอดคล้องกบั
ความเป็นจริง จนทาให้เหตุผลเหล่าน้ี อาจกลายเป็นเหตุผลวิบัติหรือ
ตรรกะวบิ ตั ไิ ด้ เ ห ตุ ผ ล วิ บั ติ เ ป็ น ก า ร โ ต้ แ ย้ ง โ ด ย ก า ร ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ท่ี
คลาดเคลื่อนกับความเป็นจริงหรือมีความเป็นจริงเพียงบางส่ วน จึง
นาไปส่ขู ้อสรุปทม่ี คี วามขัดแยง้ กบั ข้อมูลทเ่ี ป็นข้อเทจ็ จรงิ

4

เหตผุ ลวิบัติ

เช่น การโต้แย้งบนเว็บบอร์ดหรือเครือข่ายทางสั งคมท่ีมีการ
ใช้ถ้อยคาประชดประชัน การใช้ความรู้สึ กส่ วนตัว การใช้ถ้อยคาท่ี
กอ่ ให้เกดิ ความเกลยี ดชงั

ซ่งึ กระบวนการเหล่าน้ี อาจนาไปสู่การสรุปผลหรอื การตีความ
ข้อสรุปจากการโต้แยง้ ทไี่ มไ่ ดน้ าข้อเทจ็ จรงิ มาพิจารณา ทาให้ผรู้ บั สาร
ไดร้ บั ข่าวสารทค่ี ลาดเคลื่อน

5

เหตุผลวิบัติ

เหตผุ ลวบิ ตั สิ ามารถจาแนกออกไดเ้ ป็นสองแบบดงั น้ี

เหตุผลวิบัตแิ บบเป็นทางการ

เหตผุ ลวิบัตแิ บบไม่เป็นทางการ

6

เหตผุ ลวิบัติ

เหตุผลวบิ ัตแิ บบเป็นทางการ

เหตุผลวิบัติแบบทางการ เกิดจากการให้เหตุผลท่ี
ใช้หลักตรรกะไม่ถูกต้องแต่เขี ยนอยู่ในรู ปแบบท่ีเป็น
ทางการทาให้ดูสมเหตสุ มผล

7

เหตผุ ลวิบัติ

ตวั อย่าง

มีคนกาลังหาเสี ยงและพูดว่า “ถ้าไม่เลือกผมผมจะไม่พัฒนา
หม่บู า้ น”

ซ่ึงถ้านั กเรียนฟังแล้วอาจตีความว่าถ้าเลือกแล้วจะมีการ
พัฒนาหมู่บ้าน แต่ในความเป็นจริงถึงแม้จะถูกเลือกก็อาจจะไม่มี
การพัฒนาหม่บู า้ นกไ็ ด้

8

เหตผุ ลวิบัติ

เหตุผลวบิ ตั ไิ มแ่ บบเป็นทางการ

เกิดจากการให้ เหตุผลท่ีไม่เก่ียวข้ องกับการใช้หลัก
ตรรกะในการพิจารณาแต่เป็นการสั นนิ ษฐานหรือเล่นสานวน
ซ่งึ เกิดจากการใช้ภาษาชักนาให้เกิดความเข้าใจผิดเช่นการพูด
กากวมหรอื การพดู มากเกินความจาเป็น

9

เหตุผลวิบัติ

เช่น

• การให้เหตุผลโดยอ้างถึงลักษณะของตัวบุคคลโดยไม่
สนใจเนื้ อหาสาระของข้อความ

• การให้เหตุผลโดยอ้างถึงผู้พูดว่ามีพฤติกรรมขัดแย้งกับ
ส่ิงทพ่ี ดู เพราะฉะนั้นส่ิงทพ่ี ดู มาจงึ เชอ่ื ถือไม่ได้

• ให้เหตุผลโดยอ้างถึงความน่ าสงสารหรือความเห็นอก
เห็นใจแลว้ เปลีย่ นเป็นความถูกต้อง

10

เหตุผลวิบัติ

• ให้ เหตุผลโดยอ้างถึงคนส่ วนใหญ่ ปฏิบัติเหมือนกัน
เพราะฉะนั้นจึงเป็นส่ิงทถี่ ูกตอ้ ง

• ให้เหตุผลโดยสร้างทางเลือกไว้แค่ 2 ทาง แต่ในความ
เป็นจรงิ อาจมีทางเลอื กอน่ื อกี มากมาย

• ให้เหตุผลเกนิ จรงิ โดยการบอกเหตุผลวา่ เมือ่ เกิดส่ิงน้ี แล้วจะ
ทาให้เกดิ อกี ส่ิงหน่ึ งตามมาซ่งึ เกนิ จากความเป็นจรงิ ไปมาก

11

เหตุผลวิบัติ

• ให้เหตุผลโดยเบี่ยงเบนประเด็นการโต้แย้งของผู้อ่ืนให้
กลา ยเ ป็ นอี กเ ร่ืองหน่ึ งแ ล้วโ จม ตีจา กประเ ด็น ที่ถู ก
บดิ เบอื นนั้น

• ให้เหตุผลโดยอา้ งวา่ ส่ิงใดส่ิงหน่ึ งเป็นส่ิงพิเศษไม่เหมือน
ใคร เพราะฉะนั้ นจะเอาไปเปรียบเทียบส่ิ งอื่นไม่ได้ทั้งท่ี
ประเด็นที่กล่าวอ้างนั้ นไม่ได้เก่ียวข้องกับส่ิ งท่ีโต้แย้งกัน
อยเู่ ลย

1

การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
อยา่ งปลอดภยั

2

การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภัย

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศมีวัตถุประสงค์หลาย
อย่าง เช่น การใช้งานเพื่อทาธุรกรรมอิเล็คทรอนิ กส์ การใช้
งานเพ่ือสนั บสนุนการทางานและการใช้งานทั่วไป ซ่ึง
จะต้องคานึ งถึงความปลอดภยั ในการใช้งาน

3 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

อย่างปลอดภยั

การทาธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์อย่างปลอดภยั

การทาธุรกรรมผ่านอินเทอร์เน็ ตหรือธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ นั้ น
กลายเป็นเรื่องท่ีใกล้ตัวคนไทยมากข้ึนหลังจากรัฐบาลไทยได้ให้ธนาคาร
พาณิชย์ต่างๆเปิดโครงการพร้อมเพย์เพื่อให้ทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ ได้
สะดวกมากย่งิ ข้ึน เชน่ การโอนเงนิ การชาระค่าสินค้าและบรกิ าร

4

การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
อยา่ งปลอดภยั

การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภยั

ในการทาธุ รกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ ต้องระมัดระวังและมี
ความรอบคอบ เชน่ การซอื้ สินค้าออนไลน์ ผซู้ อ้ื สินค้าไม่เห็นสินค้า
จรงิ และไม่ได้รับสินค้าทันทหี ลังจากชาระเงนิ ซ่งึ อาจเป็นช่องทาง
ให้เกิดการฉ้ อโกง เช่น ไม่ได้รับสิ นค้า สิ นค้าไม่มีคุณภาพหรือ
สินค้าไมต่ รงตามข้อมลู ทป่ี รากฏ

5

การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งปลอดภัย
การทาธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์มอี ยู่ 2 รูปแบบคือ

การธุรกรรมโดยตรงระหวา่ งผขู้ ายและผซู้ อ้ื

การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร

6

การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ อย่างปลอดภยั

การธุรกรรมโดยตรงระหวา่ งผขู้ ายและผซู้ อื้

การท าธุ ร กรรม โดย ตรงร ะหว่ างผู้ข ายแ ละผู้ซื้อโด ยผ่า น
เครอื ข่ายทางสังคมตา่ งๆหรอื ผา่ นเวบ็ ไซต์ของผขู้ ายเช่น การจองท่ี
พักผ่านเว็บไซต์ของโรงแรม การสั่ งซ้ือมะพร้าวจากเว็บไซต์กลุ่ม
เกษตรกรจังหวดั

7

การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์อยา่ งปลอดภัย

การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร

การทาธุรกรรมโดยผ่านผใู้ ห้บริการเป็นรูปแบบการทาธุรกรรมที่
มีผู้ให้บริการสนั บสนุนการดาเนิ นการหรือตัวกลาง โดยผู้ให้บริการจะ
รวบรวมสินค้าและบริการต่างๆให้อย่ใู นที่เดียวเพื่อง่ายต่อการเข้าถึงและ
ใชบ้ รกิ ารของทงั้ ผซู้ อื้ และผขู้ าย

8

การทาธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์อย่างปลอดภัย

การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร

กา ร ทา ธุ ร กร ร ม ใ น รู ป แ บ บน้ี ผู้ใ ห้ บริ กา ร ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ มี กา ร
ตรวจสอบผู้ขายและเป็นเสมือนผู้รับประกันทั้งในส่ วนของสิ นค้าการ
ให้บริการ เพ่ือสร้างความเช่ือมั่นให้กับผู้ซื้อว่าจะไม่ถูกหลอกลวงจากการ
ทาธุรกรรมผา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิ กส์

9

การทาธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์อย่างปลอดภัย

การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร

การทาธุ รกรรมในรู ปแบบน้ี คนกลางมักเป็นองค์กรที่มีความ
น่ าเช่ือถือและมีชื่อเสี ยงเป็นท่ียอมรับทั้งส่ วนของผู้ขายและผู้ซ้ือ อีกทั้งยัง
รับประกันการได้รับสิ นค้า ซ่ึงทาให้ปัญหาต่างๆลดลง ตัวอย่างเว็บไซต์ที่
เป็นตัวกลางในการให้บรกิ าร lazada.co.th , shopee.co.th

10

ข้อความคานึ งในการทา
ธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์

ผู้ใช้บริการอาจถูกมิจฉาชีพฉ้ อโกงโดยใช้กลยุทธ์เรื่องราคาและ
หลักจิตวิทยาในการล่อลวงให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความโลภหรือเข้าใจผิด
เช่น ขายสิ นค้าในราคาท่ีตา่กว่าปกติมาก ขายสิ นค้าลอกเลียนหรือละเมิด
ลิขสิทธ์ิ โดยทาให้เข้าใจว่าเป็นสินค้าของแท้

11

ข้อความคานึ งในการทา
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์

นอกจากนี้ ผู้ใช้บริการควรมีความระมัดระวังใน
การชาระค่าสินค้าหรอื บรกิ าร ซ่งึ อาจมหี ลายรูปแบบเช่น

• ชาระเงินโดยการให้ผู้ซ้ือดาเนิ นการโอนเงินผ่าน
ธนาคารแล้วส่ งหลักฐานยืนยันเพื่อให้ผู้ขายส่ งของ
ภายหลัง

• ชาระเงินภายหลังจากได้รับสิ นค้ากับผู้ขายหรือผู้
ให้บรกิ ารส่งสินค้า

12

ข้อความคานึ งในการทา
ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์

ช า ร ะ เ งิ น โ ด ย ผ่ า น บั ต ร เ ค ร ดิ ต ห รื อ บั ญ ชี
ธนาคาร ซ่งึ ใช้เพียงข้อมูลบางอยา่ ง เช่น ถ้าชาระเงิน
ด้วยบัตรเครดิตจะใช้เพียงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบัตร
คือหมายเลขบตั ร วนั หมดอายุ รหัสซวี วี ี ทอ่ี ยดู่ า้ นหลัง
บัตร แล้วจะมีการยืนยันด้วยการส่ งรหัสผ่านแต่ละ
ครงั้ ผา่ นทางโทรศัพทม์ ือถือหรอื อเี มล

13

ข้อความคานึ งในการทา
ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์

หลังจากทาธุรกรรมเสร็จแล้ว จะมีการแจ้งเตือน
รายละเอยี ดการทาธุรกรรมผา่ นโทรศั พทม์ ือถืออีเมลหรือ
แอพพลิเคชั่น จะเห็นว่าการตรวจสอบและยืนยันตัวตน
หลายชั้นจะช่วยทาให้ เกิดความมั่นใจในการทาธุ รกรรม
อเิ ลก็ ทรอนิ กส์ได้ หากผใู้ ห้บรกิ ารมีการยืนยันเพียงระดบั
เดียว อาจทาให้ไม่ปลอดภัย เช่นถ้ามีการขโมยข้อมูลบัตร
เครดิต มิจฉาชีพก็สามารถทาธุรกรรมได้เพราะไม่มีการ
ยนื ยนั ตวั ตนผา่ นโทรศัพทม์ ือถืออกี ครงั้

14

ข้อความคานึ งในการทา
ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์

บริการตัวกลางการชาระเงิน เช่น ผู้ให้บริการ
โทรศั พท์มือถือมีบริการรับชาระเงินโดยการเติมเงินเข้า
ระบบและผกู บัญชีเข้ากบั หมายเลขโทรศั พท์มือถือผทู้ เ่ี ป็น
เจ้าของเบอร์โทรศั พท์ สามารถโอนจ่ายและชาระค่า
สินค้าและบรกิ ารไดเ้ สมอื นกบั มีบญั ชธี นาคาร

15

เกรด็ ความรู้

ข้อควรระวงั ในการซอ้ื แอพพลิเคชัน่ ไอเทมหรือการ
บริการ เมื่อมีการชาระผ่านบัตรเครดิตหรือบัญชีธนาคาร
ระบบปฎิบัติการจะบันทึกรายละเอียดไว้ ผู้ใช้งานควร
ตรวจสอบการตัง้ ค่าความปลอดภัยไว้เสมอปิดหรือลบข้อมูล
บัตรเครดิตหรือบัญชีธนาคารทกุ ครั้งที่ใช้เสร็จแล้ว ซ่งึ การ
ลบข้อมูลเหล่าน้ี อาจจะทาให้ไม่ได้รับความสะดวกเม่ือจะ
ชาระเงินครั้งต่อไปแต่ก็สามารถป้องกันมิจฉาชีพในการ
โจรกรรมผา่ นระบบหรอื การเผลอใชบ้ รกิ ารแบบไม่รูต้ วั

16

เกรด็ ความรู้

• การสมัครบริการต่างๆท่ีมีการชาระค่าบริการรายเดือน
ถึงแม้ว่าจะต้องใช้การใช้เพียงเดือนเดียวแต่ผู้ให้บริการ
ส่ วนใหญ่มักจะมีการหั กเงินค่าบริการทุกเดือนแบบ
อัตโนมัติ เชน่ เสียงเพลงรอสาย การฟังเพลงหรอื ดูหนั ง
ออนไลน์

• ระวังการคลิกล้ิงก์ที่โฆษณาผ่าน sms อาจจะเป็นการ
สมัครใชบ้ รกิ ารโดยอตั โนมัตทิ นั ที

17
การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ

การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ หมายถึง ความสามารถใน
การป้องกันตนเองจากการถูกโน้ มน้ าวด้วยเน้ื อหา
ทีเ่ ป็นเทจ็ และมีผลกระทบต่อผ้รู ับส่ือ เพ่ือไม่ให้ตก
เป็นเครอื่ งมือทางการตลาดหรือผลประโยชน์ ท่สี ่ือ
นาเสนอ

18
การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ

การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อนั้น สามารถตงั้ คาถามวา่
• สื่อนั้นมีทมี่ าอยา่ งไร
• ใครเป็นเจา้ ของสื่อ
• ใครผลิตและผลิตภายใต้ข้อจากดั ใด
• ควรเชอื่ หรอื ไม่
• มีความเชอ่ื อะไรทแี่ ฝงมากบั สื่อนั้น
• ผสู้ รา้ งหรอื ผเู้ ผยแพรส่ ่ือนั้น หวงั ผลอะไร

ดงั นั้นควรเลอื กแนวปฏิบตั ิอยา่ งเหมาะสม

19
การรูเ้ ท่าทันส่ือ

โดยทัว่ ไปแล้ว การเข้าถึงเนื้ อหาหรือข้อมูล
ข่าวสารจากสื่อตา่ งๆนั้นสามารถกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์
ต่ อ ผู้ รั บ ส า ร แ ต่ ต้ อ ง ส ร้ า ง ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู้ ถึ ง ภั ย
คุกคามของสื่อทมี่ ากบั ความอยากรูอ้ ยากเห็นดว้ ย

20
การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ

การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ระดบั ดงั นี้

ระดบั ท่ี 1

ผู้รับสื่ อตระหนั กถึงความสาคัญของการเลือก
และจัดสรรเวลาในการใชส้ ่ือตา่ งๆ

21 การรูเ้ ท่าทนั สื่อ

ระดับท่ี 2

ผู้รับส่ื อสามารถเรียนรู้ทักษะการรับสื่ อแบบ
วิพากษ์ สามารถวิเคราะห์และตัง้ คาถามว่าส่ือถูกสรา้ ง
ข้ึนไดอ้ ยา่ งไรและมีความน่ าเช่ือถือหรอื ไม่

22 การรูเ้ ท่าทันส่ือ

ระดับท่ี 3

ผู้รับส่ื อสามารถวิเคราะห์ สื่ อในเชิงสั งคม
การเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
จนนาไปส่กู ารสรา้ งเวทที างสังคม

23
ข่าวลวงและผลกระทบ

ข่าวลวง (fake news) เป็นรูปแบบหน่ึ ง
ของการกอ่ กวน ซ่งึ ข่าวลวงจะนาเสนอเรอ่ื งราวท่ี
เ ป็ น เ ท็ จ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ อ บ แ ฝ ง ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
เช่น เพ่ือขายสิ นค้า ทาให้เกิดความเข้าใจผิด
สร้างความสั บสนให้แก่ผู้รับข้อมูล ข่าวลวงอาจ
แพร่ผ่านอีเมลหรือเครือข่ายทางสั งคมโดยจะ
ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย ทั้ ง ส่ ว น บุ ค ค ล
ทางดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง การปกครอง