ปัญหาทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาค

        ๒. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจหน่วยใหญ่ หรือส่วนรวมของทั้งประเทศ รวมทั้งปัญหาเศรษฐกิจระดับชาติหรือระดับโลก เช่น รายได้ประชาชาติ GDP GNP การเงินการธนาคาร การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การออมและการลงทุน แรงงานและการว่างงาน ปริมาณเงิน เป็นต้น โดยมีแนวคิดในการวิเคราะห์มากมาย แต่หลักการเบื้องต้นง่ายๆ คือ อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) เช่นกัน ซึ่งการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคจะทำให้เราสามารถทำความเข้าใจถึงปรากฏการณ์ต่างๆ ทางเศรษฐกิจได้ดีขึ้น และสามารถนำเอาแนวคิดและทฤษฎีด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคไปใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบการวิเคราะห์ตัดสินใจบริหารงานด้านต่างๆ ทั้งภาคเอกชนและรัฐบาลเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายเศรษฐกิจในการการสร้างความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ (economic growth) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (economic stabilization)  และการกระจายความเป็นธรรม (distribution function) เช่น

นอกจากภาวะต้นทุนการเลี้ยงดูหมูที่สูงขึ้น ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้นอาจเกิดจากการที่ผู้ผลิตมีอำนาจในการกำหนดราคา หรือที่เรียกว่าอำนาจผูกขาด (Monopoly power) ทั้งนี้ โครงสร้างตลาดสุกรในประเทศไทย เริ่มจากเกษตรกรที่มีทั้งฟาร์มขนาดเล็ก ฟาร์มขนาดใหญ่และไปจนถึงธุรกิจครบวงจร ประกอบด้วย โรงเชือด โรงแปรรูป ไปจนถึงตลาดสดหรือหน้าเขียง (อัจจิมา ณ ถลาง, 2559) โดยฟาร์มขนาดใหญ่และธุรกิจครบวงจรอาจมีการเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อสุกร มีช่องทางไปถึงตลาดขายเนื้อหมูและมีอำนาจในการกำหนดส่วนต่างของราคาได้ดีกว่า ในปัจจุบันข้อมูลที่จะสะท้อนอำนาจตลาดของหน่วยผลิตในห่วงโซ่อุปทานการผลิตเนื้อสุกรยังมีค่อนข้างจำกัด จึงยากจะตอบคำถามดังกล่าวได้อย่างชัดเจน 

“หมูแพง” กับทางเลือกของผู้บริโภค

การเปลี่ยนแปลงของการบริโภคสินค้าใดๆ เมื่อราคาสินค้านั้น (หรือสินค้าอื่น) เปลี่ยนแปลงจะเรียกว่า ผลทางด้านราคา (Price effect) เช่น เมื่อราคาเนื้อหมูแพงขึ้นเป็นจาก 150 เป็น 200 บาท/กิโลกรัม นาย B จึงลดปริมาณการบริโภคเนื้อหมูลงจาก 2 เป็น 1 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจะเรียกได้ว่าผลที่เกิดขึ้นจริงนั่นเอง ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค ผลทางด้านราคา ประกอบด้วย ผลทางด้านรายได้ (Income effect) และผลทางด้านการทดแทน (Substitution effect) ในส่วนนี้จะอธิบายผ่านตัวอย่างของนาย B ดังนี้ 

สมมติว่าถ้าเดิม นาย B รายได้ต่อสัปดาห์ 6,000 บาท เมื่อราคาเนื้อหมูแพงขึ้น นาย B ซื้อเนื้อหมูได้ในปริมาณลดลงจาก 40 กิโลกรัม เป็น 30 กิโลกรัม การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้นาย B รู้สึกว่าตนเองมีรายได้แท้จริงลดลง จึงบริโภคเนื้อหมูลดลง

ในส่วนของผลทางการทดแทน ผู้บริโภคจะพิจารณาราคาเนื้อหมูเปรียบเทียบกับราคาเนื้อประเภทอื่น (หรือสินค้าอื่น) กล่าวได้ว่า ถ้าราคาเนื้อหมูแพงขึ้น ราคาเนื้อประเภทอื่นโดยเปรียบเทียบกับราคาเนื้อหมูก็จะถูกลง จากคำกล่าวนี้นาย B จะตัดสินใจบริโภคเนื้อประเภทอื่นทดแทนเนื้อหมูเสมอ โดยไม่เกี่ยงว่าราคาเนื้อประเภทอื่นๆ นั้นมีราคาเท่าใด อย่างไรก็ตาม การเลือกสินค้าทดแทนของผู้บริโภคแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน ขึ้นกับความชอบของผู้บริโภคคนนั้นต่อโปรตีนที่จะมาทดแทนเนื้อหมู หรือไม่ก็หากเราชอบบริโภคเนื้อหมูมากกว่าเนื้อไก่อยู่แล้ว เราคงหันไปกินเนื้อไก่หรือเนื้อสัตว์ทดแทนอื่น ๆ ได้ลำบาก นอกจากนี้ การหันไปบริโภคเนื้อสัตว์อื่น ๆ ก็นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของราคาเนื้อสัตว์ทดแทนอื่น ๆ ซึ่งจะกล่าวในลำดับต่อไป

“หมูแพง” กับดุลยภาพทั่วไป

ในลำดับถัดไป จะวิเคราะห์ถึงผลของการเปลี่ยนแปลงของราคาเนื้อหมูไปสู่ตลาดสินค้าประเภทอื่นๆ เรียกว่า การวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium) หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไป คือ ต้องคำนึงถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในทุกตลาดที่เกี่ยวข้อง ในกรณีของตลาดเนื้อหมูซึ่งเป็นแหล่งโปรตีนสำคัญของผู้บริโภคในประเทศ ตลาดสินค้าอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงกับตลาดเนื้อหมู เช่น เนื้อไก่ ไข่ หรือกุ้ง เป็นแหล่งโปรตีนทดแทนที่สมเหตุสมผล เมื่อราคาเนื้อหมูแพงขึ้น ผู้บริโภคย่อมหันไปบริโภคเนื้อประเภทอื่น ๆ ส่งผลให้เกิดความต้องการเนื้อประเภทอื่น ๆ เพิ่มขึ้นและทำให้ราคาเนื้อประเภทอื่น ๆ เพิ่มขึ้นตาม

จากภาพที่ 2 แนวโน้มของอัตราการเปลี่ยนแปลงของเนื้อประเภทต่าง ๆ มีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน ในช่วงกลางปี 2564 อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้ายกเว้นไข่ไก่ มีอัตราติดลบจากสถานการณ์ COVID-19 ที่ชะลอการบริโภคลง และมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม 2564 และมกราคม 2565 ดังนั้น เราคงเห็นความสัมพันธ์แบบคราว ๆ ว่า ราคาเนื้อหมูแพงก็ส่งผลให้ราคาเนื้อสัตว์อื่น ๆ แพงขึ้นไปด้วยนั่นเอง 

ที่มารูปภาพ : https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C+%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99&espv=2&biw=1242&bih=602&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjdj5CU9_zQAhWIO48KHTB4AIQQ_AUIBygC&dpr=1.1#imgrc=PfTDm4409OCFuM%3A

���ɰ��ʵ�����Ҥ�������

���ɰ��ʵ�����Ҥ Microeconomics
���ɰ��ʵ�����Ҥ �繡���֡�Ҷ֧�ĵԡ����ͧ˹������ɰ�Ԩ��ҧ���к����ɰ�Ԩ �� �������͹ (�������������Ңͧ�Ѩ��¡�ü�Ե) ˹��¸�áԨ (����Ե) ����˹������ɰ�Ԩ��蹷���Сͺ�Ԩ�����ҧ���ɰ�Ԩ ���������繾ĵԡ�����õѴ�Թ㨢ͧ˹������ɰ�Ԩ�������������������м������ҧ�� �����ʶҹ��ó�˹��� �ç�����Ѻ���ɰ��ʵ�����Ҥ �����繡���֡�����ɰ�Ԩ��Ҿ��� ��蹤�����ɰ�Ԩ���Ҥ���֡������ͧ�����ҧ�ҹ �ѵ�Ҥ�Ҩ�ҧ �дѺ�Ҥ��Թ��������Թ��� ��з�����ɰ��ʵ�����Ҥ���֡������ͧ��è�ҧ�ҹ��ص��ˡ���˹��� �дѺ�Ҥ��Թ��Ҫ�Դ㴪�Դ˹��

��Ҩ�������º��º�ѹ�����
���ɰ��ʵ�����Ҥ��͡���֡��������������ҵ�������е������ҧ��
�����ɰ��ʵ�����Ҥ��͡���֡�������������Ҿ�����һ�������ҧ��

��š��觤����繨�ԧ ������ɰ��ʵ�����Ҥ������Ҥ ����觷���դ�������Ǿѹ�ѹ ������¹������ͧ��ǹ�֧����觨�������Ѻ�ѡ���ɰ��ʵ�� 㹻Ѩ�غѹ �ѡ���ɰ��ʵ��ҧ����������ѭ�����ɰ�Ԩ�������ɰ��ʵ�����Ҥ�繨ش�׹ ������ͧ�š�з�����Ҿ��� ��з��ҧ�����������������ɰ��ʵ�����Ҥ����ѡ ������ͧ�֧����ᵡ��ҧ��дѺ����Ҥ ��������������������䢻ѭ�� ������ҧ�������׹

��ҹ����������ɰ��ʵ�����Ҥ�������

Create Date :23 ���Ҥ� 2549 Last Update :23 ���Ҥ� 2549 22:35:22 �. Counter :Pageviews. Comments :0

  • twitter
  • google