โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง รูป สามเหลี่ยม

โคงงานคณิตศาสต์ร

เรื่อง
รปู สามเหลีย่ มทมี่ ีความสมั พันธบ์ างประการกบั รปู หลายเหล่ียม

นายชลสิทธ์ิ ไชยชมภู
นายธรี ภทั ร จนั ทา

นายพงษป์ ระเสริฐ จนั ทรท์ รา

โครงงานนเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงของรายวิชา ค33203 โครงงานคณติ ศาสตร์
ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาควชิ าคณติ ศาสตร์ หอ้ งสายการเรียน วทิ ย์-คณิต

ช่อื โครงงาน : รปู สามเหลย่ี มทมี่ ีความสัมพันธ์บางประการกับรูปรปู หลายเหล่ยี ม

ประเภทโครงงาน : สรา้ งทฤษฎีหรอื สร้างคาอธิบาย

สาหรบั : นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ชอ่ื ผู้จดั ทา : นายชลสทิ ธ์ิ ไชยชมภู รหสั นักเรียน 26689

นายธรี ภัทร จันทา รหสั นกั เรยี น 26694

นายพงษ์ประเสริฐ จนั ทร์ทรา รหัสนกั เรียน 29424

อาจารยท์ ปี่ รึกษา : อาจารย์วิทยา นิลสกุล

รายวิชา : ค33203 โครงงสนคณิตศาสตร์

ปกี ารศกึ ษา : 2563

บทคดั ยอ่

โครงงาน เรือ่ ง รปู สามเหลย่ี มที่มีความสัมพันธบ์ างประการกับรปู หลายเหลยี่ มมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อ
ศึกษาความสัมพนั ธ์ของจานวนดา้ นและรูปสามเหลี่ยมของรูปเหลี่ยมใดๆ ทีม่ ีรูปสามเหลี่ยมอยู่ภายใน โครงงาน
เร่ืองนไ้ี ดร้ บั แรงบันดาลใจมาจากการศึกษา เรื่อง มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมท่ีใชร้ ูปสามเหลย่ี มในการหามุม
โดยเป็นการนาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมุมภายในรูปสามเหลี่ยมที่มีค่าเท่ากับ 180 องศา และแบ่งรูปหลาย
เหลี่ยมให้เป็นรูปสามเหล่ียม ทาให้เห็นความสัมพันธ์ของด้านกับรูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นจึงเกิดความสนใจใน
การศกึ ษา

วิธีการศึกษาดาเนินการโดยใช้วิธีการวาดรูปกรณีของสามเหลี่ยมทั้งหมดรูปเรขาคณิตที่ศึกษา คือ
สามเหล่ยี ม สีเ่ หล่ยี ม ห้าเหล่ยี ม หกเหล่ียม เจ็ดเหลี่ยม และแปดเหลีย่ ม คณะผู้จัดทาศกึ ษารูปเหลี่ยมตั้งแต่ไม่มี
รูปเหลี่ยมภายใน 1 รูป มีจานวน 6 กรณี ในกรณีนี้จะเกิดรูปสามเหล่ียมจานวนน้อยกว่าด้านอยู่ 2 รูป กรณีท่ี
รูปสามเหลย่ี มภายใน 1 รปู มีจานวน 36 กรณี ในกรณีน้ีจะเกดิ สามเหล่ยี มจานวนเท่ากับจานวนด้านทั้งภายใน
และภายนอกรวมกัน และกรณีที่มีรูปเหลี่ยมภายใน 2 รูป มีจานวน 216 กรณี ในกรณีจะเกิดรูปสามเหลี่ยม
จานวนมากกว่าด้านทั้งภายในและภายนอกรวมกัน อยู่ 2 รูป และเกิดข้อสงสัยขึ้นว่า ถ้าเพิ่มจานวนรูป
สามเหลย่ี มภายในตัง้ แต่ 3 รูปข้ึนไปจะมคี วามสมั พนั ธ์เป็นอย่างไร และทาการพสิ ูจน์ว่าความสมั พนั ธ์ท่ที ามาน้ัน
ถกู ต้องหรือไม่ คณะผู้จัดทาได้ตัง้ นยิ ามและพิสจู น์แตล่ ะกรณีออกมาได้สาเร็จ ทาให้เห็นถึงการนารูปสามเหล่ียม
ทีม่ คี วามสมั พนั ธ์บางประการกับรูปหลายเหล่ียม

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง รปู สามเหลยี่ มทีม่ คี วามสมั พนั ธบ์ างประการกบั รปู หลายเหลย่ี มโครงงานนี้
สาเรจ็ ลุลว่ ง โดยรบั ความอนุเคราะหจ์ าก อาจารย์วทิ ยา นิลสกุล ซงึ่ ไดใ้ ห้คาปรึกษาและคาชี้แนะถึงแนวทางใน
การคดิ โครงงาน และเสียสละเวลาในการแกไ้ ขจดุ บกพร่องต่างๆ ของโครงงานด้วยความเอาใจใสอ่ ย่างดี ทาง
คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง สุดท้ายน้ขี อขอบคุณทุกๆ คนที่ได้สนบั สนนุ และให้กาลังใจแก่
คณะผูจ้ ัดทาเสมอมากระท้ังโครงงานน้สี าเร็จไปไดด้ ว้ ยดี และความดที ่เี กดิ จากการศกึ ษาครงั้ นี้คณะผจู้ ดั ทา
ขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ และผูม้ พี ระคุณ

คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญ 1

เรอ่ื ง หนา้

บทคดั ย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข

บทท่ี 1 บทนา 1
1
ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน 1
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 2
2
วธิ ดี าเนินการ
ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 3
4
นิยามศพั ท์เฉพาะ 5
5
บทที่ 2 เอกสารที่
เก่ยี วข้อง 6
7
ประวัติความเปน็ มาของเรขาคณติ 8

ความหมายของรูปเรขาคณติ ต่างๆ 77
ความสัมพันธ์ระหวา่ งจุด เสน้ ระนาบ และปริภูมิ 77
ทฤษฎเี กย่ี วกบั มมุ 78

บทท่ี 3
วิธดี าเนนิ การ

ปฏทิ ินการดาเนนิ การ
ขัน้ ตอนกาดาเนินโครงงาน

บทท่ี 4 ผลการ
ดาเนนิ งาน
บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา
ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้จดั ทา

2

บทที่ 1

บทนา

ท่มี าและความสาคญั ของโครงงาน

จากการเรยี นคณิตศาสตร์เรอ่ื งรูปสามเหลีย่ มท่มี ีความสัมพันธบ์ างประการกับรูปหลายเหลี่ยม
สามารถทาได้โดยอาศัยรปู สามเหลี่ยมเปน็ หลกั เนื่องจากรูปสามเหล่ยี มโดยทัว่ ไปจะมีมมุ ภายใน 180 องศา
เมื่อพยายมแปรงรูปเหล่ียมต่างๆ ให้เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่รูปสามเหลี่ยมเหลา่ น้ันต้องไมซ่ ้อนหรือทับกันเรา
จึงสามราถทราบได้ว่า มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมนั้นหาได้จากสูตร (P - 2) × 180 องศา ; P = จานวนมุม
ของรปู เหลี่ยมใดๆ

รูปสามเหลี่ยม รปู สเี่ หลย่ี ม รูปหา้ เหลย่ี ม รูปหกเหลีย่ ม รูปแปดเหลี่ยม

จากรูปเราสังเกตเห็นว่า รูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นน้อยกว่าด้านของรูปเหลี่ยมอยู่ 2 รูป เช่น รูป
สามเหลยี่ มมี 3 ดา้ น มรี ปู สามเหลย่ี ม 1 รปู ,รปู สเ่ี หลย่ี ม 4 ด้าน มีรปู สามเหลย่ี ม 2 รูป,รปู หา้ เหล่ียมมี 5 ด้าน มี
รูปสามเหลย่ี ม 3 รูป เป็นต้น แสดงวา่ ถา้ เป็น P เหล่ียม จะมรี ูปสามเหลย่ี ม P - 2 รปู และรูปเหลีย่ มที่มีเหลี่ยม
อยู่ภายในอยู่ 1 รูป จะเกิดรูปสามเหลี่ยมเท่ากับจานวนด้านภายในและภายนอก และเมื่อสร้างรูปเหลี่ยม
ภายในจานวน 2 รูป จะเกิดรูปสามเหลี่ยมนอ้ ยกว่าจานวนด้านอยู่ 2 รูป เมื่อสร้างรูปแบของเหลีย่ มต่างๆ ทาง
ผจู้ ัดทาได้เห็นถงึ ความสมั พันธ์ของรปู หลายเหลยี่ มกับสามเหลยี่ มจึงเกิดขอ้ สงสัย หากรปู เหลี่ยมใดๆ มีรูปหลาย
เหล่ยี มอยู่ภายในต้งั แต่ 3 รูปขึ้นไป จะมรความสัมพนั ธ์ของจานวนด้านและรปู สามเหลีย่ มเปน็ อย่างไร

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

เพอื่ ศกึ ษาความสัมพันธ์ของจานวนดา้ นและรูปสามเหลีย่ มของรูปสามเหลย่ี มใดๆ ทีม่ รี ูปหลายเหลยี่ มอยภู่ ายใน

วิธีการดาเนนิ การ

1.คน้ ควา้ หาข้อมูลจากหอ้ งสมดุ และปรกึ ษาหารือในเรอื่ งทส่ี นใจ พร้อมเลอื กหวั ขอ้ ท่ีสนใจ
2.ศกึ ษาหาข้อมลู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โครงงานคณิตศาสตร์
3.นาขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ าศกึ ษาหาความสัมพันธ์
4.ขอคาปรึกษาและคาแนะนาจากอาจารย์
5.สง่ เค้าของโครงงานคณติ ศาสตร์
6.ดาเนินการทาโครงงานคณิตศาสตร์

3

7.นาเสนอโครงงานคณติ ศาสตร์

ประโยชน์ที่ได้รบั

สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการหามุมภายในของรปู หลายเหล่ียมใดๆ ท่ีมีรปู หลายเหลี่ยมอยู่ภายในได้

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ

1.จุดเลือก หมายถงึ จุดท่ีเลอื กขึ้นมาท่ีจะใชล้ ากเส้นจากจดุ เลอื กไปยงั อีกจดุ หนึ่งโดยท่เี สน้ ต้องไม่ทบั กัน
และทาใหเ้ กดิ เป็นรปู สามเหลีย่ ม

2.รูปหลายเหลีย่ ม หมายถึง รูปเรขาคณิตสามเหลี่ยม สี่เหลีย่ ม ห้าเหล่ียม หกเหลยี่ ม เจ็ดเหลี่ยม และแปด
เหลยี่ ม

3.รูปสามเหลย่ี มภายนอก หมายถงึ รูปเรขาคณิตสามเหลยี่ มที่ด้านหนึง่ เปน็ ด้านประกอบของรูปเหลี่ยมรูป
นอกสุด

4.รูปสามเหล่ยี มภายใน หมายถึง รปู เรขาคณติ สามเหล่ียมที่ดา้ นหนงึ่ เป็นด้านประกอบของรูปเหลย่ี มรูปใน
สดุ

5.รปู สามเหล่ยี มทไ่ี มใ่ ช่ท้ังรูปสามเหลีย่ มภายนอก/รปู สามเหลี่ยมภายใน หมายถึง รปู เรขาคณติ สามเหล่ยี ม
ทไ่ี ม่มีดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เป็นดา้ นประกอบของรปู เหล่ียมรูปนอกสดุ /รูปเหลีย่ มรูปในสุด

4

บทท่ี 2

เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ประวตั คิ วามเปน็ มาของเรขาคณติ

คาว่า “ เรขาคณิต ” หรือที่ภาษาอังกฤษ เรียกว่า “ Geometry ” ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
เรขาคณติ ในระยะแรกๆ จึงเป็นการวดั ดา้ น มุม และพนื้ ที่ของรปู ตา่ งๆ

เรขาคณิตนี้มีมานาน เริ่มตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียเรืองอานาจหลักฐานที่จารึกในแผ่นดินเหนียวทาให้
ทราบวา่ ราวๆ 4,000 ปีก่อนคริสตกาลน้ันชาวบาบิโลเนียสามารถหาพ้ืนท่ีองสนามรูปสี่เหลย่ี มผืนผ้าโดยใช้ด้าน
กว้างคณู ด้านยาว นอกจากนี้ยังรกู้ ฎการหาพื้นทีร่ ูปต่างๆ เชน่ รูปสามเหลีย่ มมุมฉาก รูปสามเหลยี่ มหน้าจั่วร้จัก
วิธีหาปริมาตรปริซึม ชาวบาบิโลเนียใช้ค่า π = 3 ในการคานวณหาเส้นรอบวงกลมโดยถือว่า เส้นรอบวงเป็น
สามเทา่ ของเส้นผ่านศูนย์กลางและพ้ืนที่ของวงกลมเม่ากับ ½ ของรูปส่ีเหลีย่ มจัตุรสั บนเส้นผ่านศูนย์กลาง เป็น
ที่น่าสังเกตว่า ชาวบาบิโลเนียแบ่งเส้นรอบวงของวงกลมออกเป็น 360 ส่วนเท่าๆ กันซึ่งเป็นแนวคิดที่มี
ประโยชน์ต่อคณิตศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน ชาวบาบิโลเนียรู้จักการหาปริมาตรของทรงกระบอกโดยใช้ผล
คณู ของพ้ืนทฐ่ี านกับส่วนสูง ชาวบาบโิ ลเนียยงั มีความรูว้ า่ เส้นแบง่ ครงึ่ มุมยอดของสามเหล่ียมหน้าจั่วย่อมแบ่ง
ครึ่งฐาน มุมในครึ่งวงกลมย่อมมีมมุ ฉาก ลักษณะที่ดีเด่นของชาวบาบิโลเนยี อีกข้อหนึ่ง คือ การนาเอาพีชคณิต
มาใชใ้ นเรขาคณิต เช่น ในแผ่นจารกึ ดงั นี้ “พื้นท่ี A ประกอบดว้ ยผลบวกของพนื้ ท่ีรปู สามเหล่ยี ม จัตรุ ัสสองรูป
มพี น้ื ทีร่ วมกนั 1,000 ดา้ น ของรูปสี่เหล่ยี มจัตุรัสรปู แรกสั้นกว่า 1/3 ของดา้ นของรูป ส่ีเหลี่ยมจัตุรัสรูปหลังอยู่
10 จงหาดา้ นของรปู ส่ีเหลย่ี มจัตรุ ัสท้งั สอง ”

ประมาณ 1,000 ปีหลงั จากสมัยบาบิโลเนียกเ็ ปน็ สมัยของอยี ิปตผ์ ู้ท่ีได้รวบรวมตาราวิชาเรขาคณิตเป็น
คนแรกของอียิปต์เป็นพระรูปหนึ่งชื่อ เอมีส ซึ่งบันทึกไว้ประมาณ 1,700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเขียนไว้ใน
กระดาษปาปิรุสบันทึกนี้ได้รวมกฎขอ้ ปัญหาต่างๆ รวมทั้งการแก้ข้อปัญหาเหล่านี้และคาตอบ ถือว่าเรขาคณิต
เป็นศาสตร์อนั ลึกลับซ่ึงตกทอดมานับพันปี เพราะความจาเปน็ ซึ่งเกิดจาก พืน้ ดินรมิ ฝ่ังแม่น้าในถูกน้าท่วมทุกปี
ทาให้บางตอนของฝั่งได้พังลงและฝั่งตรงข้ามก็งอกขึ้นเมื่อมีน้าท่วมทาลายเขตที่ดินกันทุกปีดังนี้ การปรับเขต
ที่ดินย่อมเป็นปัญหากันอยู่ตลอดเวลาจึงเป็นสาเหตุให้วิทยาการแขนงนี้ก่อรูปขึ้นในลักษณะที่เกี่ยวกับการวัด
นอกจากนี้ชาวอยี ิปต์ยังมีความสามารถในการนาเรขาคณิตไปใช้ในการสร้างรูปยากๆ ขึ้นไปอีก ถ้าเรามีวงเวียน
เพียงอันเดียวก็สามารถแบ่งเส้นรอบวงของวงกลมออกเป็นส่วนเท่าๆกันซึ่งทาให้รูปเหลี่ยมที่เท่ากัน คือ รูป
สามเหล่ียม รปู สเ่ี หลย่ี ม รูปห้าเหล่ยี ม รูปหกเหลย่ี ม รปู เจด็ เหลีย่ ม และรูปแปดเหลี่ยม

5

ความหมายของรปู เรขาคณิตตา่ งๆ

รูปเรขาคณติ

ระบบคณิตศาสตร์ใดๆ ต้องเริ่มจากนิยามศัพท์ เช่น เซต จุด และเส้น เป็นอนิยมศัพท์สาหรับเส้นนั้น
อาจจะได้ว่าเป็นเซตของจุด ซึ่งความหมายนี้กลมกลืนกับบทนิยามที่กล่าวว่ารูปเรขาคณิต คือ เซตของจุด
ตวั อย่างของเรขาคณติ ไดแ้ ก่ เสน้ ตรง

พัฒนาการของเรขาคณิต เป็นพัฒนาการด้านแนวคิดของคาและข้อความต่างๆ ในวิชาเรขาคณิตพบว่า
มีการใชค้ าต่างๆ เช่น สามเหล่ยี ม วงกลม มมุ และใช้ขอ้ ความ ซงึ่ แบง่ เส้นตรงออกเป็น 2 สว่ น ซึ่งตั้งฉากได้ล้วน
แล้วแต่สามารถให้นิยามโดยตรงและชัดเจนได้ แต่เราก็ต้องใช้จุดเส้นและระนาบ ซึ่งเป็นอนิยามศัพท์ในการ
นิยามคาและขอ้ ความข้างตน้ การพัฒนาเรขาคณติ ด้านแนวความคิดน้ันเราจาเป็นตอ้ งพิสจู น์ข้อความตา่ งๆ ทีเ่ รา
เกยี่ วขอ้ งดว้ ย พบเสมอวา่ บางครัง้ ก็ไมส่ ามารถให้นยิ ามคาบางคาหรือข้อความบางข้อความทเ่ี ก่ียวกับเรขาคณิต
เรยี กขอ้ ความที่ยอมรับโดยไม่ต้องพสิ ูจน์วา่ “ สจั พจน์ ”สว่ นข้อความท่สี ามารถพสิ ูจน์ได้ เรยี กว่า “ ทฤษฎี ”

รูปสามเหลี่ยม เกิดจากการรวมของเส้นตรงทั้ง 3 เส้น เชื่อมจุดท้ัง 3 จุดที่ไม่ได้อยู่ในเส้นตรง

เดียวกนั จุดทง้ั 3 จดุ เรยี กว่า “ มุมยอด ”และเสน้ ตรงทง้ั สามเสน้ เรียกวา่ “ ดา้ น ”

นิยาม 3 สามเหล่ียมท่มี มี มุ หน่งึ เปน็ มุมฉาก เรยี กว่า สามเหลีย่ มมมุ ฉาก, สามเหล่ียมที่มีด้านสองด้าน

เทา่ กันทกุ ประการ เรียกว่า สามเหลย่ี มหนา้ จั่ว, สามเหลี่ยมทีม่ ีด้านเทา่ กนั ทุกประการท้ัง 3 เรยี กว่า สามเหลี่ยม
ด้านเท่า, ด้านและมุมของสามเหลี่ยมที่จุดยอดของมุมไม่ได้อยู่ในด้านนั้น เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก, มุม
ภายในของรปู สามเหล่ยี มรวมกนั เท่ากับ 2 มมุ ฉาก นนั่ คือ มมุ ภายในของรปู สเี่ หล่ยี มรวมกนั เท่ากับ 180 องศา

รูปสเ่ี หลย่ี ม คอื รูปหลายเหลย่ี มที่มีด้าน 4 ด้าน (หรอื ขอบ และมมุ 4 มมุ (หรือจุดยอด) รปู สเ่ี หล่ียมมี

ทั้งเปน็ รูปสีเ่ หลีย่ มอย่างง่าย (ไม่มดี า้ นทตี่ ัดกันเอง) และรปู สี่เหล่ียมซับซ้อน เรียกวา่ รูปส่เี หลี่ยมไขว)้ รูปส่เี หลย่ี ม
อย่างงา่ ยอาจเปน็ รปู สี่เหลี่ยมนนู (convex) หรอื รูปสี่เหลย่ี มเว้า (concave) อย่างใดอย่างหนง่ึ มุมภายในของรูป
สีเ่ หลี่ยมอย่างงา่ ยรวมกันได้ 360 องศา สว่ นรปู ส่เี หลย่ี ม ซับซ้อน เนื่องจากมุมภายในที่ด้านตรงข้ามเป็นมุมกลับ
ทาให้รวมกนั ได้ 720 องศา

รูปห้าเหลี่ยม รูปหลายเหลี่ยมท่ีมีด้าน 5 ด้าน 5 มุม, รูปห้าเหลี่ยมปกติ คือ รูปห้าเหลี่ยมที่ด้านทุก

ด้านยาวเทา่ กนั และมมุ ทกุ มุมมขี นาดเท่ากัน, มุมภายในของรูปห้าเหลย่ี ม คอื 540 องศา

รูปหกเหลี่ยม เป็นรูปหลายเหลี่ยมแบบหนึ่ง ที่มีด้านมุมด้าน ณจุดยอด 6 จุด มุมภายในของหก

เหลี่ยมปกติ หรือหกเหลี่ยมด้านเท่า คือ 720 องศา (มีความยาวด้านเท่ากันทุกด้าน และขนาดมุมเท่ากันทุกมุม
เทา่ กบั 120 องศา)

6

รูปเจ็ดเหลี่ยม คือ รูปหลายเหลี่ยมที่มีด้าน 7 ด้าน มุมภายในแต่ละมุมของ 7 เหลี่ยมปกติมีขนาด

เท่ากับ 5 เรเดยี น หรอื ประมาณ 128.571 องศา

7

รูปแปดเหลี่ยม คอื รูปหลายเหลีย่ มทม่ี ดี า้ น 8 ด้าน มุมภายในแตล่ ะมุมของรปู แปดเหลยี่ มปกติ มี

ขนาดเทา่ กับ 135 องศา

รปู เหลย่ี มตา่ งๆ

ในการคานวณหามุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมนั้น สามารถทาได้หลายวิธี วิธีที่จะเสนอต่อไปนี้เป็นวิธีซ่ึง
อาศยั รูปสามเหลี่ยมเป็นหลัก เพราะทราบว่ามุมภายในของรูปสามเหล่ียมรวมกันจะเท่ากับ 180 องศา ความรู้
นั้นเป็นความรู้เบือ้ งต้นที่ทราบกันและจากันได้ดี ดังนั้นพยายามแปลงรูปเหลีย่ มตา่ งๆ ให้เป็นรูปสามเหลีย่ มได้
โดยที่รูปสามเหลี่ยมนั้นต้องไม่ซ้อนหรือทับกันเราก็สามารถทราบไ ด้ว่ามุมภายในของรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็น
อย่างไร

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจดุ เส้น ระนาบ และปรภิ ูมิ

จุด (Point) คือ สิ่งที่แสดงตาแหน่ง ไม่มีขนาด ซึ่งก็คือ ไม่มีความยาวและความกว้าง เพียงแต่บอกถึง
ตาแหนง่ ท่ีอยเู่ ทา่ นั้น

เส้น (Line) คือ สิ่งที่มีความยาว แต่ไม่มีความกว้าง เป็นรอยที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด เส้นตรง
(Straight line) คอื เสน้ ที่มีทศิ ทางจากจดุ หน่งึ ไปยงั อกี จุดหน่งึ เหมือนกนั ตลอดท้ังเสน้

สจั พจน์ 1 เส้นแตล่ ะเสน้ มจี ุดเปน็ สมาชกิ และมจี ดุ อย่างนอ้ ย 2 จดุ อยใู่ นเสน้ ดังกลา่ ว

สจั พจน์ 2 ถ้า P และ Q เป็นจดุ ท่ีแตกตา่ งกัน มีเสน้ เดียวเท่าน้นั ท่ีผ่าน P และ Q

นิยาม 1 จุด P และ Q เปน็ จุดท่ีแตกต่างกัน จะอยู่รว่ มเสน้ เดียวกันก็ต่อเม่ือ มเี สน้ ซง่ึ จดุ P และ Q อยู่ในเส้น

นั้น

สัจพจน์ 3 ระนาบมีจดุ เปน็ สมาชกิ และมีจุดทีแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 3 จดุ ซ่ึงไม่อย่รู วมเสน้ เดียวกนั

สจั พจน์ 4 ถา้ มีจดุ ๆ หน่ึงอยใู่ นระนาบทแี่ ตกต่างกันแลว้ intersection ของระนาบทั้งสอง คอื เส้น

ทฤษฎเี กีย่ วกบั มุม

นิยาม 2 มมุ 2 มมุ ในระนาบเดียวกันซึง่ มุมทั้งสองมีจดุ ยอดและแขน 1 รว่ มกนั intersection ของเซตของจุด

ภายในมมุ ท้ังสองเป็นเซตว่าง เรียกมมุ ท้งั สองว่า เปน็ มมุ ประชดิ ซ่ึงกนั และกัน มุม 2 มุมใดท่ีมีขนาดรวมกันเป็น
180 องศา เรยี กแต่ละมุมว่า “ มุมประกอบ 2 มมุ ฉาก ”ของอกี มุมหนึ่ง, เรยี กมมุ ทม่ี ีขนาด 90 องศา ว่า “ มุม
ฉาก ”ซึ่งจะเหน็ ได้อย่างชัดเจนว่า “ มมุ ฉากทุกมุมมีเท่ากันทุกประการเสมอ ”ในกรณที ีม่ ุมสองมุมใดๆ มีขนาด

7

รวมกนั เปน็ 90 องศา เรียกแตล่ ะมุมว่า “ มุมประกอบมมุ ฉาก ”ของอีกมุมหน่ึง, มุมใดๆ ทีม่ ีขนาดนอ้ ยกว่า 90
องศา เรียกว่า “ มุมแหลม ”,เลือกมุมที่มีขนาดใหญก่ ว่ามุมฉาก “ มุมป้าน ”เลือกมุม 2 มุม ซึ่งแต่ละแผนของ
มมุ ซึ่งเปน็ รังสตี รงกนั ข้ามของอกี มุมหนงึ่ วา่ “ มุมตรงข้ามกนั ”ซ่ึงกนั และกนั

ทฤษฎีบท 1 ถา้ มมุ สองมมุ ประกอบเส้นเดียวกัน แล้วมุมทง้ั สองดงั กลา่ วเป็นมุมประกอบมุมฉากซง่ึ กันและกัน
ทฤษฎีบท 2 ถา้ มุมสองมุมประกอบเส้นเดียวกันนน้ั เทา่ กันทกุ ประการ แล้วแต่ละมมุ เปน็ มุมฉาก
ทฤษฎีบท 3 มุมประกอบ 2 มมุ ฉากทเ่ี ปน็ มมุ ประชิดกันจะเปน็ มุมประกอบเสน้ เดียวกนั ด้วย
ทฤษฎีบท 4 มุมประกอบ 2 มมุ ฉากของมมุ ทเี่ ท่ากนั ทุกประการ ย่อมเทา่ กันทกุ ประการดว้ ย
ทฤษฎบี ท 5 มมุ ตรงกันขา้ มซง่ึ กันและกันยอ่ มเทา่ กันทกุ ประการ

8

บทที่ 3

วิธีการดาเนนิ งาน

ในการจดั ทาโครงงาน การศกึ ษาการนารูปสามเหลีย่ มที่มีความสัมพนั ธ์บางประการกบั รูปหลายเหล่ียม
ผู้จัดทามีวธิ ีการดาเนินโครงงานตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี

ลาดับท่ี รายการ ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ
1 จดั ตั้งกลุ่มโครงงาน 23 ส.ค. 60 คณะผู้จัดทา
2 ศกึ ษาวิธีการดาเนนิ โครงงานคณติ ศาสตร์ 3 – 8 ก.ย. 60 คณะผู้จัดทา
3 ประชมุ วางแผนการจัดวางโครงงานและคิดหัวข้อโครงงาน 14 -22 ก.ย. 60 คณะผจู้ ัดทา
4 เสนอหัวข้อโครงงานตอ่ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา 23 ก.ย. 60 คณะผ้จู ัดทา

5 เขียนเคา้ โครงร่างโครงงานพร้อมทง้ั วางแผนและกาหนด และอาจารย์
แนวทางการดาเนนิ งาน ท่ปี รกึ ษา
10 – 15 ต.ค. 60 คณะผ้จู ัดทา
6 ศึกษาเนื้อหาคณิตศาสตรท์ ่เี ก่ียวข้อง
7 ศกึ ษารูปเรขาคณิต สามเหลีย่ ม ส่เี หลีย่ ม ห้าเหล่ียม หก 20 – 30 พ.ย. 60 คณะผู้จดั ทา
10 – 25 พ.ย. 60 คณะผู้จดั ทา
เหล่ยี ม เจด็ เหลยี่ มและแปดเหลย่ี ม โดยดคู วามสมั พนั ธ์
ระหว่างจานวนด้านของรปู เหล่ียมทายในและภายนอกกับ 27 – 30 พ.ย. 60 คณะผู้จดั ทา
รูปสามเหลย่ี มทเ่ี กดิ ขึน้ และอาจารย์
8 สรุปผลการดาเนินงาน ปรบั ปรุงแก้ไขและจัดทารปู เล่ม ที่ปรกึ ษา
โครงงานเพื่อนาเสนอ
26 ธ.ค. 60 คณะผู้จดั ทา
9 นาเสนอโครงงาน และอาจารย์
ทีป่ รกึ ษา

9

ขัน้ ตอนการดาเนินโครงงาน

ข้นั ตอนการดาเนินงาน ประกอบด้วยขนั้ ตอนตา่ งๆ ดังน้ี
1.ขนั้ เตรียมการ
2.ขั้นวางแผนการทางาน
3.ขัน้ ลงมือปฏบิ ตั กิ าร
4.ขน้ั สรปุ รายงานผล

1.ขนั้ เตรียมการ

1.1 จัดตั้งกลุ่มโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 3 คน ได้แก่ นายชลสิทธิ์ ไชยชมภู นายพงษ์
ประเสรฐิ จันทรท์ รา และนายธีรภทั ร จันทา

1.2 ศกึ ษาขั้นตอนการจัดทาโครงงานคณติ ศาสตรจ์ ากเอกสารต่างๆท่เี ก่ยี วขอ้ ง
1.3 ประชมุ วางแผนการจดั ทาโครงงานและเลือกหวั ขอ้ โครงงานท่ตี นเองสนใจ
1.4 นาเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

2.ข้นั วางแผนการดาเนนิ งาน

2.1 เขยี นเคา้ โครงรา่ งโครงงาน พรอ้ มทัง้ วางแผนและกาหนดแนวทางการดาเนนิ งานในการจัดทาโครงงาน
2.2ศกึ ษาข้อมูลเกยี่ วกบั รูปเรขาคณิต สามเหล่ียม สเ่ี หลย่ี ม ห้าเหล่ยี ม หกเหลยี่ ม เจ็ดเหลีย่ ม และแปด
เหลีย่ ม

3.ขั้นลงมอื ปฏิบตั ิ

3.1 ศกึ ษารปู เรขาคณิตท่ีไมม่ ีรูปเหล่ียมภายในกบั การเกดิ รูปสามเหล่ียม
3.2 ศึกษารปู เรขาคณติ ที่มีรปู เหลี่ยมภายใน 1 รูปกับการเกดิ รปู สามเหลย่ี ม
3.3 ศึกษารปู เรขาคณติ ที่มรี ูปเหล่ียมภายใน 2 รูปกบั การเกดิ รปู สามเหลี่ยม

4.ขนั้ สรุปรายงานผล

4.1 ประชมุ แบง่ หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบให้แต่ละคนในการเขียนรายงานโครงงาน
4.2 ดาเนนิ การจัดทาโครงงานฉบบั รา่ ง
4.3 นาเสนอรายงานการจัดทาโครงงานฉบับร่างตอ่ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาโครงงานตรวจสอบใหข้ ้อเสนอแนะ
4.4 แก้ไข ปรบั ปรงุ รายงานตามที่อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงานได้ให้ขอ้ เสนอแนะ
4.5 จัดทารปู เลม่ โครงงานคณติ ศาสตร์ฉบบั สมบรู ณ์ ตรวจพิสจู นอ์ กั ษรและการเรียบเรยี งเน้อื หา
4.6 เสนอรายงานโครงงานคณติ ศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน ตรวจสอบรบั รองและ
เผยแพรโ่ ครงงานต่อไป

10

บทท่ี 4

ผลการดาเนนิ งาน

1. รปู เรขาคณิตสองมิติตง้ั แต่รูปสามเหล่ียมถงึ รูปแปดเหล่ยี ม

ทฤษฎีบท 1.1 กาหนดใหจ้ ุด A เปน็ จดุ ใดๆในรูปเรขาคณิต ถา้ ลบเส้นท่ปี ระชิดกับจุด A แล้วจะได้

กราฟมี 2 component เราจะเรียกจดุ นวี้ ่า “ จุดเลอื ดออก (cepter point) ”

ทฤษฎีบท 1.2 กาหนดให้ V1 คือจุดเลือก (cepter point) แล้วลากเส้นตรงจากจดุ เลอื กไปยังจุด

ทุกจุดบน V2 จะทาให้เกดิ รูปสามเหล่ียมจานวน P - 2 รูป เมอ่ื P คอื จานวนด้านของรปู เรขาคณติ ใดๆ

การพสิ ูจน์ V2

V1 V1

G

กาหนดให้ V1 เปน็ จุดเลอื ก
จะแสดงว่า เม่ือลากเสน้ ตรงจากจุดเลอื ดไปยังจดุ ทกุ จดุ บน V2 จะทาใหเ้ กดิ รูปสามเหลี่ยมจานวน P - 2 ลูก
ให้ P เป็นจานวนดา้ นของรูปเรขาคณติ ใดๆ

จาก ทฤษฎบี ท 1.1 จะไดว้ ่า กราฟ G มี 2 component คอื V1 และ V2
เมอื่ ลากเส้นตรงจากจดุ V1 ไปยงั ทกุ จดุ บน V2
จากรูปจะเหน็ ว่า ส่ีเหล่ียมมีด้าน 4 ด้าน จะทาใหเ้ กดิ รูปสามเหลี่ยม 2 รปู

ทาให้ไดว้ ่า จานวนรูปสามเหล่ียมที่เกิดขึน้ มีจานวนนอ้ ยกว่าจานวนดา้ นอยู่ 2 รูป

และเมื่อพจิ ารณารูปเรขาคณิตใดๆ

สรปุ ได้วา่ จานวนรปู สามเหลย่ี มเท่ากับ P - 2 รูป

11

2. รูปเรขาคณติ สองมิติทม่ี ีรูปเหล่ยี มใดๆ อยภู่ ายใน 1 รูป ตง้ั แต่รูปสามเหลยี่ มถึงรปู แปด
เหลี่ยม ทงั้ ด้านในและดา้ นนอก

ทฤษฎบี ท 2.1 กาหนดใหจ้ ดุ A,B,C,…เปน็ จุดเลือกของรปู สี่เหลี่ยมใดๆ ที่อยู่ภายใน
ทฤษฎีบท 2.2 ถา้ ลากเสน้ ตรงจากจุดเลือกไปยังจุดของรูปเหล่ียมภายนอก โดยท่เี ส้นตรงไม่ทับกัน

แล้วจะทาให้เกิดรปู สามเหลีย่ มจานวน P รปู เมอ่ื P เปน็ ผลบวกของจานวนด้านของรูปเหล่ยี มภายในและ
ภายนอก

การพสิ ูจน์

AB

CD

กาหนดให้ A,B,C และ D เป็นจดุ เลือกของรปู สเี่ หลยี่ มภายใน
จะแสดงวา่ จะมีรูปสามเหลย่ี มจานวน P รูป
ให้ P เป็นผลบวกของจานวนด้านของรูปเหลยี่ มภายในและภายนอก
เม่ือลากเส้นตรงจากจดุ เลือกไปยงั จดุ ของรูปเหล่ียมภายนอก โดยทเ่ี ส้นตรงน้นั ต้องไม่ทับกัน
จากรูปจะเหน็ ไดว้ า่ จานวนด้านของรปู เหล่ียมภายนอกเทา่ กับ 3 ด้าน
และจานวนด้านของรปู สเ่ี หลี่ยมภายใน เทา่ กบั 4 ดา้ น
จะได้วา่ ผลบวกของจานวนด้านของรปู เหลี่ยมภายในและภายนอกเทา่ กับ 7 ดา้ น
จะเห็นว่า จานวนของรปู สามเหลี่ยมเทา่ กับ ผลบวกของจานวนด้านของรปู ส่ีเหล่ยี มภายในและภายนอก
นน่ั คือ เม่ือผลบวกของจานวนด้านของรูปเหลีย่ มภายในและภายนอกเทา่ กบั 7 ดา้ น
ดงั นนั้ จานวนของรูปสามเหลี่ยมมจี านวนเท่ากับ 7 รูป
และเมื่อพจิ ารณารปู เรขาคณิตใดๆ
สรุปได้วา่ จานวนรูปสามเหลี่ยม เท่ากับ P รปู

12

3. รูปเรขาคณติ สองมติ ิทมี่ ีรูปสเี่ หล่ยี มใดๆอยภู่ ายใน 2 รปู ตัง้ แตร่ ูปสามเหลย่ี มถึงรูปแบบ
เหลี่ยม ทั้งดา้ นในและดา้ นนอก

ทฤษฎีบท 3.1 ถา้ ลากเส้นตรงจากจุดเลือกไปยังจุดของรูปเหล่ยี มภายนอก โดยทีเ่ สน้ ตรงไม่ทบั กัน

แลว้ จะทาให้เกิดรปู สามเหลย่ี มจานวน P + 2 รูป เม่ือ P เป็นผลบวกของจานวนด้านของรูปเหลยี่ มภายในและ
ภายนอก

AB E

CD
GF

การพิสจู น์

จากทฤษฎบี ท 2.1 กาหนดให้ A,B,C,D,E,F และ G เป็นจุดเลอื กของลูกเหล่ยี มภายใน
จะแสดงว่า รปู สามเหลีย่ ม P รูป
ให้ P เป็นผลบวกของจานวนดา้ นของรปู เหลยี่ มภายในและภายนอก
เมื่อลากเส้นตรงจากจดุ เลือดไปยงั จุดของเหลี่ยมภายใน โดยท่เี ส้นตรงน้ันต้องไม่ทับกัน
จากรูปจะเห็นได้วา่ จานวนเหล่ยี ม ภายนอกเข้ากบั 4 ดา้ น และจานวนเหล่ยี มภายใน = 4 + 3 = 7 ด้าน
จะได้วา่ ผลบวกของจานวนด้านของรปู สี่เหล่ยี มภายในและภายนอกเทา่ กบั 11 ด้านจากรปู
จะเหน็ ไดว้ ่า จานวนของรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 13 รูป
นัน่ คอื จานวนของรูปสามเหลี่ยม มีจานวนมากกวา่ ผลบวกของจานวนด้านของลูกเหลย่ี มภายในและภายนอก
อยู่ 2 รูป
และเมื่อพิจารณารูปเรขาคณิตใดๆ
สรปุ ได้ว่า จานวนรูปสามเหล่ียมเท่ากับ P รปู

รปู เรขาคณติ ที่ไม่มีรูปเรขาคณิตอยภู่ ายใน 13

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต จานวนรูป
ดา้ นนอก+ดา้ นใน สามเหลยี่ ม

31

42

53
64

14

75
86

รปู เรขาคณติ ทมี่ รี ูปเรขาคณิตอยู่ภายใน 1 รูป 15

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต จานวนรูป
ดา้ นนอก+ดา้ นใน สามเหลยี่ ม

3+3=6 6

3+4=7 7

3+5=8 8

3+6=9 9

รูปเรขาคณติ ดา้ นของรูปเรขาคณิต 16
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
3+7=10 สามเหลยี่ ม

10

3+8=11 11

4+3=7 7

4+4=8 8

4+5=9 9

รูปเรขาคณติ ดา้ นของรูปเรขาคณิต 17
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
4+6=10 สามเหลยี่ ม

10

4+7=11 11

4+8=12 12

5+3=8 8

5+4=9 9

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 18
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
5+5=10 สามเหลย่ี ม

10

5+6=11 11

5+7=12 12

5+8=13 13

6+3=9 9

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 19
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
6+4=10 สามเหลยี่ ม

10

6+5=11 11

6+6=12 12

6+7=13 13

6+8=14 14

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 20
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
7+3=10 สามเหลยี่ ม

10

7+4=11 11

7+5=12 12

7+6=13 13

7+7=14 14

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 21
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
7+8=15 สามเหลยี่ ม

15

8+3=11

11

8+4=12 12

8+5=13 13

8+6=14 14

รูปเรขาคณติ ดา้ นของรูปเรขาคณิต 22
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

8+7=15 15

8+8=16 16

รูปเรขาคณติ ท่มี รี ปู เรขาคณติ อยู่ภายใน 2 รปู 23

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต จานวนรูป
ดา้ นนอก+ดา้ นใน สามเหลยี่ ม

3+3+3=9 11

3+3+4=10 12

3+3+5=11 13

3+3+6=12 14

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 24
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
3+3++7=13 สามเหลยี่ ม

15

3+3+8=14 16

3+4+3=10 12

3+4+4=11 13

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 25
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
3+4+5=12 สามเหลยี่ ม

14

3+4+6=13 15

3+4+7=14 16

3+4+8=15 17

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 26
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
3+5+3=11 สามเหลยี่ ม

13

3+5+4=12 14

3+5+5=13 15

3+5+6=14 16

รูปเรขาคณติ ดา้ นของรูปเรขาคณิต 27
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
3+5+7=15 สามเหลยี่ ม

17

3+5+8=16 18

3+6+3=12 14

3+6+4=13 15

รูปเรขาคณติ ดา้ นของรูปเรขาคณิต 28
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

3 + 6 + 5 = 14 16

3 + 6 + 6 = 15 17

3 + 6 + 7 = 16 18

3 + 6 + 8 = 17 19

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 29
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

3 + 7 + 3 = 13 15

3 + 7 + 4 = 14 16

3 + 7 + 5 = 15 17

3 + 7 + 6 = 16 18

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 30
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

3 + 7 + 7 = 17 19

3 + 7 + 8 = 18 20

3 + 8 + 3 = 14 16

3 + 8 + 4 = 15 17

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 31
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

3 + 8 + 5 = 16 18

3 + 8 + 6 = 17 19

3 + 8 + 7 = 18 20

3 + 8 + 8 = 19 21

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 32
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 3 + 3 = 10 12

4 + 3 + 4 = 11 13

4 + 3 + 5 = 12 14

4 + 3 + 6 = 13 15

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 33
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 3 + 7 = 14 16

4 + 3 + 8 = 15 17

4 + 4 + 3 = 11 13

4 + 4 + 4 = 12 14

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 34
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 4 + 5 = 13 15

4 + 4 + 6 = 14 16

4 + 4 + 7 = 15 17

4 + 4 + 8 = 16 18

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 35
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 5 + 3 = 12 14

4 + 5 + 4 = 13 15

4 + 5 + 5 = 14 16

4 + 5 + 6 = 15 17

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 36
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 5 + 7 = 16 18

4 + 5 + 8 = 17 19

4 + 6 + 3 = 13 15

4 + 6 + 4 = 14 16

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 37
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 6 + 5 = 15 17

4 + 6 + 6 = 16 18

4 + 6 + 7 = 17 19

4 + 6 + 8 = 18 20

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 38
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 7 + 3 = 14 16

4 + 7 + 4 = 15 17

4 + 7 + 5 = 16 18

4 + 7 + 6 = 17 19

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 39
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 7 + 7 = 18 20

4 + 7 + 8 = 19 21

4 + 8 + 3 = 15 17

4 + 8 + 4 = 16 18

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 40
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

4 + 8 + 5 = 17 19

4 + 8 + 6 = 18 20

4 + 8 + 7 = 19 21

4 + 8 + 8 = 20 22

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 41
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 3 + 3 = 11 13

5 + 3 + 4 = 12 14

5 + 3 + 5 = 13 15

5 + 3 + 6 = 14 16

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 42
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 3 + 7 = 15 17

5 + 3 + 8 = 16 18

5 + 4 + 3 = 12 14

5 + 4 + 4 = 13 15

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 43
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 4 + 5 = 14 16

5 + 4 + 6 = 15 17

5 + 4 + 7 = 16 18

5 + 4 + 8 = 17 19

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 44
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 5 + 3 = 13 15

5 + 5 + 4 = 14 16

5 + 5 + 5 = 15 17

5 + 5 + 6 = 16 18

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 45
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 5 + 7 = 17 19

5 + 5 + 8 = 18 20

5 + 6 + 3 = 14 16

5 + 6 + 4 = 15 17

รูปเรขาคณิต ดา้ นของรูปเรขาคณิต 46
ดา้ นนอก+ดา้ นใน
จานวนรูป
สามเหลยี่ ม

5 + 6 + 5 = 16 18

5 + 6 + 6 = 17 19

5 + 6 + 7 = 18 20

5 + 6 + 8 = 19 21