สังคมพหุวัฒนธรรม ความสําคัญ

ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม

  1. 1. ความหลากหลาย ในสังคมพหุวัฒนธรรม โดย อาจารย์ชนากานต์ โสจะยะพันธ์
  2. 2. เรื่องของวัฒนธรรมเป็นเรื่องของวิถีชีวิตของมนุษย์ในแต่ละแห่งหรือแต่ละ ชุมชนหรือแต่ละสังคมที่มีการปฏิบัติ เลือกสรร ปรับเปลี่ยน ประยุกต์ และถ่ายทอดสืบๆ ต่อๆ กันมา ดังนั้นในแต่ละกลุ่มหรือแต่ละสังคมจึงมี วัฒนธรรมย่อย สังคมพหุวัฒนธรรม
  3. 3. สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ วิถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนา และประเพณีปฏิบัติที่มีความแตกต่าง กัน เนื่องมาจากกระบวนการคิดและสัญลักษณ์ที่เกิดจากการสร้างของ วัฒนธรรม ปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้นทางสังคม และ การศึกษาซึ่งเป็นตัวกาหนดให้บุคคลมีความคิดความเชื่อ ความรู้สึก และ การกระทาในลักษณะที่แตกต่างกัน ความหมายของสังคมพหุวัฒนธรรม
  4. 4. โลกปัจจุบันอยู่ในศตวรรษที่ 21 ที่มีประชากรหลายพันล้านคนอาศัยอยู่ใน หลายร้อยประเทศ จึงมีความหลากหลาย (พหุ)ทางเชื้อชาติและความ หลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่บนโลกนี้มี ทั้งความแตกต่างและคล้ายคลึงกัน เช่น ประเทศอินเดีย ประเทศจีน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ประเทศต่างๆ ที่มีประชากรจานวนมากนี้ มีประชากรที่มีเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างมาก ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  5. 5. สาหรับในประเทศไทยนั้น เรามีวัฒนธรรมไทยเป็นหลักของประเทศ แต่ ในวัฒนธรรมไทยนั้น ก็อยู่บนความหลากหลายและความแตกต่างของ วัฒนธรรม เนื่องจากประเทศไทยมีประชากรทั่วราชอาณาจักร จานวน 63,878,267 คน (สารวจเมื่อเดือนธันวาคม 2553 สานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) ประกอบด้วยกลุ่มคนไทยเชื้อสาย ไทย จีน ญวน ลาว เขมร ไทยทรงดา ไทยพวน มลายู ฯลฯ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  6. 6. ภาพชาวไทยทรงดา
  7. 7. ภาพชาวไทยพวน
  8. 8. ภาพชาวไทยเชื้อสายจีน
  9. 9. ประชากรไทยจึงประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม หลากหลายภาษา หลากหลายขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งมีปัญหา เรื่องผลประโยชน์และเป้ าหมายต่างๆ กันไป ส่งผลให้ประเทศไทยเป็น ประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเทศหนึ่งของโลก แต่ทุก วัฒนธรรมของกลุ่มต่างๆ ย่อมมี อัตลักษณ์ ของแต่ละวัฒนธรรม ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  10. 10. ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า สังคมไทยมีสภาพความเป็นพหุวัฒนธรรมตลอด มา ผู้คนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างมีความสุขนั้น มีความ หลากหลายหรือมีความเป็นพหุ ทั้งในด้านชาติพันธุ์ ศาสนา และ วัฒนธรรม การเข้าใจถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายจึงเป็นสิ่งจาเป็นของการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  11. 11. บุคคลแต่ละคนจะเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มซึ่งมีลักษณะวัฒนธรรมที่เป็นของ ตนเอง หรือที่เรียกว่า อัตลักษณ์ และหลาย ๆ กลุ่มจะรวมตัวกันเป็น สังคมใหญ่ การอยู่รอดของกลุ่มเกิดจากการเห็นคุณค่าและการยอมรับ ในอัตลักษณ์ของวัฒนธรรม ปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้น ทางสังคม และการศึกษา จะเป็นตัวสาคัญที่กาหนดเกี่ยวกับความเชื่อ ความรู้สึก และการกระทาของบุคคล ในลักษณะของการรวมกลุ่มต่าง ๆ ของสังคมใหญ่ ความความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
  12. 12. พิธีแต่งงานแบบไทย
  13. 13. พิธีแต่งงานแบบคริสต์
  14. 14. คาว่า “อัตลักษณ์” ไม่มีบันทึกไว้ในพจนานุกรม แต่มีตาราหลายเล่มให้ ความหมายคาว่า “อัตลักษณ์” ไว้ว่า คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัว บ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของตัวบุ คล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้นๆ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ ทั่วไปหรือสากลกับสังคม อื่นๆ กล่าวคือ ลักษณะที่ไม่เหมือนกับของคน อื่นๆ ซึ่งคาว่า “อัตลักษณ์” มาจากภาษาบาลีว่า อตฺต + ลักษณ โดยที่ “อัตตะ” มีความหมายว่า ตัวตน, ของตน ความหมายของอัตลักษณ์
  15. 15. การไหว้เป็นอัตลักษณ์ของชาวไทย
  16. 16. การใช้ตะเกียบเป็นอัตลักษณ์ของชาวจีน
  17. 17. ชุดกิโมโนเป็นอัตลักษณ์ของชาวญี่ปุ่น

           การจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรม มีหลักสำคัญที่จะต้องศึกษาอย่างน้อย 3 ประการคือ แนวคิดหรือมโนทัศน์(idea or concept) แนวทางการปฏิรูปทางการศึกษา(educational reform movement) และกระบวนการทางการจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรม(process)

พหุวัฒนธรรม มีความสําคัญ อย่างไร

พหุวัฒนธรรมศึกษาเกิดขึ้นเพื่อต้องการให้ นักเรียนทราบถึงกลุ่มคน และได้คุ้นเคยกับความ คิดเกี่ยวกับความหลากหลายในสังคม ไม่ว่าจะเป็น วิถีชีวิต ภาษา ศาสนา วัฒนธรรมและมุมมองที่แตก ต่างกับของตนเอง โดยวัตถุประสงค์ของหลักสูตร พหุวัฒนธรรม คือ การสร้างความรู้สึกเชิงบวกที่มี ต่อ พหุวัฒนธรรม เพื่อให้นักเรียนแต่ละคนรู้สึกว่า เป็น ...

สังคมพหุวัฒนธรรมคืออะไร และมีความสําคัญต่อเราอย่างไร

สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติศาสนา วิถีชีวิต ความคิดและวิถีปฏิบัติของกลุ่มชนในสังคมนั้นๆ เพื่อแสวงหาชีวิตที่ดีอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขสามัคคี และการเปิดรับ การไหลบ่าทางวัฒนธรรม

ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรมมีอะไรบ้าง

พหุวัฒนธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน 1) ความหลากหลายทางด้านชาติพันธุ์/สีผิว 2) ความหลากหลายทางด้านศาสนา/ความเชื่อ 3) ความหลากหลายทางด้านรูปแบบการด าเนินชีวิต 4) ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม (ภาษา การแต่งกาย อาหาร ดนตรี เป็นต้น)

การเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรมมีประโยชน์อย่างไร

การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม นอกจากเป็นการเรียนรู้วัฒนธรรมของผู้อื่น ทั้งใน เรื่องความเชื่อ ค่านิยม ความพฤติกรรม ขนบประเพณี แล้วยังก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง (1) ท าให้เกิด ความเข้าอกเข้าใจ การยอมรับซึ่งกันและกัน ไม่มีอคติต่อกัน และไม่เกิดการแบ่งแยกเลือกปฏิบัติกัน (2) ทาให้เกิดสันติภาพ และความสามัคคีปรองดองในหมู่ผู้เรียน (3) ...