โครงงานสิ่งประดิษฐ์จากธรรมชาติ

โครงงานสิ่งประดษิ ฐ์
เรื่อง ส่งิ ประดษิ ฐจ์ ากเปลือกหอย

จัดทำโดย

นางสาวกรรณกิ าร์ เลีย้ งถนอม
นางสาวสกุณา พนั ธุรัตน์
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ครูทปี่ รกึ ษาโครงงาน
นายกติ ตกิ ร ภารไสว

รายงานฉบับนีเ้ ป็นส่วนหนึ่งของการประกวดโครงงานและนวัตกรรม
สำหรับนกั ศึกษา กศน.

ประจำปีงบประมาณ พทุ ธศกั ราช 2564
ณ สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

จังหวดั ตราด
กศน.ตำบลคลองใหญ่ อำเภอแหลมงอบ

บทคดั ย่อ

มนุษย์ใช้ประโยชน์และผกู พันกับเปลือกหอยมาตั้งแต่ยคุ โบราณ มีหลักฐานทางโบราณคดีว่า มนุษย์ได้ใช้
เปลือกหอยมาทำเป็นเครื่องประดับต่าง ๆ มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เปลือกหอยยังใช้ทำเป็นเครื่องประดับ
ตกแต่งบ้านเพื่อความสวยงามและเก็บสะสม บางชิ้น บางชนิด บางลักษณะที่หายาก เช่น เปลือกหอยเบี้ยที่มี
ลักษณะของเปลือกส่วนปลายข้างหนึ่งโค้งงอเหมือนงวงช้าง เรียกว่า "โรทสเตท" มีการตั้งมูลค่าไว้สูงถึง 25 ล้าน
บาท นบั เป็นเปลือกหอยที่มมี ูลค่าสูงท่ีสุดในโลก และลักษณะท่ีสวยงามต่าง ๆ ของเปลอื กหอยยังเป็นต้นแบบหรือ
แรงบนั ดาลใจในการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ของมนุษยอ์ ีกจำนวนมากมาย

สิ่งประดิษฐ์จากเปลือกหอย ชิ้นนี้เกิดจากการที่ผู้จัดทำ สนใจที่จะศึกษาทรัพยกรที่มีในท้องถิ่น นั่นคือ
เปลือกหอย ซึ่งในพื้นที่อำเภอแหลมงอบมีเปลือกหอยมากมายหลายชนิด เช่น หอยขาว หอยหนาม หอยมะระ
หอยแครง เป็นต้น แทนที่จะปล่อยให้เปลือกหอยเหล่านี้ย่อยสลายไปตามธรรมชาติ ผู้จัดทำจึงสนใจที่จะสร้าง
สงิ่ ประดิษฐข์ นึ้ มาจากเปลือกหอย เพื่อสรา้ งมูลคา่ ใชเ้ ป็นของประดบั ตกแตง่ บา้ น โต๊ะทำงาน ซงึ่ จากการศึกษาครั้ง
น้ี ผู้จดั ทำไดส้ รา้ งสิง่ ประดิษฐ์จากเปลอื กหอยขน้ึ มาหนึ่งชิน้ เปน็ รปู แบบของประดบั

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานสิ่งประดิษฐ์จากเปลือกหอยเล่มนี้จัดทำขึ้น เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับหอยและวิธีการทำเปลือก
หอยตั้งโต๊ะที่ถูกวิธีและสวยงาม แปลกใหม่ไปจากเดิม ซึ่งในการจัดทำโครงงานในครั้งนี้ ได้รับคำแนะนำและ
คำปรึกษา จากครูกิตติกร ภารไสว กศน.อำเภอแหลมงอบ ที่ให้คำแนะนำในการจัดทำรูปเล่มโครงงาน ตลอดจน
พ่อ แม่ ที่ให้การสนับสนุน และเพื่อนร่วมงานทีช่ ่วยกันสรา้ งสรรค์ผลงานจนสำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี จึงขอขอบคุณมา
ณ โอกาสน้ี

นางสาวกรรณกิ าร์ เลย้ี งถนอม
นางสาวสกณุ า พนั ธรุ ัตน์

สารบญั

บทคดั ย่อ

กิตติกรรมประกาศ

บทที่ 1 บทนำ

ทม่ี าและความสำคญั
จดุ ประสงค์
ขอบเขตของการศกึ ษา
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั

บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการ

บทท่ี 4 ผลการศึกษา

บทท่ี 5 สรุปผลและอภปิ รายผล

อา้ งองิ

บทที่ 1

บทนำ

ทมี่ าและความสำคัญ

มนุษย์ใช้ประโยชน์และผกู พันกับเปลือกหอยมาตัง้ แต่ยุคโบราณ มีหลักฐานทางโบราณคดีวา่ มนุษย์ได้ใช้
เปลือกหอยมาทำเปน็ เครอ่ื งประดับตา่ ง ๆ มาตั้งแต่ยุคกอ่ นประวัตศิ าสตร์ หรือแมแ้ ต่บดทำเป็นปนู เพ่อื การก่อสร้าง
จนเกิดเปน็ ความเชื่อและปกรณัมตา่ ง ๆ เชน่ เทพปกรณมั กรกี เชื่อว่า เทพอี ะโฟรไดต์กำเนดิ มาจากเปลือกหอยหรือ
ฟองน้ำ ชาวฮนิ ดเู ช่อื วา่ หอยสังข์ในพระกรของพระวิษณุเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นสริ ิมงคล จงึ นิยมใช้ในงานพิธี
และประเพณีต่าง ๆ มาจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหอยสังข์ตัวที่เวยี นขวาที่หาได้ยาก ในนิทานพื้นบ้านของ
เกาะชวาและชาวไทยมีเรื่อง ทารกที่เกิดมาในเปลือกหอยสังข์สีทอง เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ในยุคที่ยังไม่มีเงินใน
รูปแบบของเหรียญ หรือธนบัตรใช้เช่นในปัจจุบัน เปลือกหอยบางชนิด เช่น หอยเบี้ย ก็เป็นสิ่งใช้แทนเงิน จนเกิด
ข้อสันนิษฐานว่า คำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทย ที่หมายถึง เงินตรา เพี้ยนมาจากคำว่า "รูปิยะ" หรือ "รูปี" อันเป็นสกุล
เงนิ ท่ีใช้กันในอนิ เดียตง้ั แต่ยคุ พทุ ธกาลจนถึงปจั จบุ ัน และยังใชท้ ำเปน็ เครือ่ งรางทางไสยศาสตร์อีกดว้ ย

เปลือกหอยยังใช้ทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้านเพื่อความสวยงามและเก็บสะสม บางชิ้น บางชนิด
บางลกั ษณะทห่ี ายาก เช่น เปลือกหอยเบ้ยี ท่ีมลี ักษณะของเปลือกส่วนปลายข้างหนึง่ โค้งงอเหมือนงวงช้าง เรียกว่า
"โรทสเตท" มกี ารตัง้ มูลค่าไว้สงู ถึง 25 ลา้ นบาท นบั เปน็ เปลือกหอยท่ีมีมูลคา่ สูงท่ีสุดในโลก และลักษณะที่สวยงาม
ต่าง ๆ ของเปลือกหอยยังเป็นต้นแบบหรือแรงบันดาลใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของมนุษย์อีกจำนวน
มากมาย

ด้วยสภาพพื้นที่ของอำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด ติดต่อกับทะเลอ่าวไทย มีทรัพยากรทางทะเลที่
อุดมสมบูรณ์ เปน็ แหล่งอาหารให้กับภมู ิภาค ไม่วา่ จะเป็นหมึก กุ้ง ปู ปลาและหอยนานาชนิด ซึ่งทรัพยากรเหล่านี้
ใช้หล่อเล้ียงคนตราด คนไทยตลอดจนส่งออกขายต่างประเทศ ซึ่งทรัพยากรบางอยา่ งนอกจากจะใช้บรโิ ภคได้แล้ว
ยังสามารถนำส่วนอื่น ๆ ที่เหลือมาเพิ่มมูลค่าได้ เช่น เปลือกหอย ซึ่งในพื้นที่อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราดพบ
ชิ้นส่วนเปลือกหอยตามชายหาดเป็นจำนวนมาก และเปลือกหอยท่ีเหลือทิ้งจากการบริโภค เช่น เปลือกหอยแครง
หอยนางรม เปลือกหอยขาว เปลือกหอยหนาม เปลือกหอยมะระ ผู้จัดทำจึงสนใจที่จะสร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์จาก
เปลือกหอยข้นึ เพอื่ ใชเ้ ป็นเครือ่ งประดบั ตกแต่งบ้าน และสามารถเพิ่มมลู คา่ ใหก้ บั เปลอื กหอยไดต้ ่อไป

จดุ ประสงค์

1. เพอ่ื ศกึ ษาเปลอื กหอยท่ีพบในท้องถนิ่
2. เพ่อื สร้างสรรคส์ ิ่งประดษิ ฐจ์ ากเปลอื กหอยและเพ่ิมมูลคา่

ขอบเขตของการศกึ ษา

เปลอื กหอยท่พี บในพ้นื ท่ีอำเภอแหลมงอบ จังหวดั ตราด

ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ

1. ไดศ้ กึ ษาเรียนรู้เกย่ี วกับเปลอื กหอยท่ีมใี นท้องถ่นิ
2. ไดศ้ กึ ษาเรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของเปลือกหอยแตล่ ะชนดิ
3. ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานทม่ี าจากเปลอื กหอย

บทที่ 2

เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

เปลือกหอย หรือ ฝาหอย หรือ กาบหอย คือ สสารที่เป็นของแข็งที่ห่อหุ้มลำตัวภายนอกของสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลังในไฟลัมมอลลัสคา หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า หอย มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ซึ่งหอยจะใช้
เป็นเครื่องอำพรางอันตรายจากสัตว์อื่น เป็นสัญลักษณ์สื่อสารระหว่างกัน และช่วยควบคุมอุณหภูมิภายในเมื่อมี
การเปลีย่ นแปลงของกระแสนำ้

เปลือกหอยเป็นสิ่งที่ติดตัวกับหอยมานบั ตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนและฟักออกมาจากไข่ โดยไม่ต้องลอกคราบ
เหมอื นสัตวใ์ นไฟลมั อารโ์ ธพอดหรอื ครัสเตเชียน โดยขนาดจะใหญข่ ึ้นมาตามขนาดของตัวหอย

เปลือกหอยประกอบด้วยสารจำพวกแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นสารอื่น ๆ เช่น
แคลเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมคาร์บอเนต, แมกนีเซียมฟอสเฟต, แมกนีเซียมซิลิเกต, โปรตีนประเภทคอนไคโอ
ลิน เปลือกหอยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ

ชั้นนอกสุด เรียกว่า ชั้นผิวนอก (Periostracum layer) ประกอบด้วยสารส่วนใหญ่เป็นโปรตีน
ประเภทคอนไคโอลิน เป็นชั้นที่บางและหลุดง่าย ซึ่งจะสังเกตได้จากหอยที่ตายแล้วและเปลือกที่ถูกทิ้งอยู่ตาม
ชายหาด หรือหอยที่ยงั มีชีวติ แตเ่ ปลือกถูกคลน่ื ซัดหรือทรายขัดสี เปลือกชน้ั น้ีอาจหลุดหายไปจนไม่เหลือใหเ้ ห็น

ชั้นกลาง เรียก ชั้นผนึกแคลเซียม (Prismatic layer) ประกอบด้วยผลึกรูปต่าง ๆ กันของ
สารประกอบแคลเซียมซ่งึ ส่วนใหญอ่ ยูใ่ นรูปของแคลไซต์ เปน็ ชนั้ ท่หี นาและแขง็ แรงท่สี ดุ

ชั้นในสุด เรียก ชั้นมุก (Nacreous layer) ประกอบด้วยผนึกรูปต่าง ๆ กันของสารประกอบ
แคลเซียมซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปของอะราโกไนต์ เป็นชั้นที่เรียบมคี วามหนาบางแตกต่างกันไปตามแต่ชนิดของหอย
ทำให้เปลอื กมสี ขี าวขุ่นและเป็นมันแวววาวแตกต่างกนั

เปลือกหอยมีรูปร่างของเปลือกไม่เหมือนกัน แตกต่างออกไปตามแต่ละชั้น, อันดับ, วงศ์, สกุล และชนิด
เช่น หอยแปดเกล็ด หรือ ล่นิ ทะเล มเี ปลอื กขนาดเล็กจำนวน 8 แผน่ เรยี งซอ้ นเหลอื่ มกันคล้ายกระเบอ้ื งมุงหลังคา
จากหวั ถึงทา้ ยตวั ส่วนหอยฝาชโี บราณมีเปลือกรูปคลา้ ยฝาชี สว่ นทีเ่ ป็นยอดแหลมเยือ้ งไปทางด้านหน้า

สีของเปลอื กหอยไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากส่งิ แวดล้อมและอาหารที่หอยกินเข้าไป สีบนเปลือกหอยเกิดจากเม็ด
สี ซง่ึ เม็ดสนี นั้ ได้จากอาหารที่หอยกนิ เขา้ ไป เมด็ สแี ตล่ ะชนดิ ตา่ งก็ให้สีสันแตกตา่ งกันไป เชน่ เม็ดสีคาโรทนี อยด์ ให้
สีเหลืองถึงส้ม, เมลานินให้สีน้ำตาลถึงดำ, อินดิกอยด์ให้สีน้ำเงินและแดง, พอร์ไฟรินให้สีแดง สีม่วงในเปลือกหอย
มว่ ง เกิดจากการท่กี ินแมงกะพรุนเรือใบที่มีสนี ำ้ เงินม่วงเป็นอาหาร

ลายบนเปลือกจะถูกสรา้ งขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับการสร้างเปลอื ก โดยที่เม็ดสจี ะเคลื่อนตัวไปตามเนือ้ เย่อื
สร้างเปลือกตลอดเวลา ถ้าเม็ดสีแสดงผลจะทำให้เปลือกมีสีสันไปตามเม็ดสีนั้น แต่ถ้าเม็ดสีมีการแสดงผลเป็น
ชว่ ง ๆ ผลท่ีไดจ้ ะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั การทำงานของเครื่องพมิ พภ์ าพ กอ่ ให้เกิดสีสันและลวดลายตา่ ง ๆ

หอยเปลือกเด่ียว

มีเปลอื กติดตอ่ เป็นช้ินเดยี วกัน ส่วนมากเปลอื กจะมีลักษณะเวยี นเป็นเกลียวรอบแกนกลางท่ีเรียกว่า แกน
เปลือก หอยเริ่มสร้างเปลือกจากจุดยอดก่อน เปลือกที่เวียนไปครบ 1 รอบ เรียกว่า 1 วงเกลียว วงเกลียวแรกมี
ขนาดเล็กที่สุด วงเกลียวต่อ ๆ มามีขนาดใหญ่ขึ้นตามลำดับเนื่องจากตัวหอยมีขนาดโตขึ้น วงเกลียวสุดท้าย หรือ
วงเกลียวตัว มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีช่องเปลือก อันเป็นบริเวณที่หอยยื่นหัวและตีนออกมาและเป็นทางให้น้ำและ
อากาศผ่านเข้าออกด้วย ระหว่างวงเกลียวมีรอยต่อเห็นเป็นร่อง เรียก รอยต่อวงเกลียว ส่วนใหญ่วงเกลียวของ
เปลือกหอยมักเวียนไปทางขวาในทิศทางเดียวกับการหมุนของเข็มนาฬิกา เรียกว่า เวียนขวา มีน้อยตัวที่เวียนไป
ทางซา้ ย เรียกว่า เวียนซา้ ย

การดูลกั ษณะของเปลือกหอยว่ามีวงเกลียวเวยี นขวาหรือเวยี นซ้าย มีหลกั ในการดูโดยวิธีหงายให้เห็นช่อง
เปลือกและหันจุดยอดของเปลือกหอยชี้ออกนอกตัวผู้ถือ หากช่องเปลือกอยู่ทางด้านขวามือผู้ถือ เปลือกหอยนั้น
เวียนขวา ถ้าอยูท่ างด้านซ้ายมอื เปลือกหอยน้นั เวียนซา้ ย

ผิวด้านนอกของเปลือกหอยอาจเรียบเป็นมันหรือเป็นลายมิติ เช่น มีหนาม, ตุ่มสันแหลม, ร่อง หรือสัน
ป้าน ซง่ึ อาจอยใู่ นแนวแกน หรือในแนวเวียนก้นหอย ชอ่ งเปลือกอาจมีรูปกลม รหี รือแคบยาวตามแตช่ นิดของหอย
มีขอบด้านนอกช่องเปลือก และขอบด้านในช่องเปลือก ซึ่งเชื่อมต่อกับแกนเปลือก หอยส่วนมากมีฝาปิด ลักษณะ
เป็นแผ่น สำหรับปิดช่องเปลอื ก ฝาปิดนี้นอกจากจะช่วยปอ้ งกันอันตรายจากศตั รูหรอื สิ่งสกปรกจากภายนอกแลว้
ยังช่วยป้องกันไม่ให้ความชื้นระเหยออกจากตัวมากเกินไป ในหอยบางชนิดมีช่องแกนเปลือก ซึ่งอยู่ระหว่างวง
เกลียวสุดท้ายกับขอบด้านในของช่องเปลือกจากจุดยอดของเปลือกลงมาถึงวงเกลียวทุกวงเกลียวเว้นวงเกลียว
สดุ ท้าย เรยี กว่า ก้นหอย ช่วงนม้ี ีความยาวแตกต่างกันแลว้ แต่ชนิดของหอย

การวัดขนาดของเปลือกหอยเปลือกเดี่ยวนิยมวัดจากจุดยอดมาถึงปลายสุดของวงเกลียวสุดท้าย ถือเป็น
ความยาวของเปลือกช่วงกว้างที่สุดของวงเกลียวถือเป็นความกว้างของเปลือก โดยใช้หน่วยเป็นมิลลิเมตร หอย
เปลือกเดี่ยวโดยทั่วไปอาจมีขนาดยาวตั้งแต่ 2-3 มิลลิเมตร ไปจนถึง 500 มิลลิเมตร กว้างตั้งแต่ 2 มิลลิเมตรไป
จนถึง 300 มลิ ลิเมตร ในหอยสังข์ยักษอ์ อสเตรเลีย ซ่ึงถือเป็นหอยเปลอื กเด่ยี วทมี่ ขี นาดใหญท่ ่สี ดุ ในโลกดว้ ย

หอยเปลอื กคู่

มีเปลือกเป็นกาบ 2 กาบประกบเข้ากันและเปิดปิดได้คล้ายบานพับ เปลือกทั้ง 2 ข้าง อาจมีรูปร่าง
เหมือนกนั หรือคลา้ ยคลงึ กัน เปลือกอาจมีรปู กลม, ร,ี สามเหล่ยี ม หรือรูปอืน่ ๆ ก็ได้

หอยจะสร้างเปลือกบริเวณขั้วเปลือก ขึ้นก่อนแล้วสร้างเปลือกเป็นวงขยายใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ เปลือกทั้ง 2
ข้างยึดติดกันดว้ ยเอ็นยึด ซึ่งเป็นสารจำพวกโปรตนี บริเวณที่ยึดติดกนั เรียก บานพับ ส่วนใหญ่บริเวณน้ีมักมแี ง่สบ
เปลอื ก ซงึ่ มจี ำนวนและขนาดแตกต่างกันไปแล้วแตว่ งศ์ของหอย เชน่ หอยแครงมีแง่สบเปลือกขนาดเล็กไล่เล่ียกัน
เรียงเป็นแถว, หอยกระปุกมีแง่สบเปลือกแง่กลาง สั้นกว่าแง่สบเปลือกแง่ข้าง, หอยปิดและเปิดเปลือกโดยอาศัย
กล้ามเนื้อยึดเปลือก ซึ่งอาจมีกล้ามเนื้อมัดเดียว เช่น หอยพัด หรือ หอยเชลล์ หรือมีกล้ามเนื้อ 2 มัด เช่น
หอยแครง, หอยลาย รอยกล้ามเนื้อยึดเปลือก เหล่านี้ได้เห็นได้ทางด้านในของเปลือกเมื่อกล้ามเนื้อหลุดไปแล้ว
นอกจากนี้ ยังเห็นรอยอนั เกดิ จากแนวของแผ่นเนื้อที่ยึดติดกับเปลอื กอันเป็นแนวเกือบขนานกบั ขอบเปลือก เรียก
รอยแนวแผ่นเนื้อ ผิวด้านนอกของเปลือกหอยกาบคู่บางพวกเรียบเป็นมัน บางพวกมีหนาม, สัน และร่อง ซึ่งมี
ลักษณะเป็นแนวรัศมีหรือแนวขนานกับขอบเปลือก บริเวณด้านข้างขั้วเปลือกของหอยบางพวก เช่น หอยพัด มี
แผ่นลกั ษณะเป็นปกี แผ่ออกไป

เมื่อดูหอยเปลือกคู่ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ด้านที่เป็นช่องปากถือเป็นด้านหน้า ส่วนด้านที่มีทางน้ำเข้า -ออก
และรูก้นถือเป็นด้านท้าย หากดูเปลือกหอยทางด้านในเพียงอย่างเดียว ด้านที่มีบานพับและขั้วเปลือกถือเป็น
ด้านบน ส่วนด้านท่ีอยู่ตรงข้ามซึง่ เป็นขอบเปลอื กถือเป็นด้านล่าง สำหรับการดูด้านหน้ากับด้านทา้ ยให้สังเกตรอย
เวา้ แนวแผ่นเน้ือ หากอยดู่ า้ นไหนให้ถอื ว่าเป็นด้านท้าย ส่วนด้านตรงข้ามถอื เป็นด้านหนา้ นอกจากน้ี ยงั อาจสังเกต
ได้จากจะงอยเปลือก ถา้ ชีไ้ ปทางด้านไหนใหถ้ ือว่าเป็นด้านหน้า ทั้งน้ี ยกเวน้ หอยบางชนิด เช่น หอยเสยี บ ที่จะงอย
เปลอื กชก้ี ลับตรงกนั ขา้ ม เป็นตน้

ส่วนการดูเปลือกหอยว่าเป็นกาบซ้ายหรือกาบขวานั้นให้ถือเปลือกหอยโดยเอาขั้วเปลือกไว้ด้านบน หัน
ปลายด้านชี้ออกนอกตัวผู้ถือ เปลือกที่อยู่ทางขวามือเป็นกาบขวา เปลือกที่อยู่ทางซ้ายมือเป็นกาบซ้าย การวัด
ความยาวของเปลือกให้วัดระหว่างปลายดา้ นหน้าถึงด้านทา้ ยสุด ส่วนความสูงน้ันวัดจากด้านบนสุดของขั้วเปลือก
ถึงขอบเปลือกด้านลา่ งสุด

ระยะระหว่างความโคง้ ของผิวนอกสุดของเปลือกทัง้ 2 กาบ คอื ความหนา หอยกาบคู่ทโี่ ตเต็มท่โี ดยทว่ั ไป
มขี นาดความยาวของเปลอื กไม่เกิน 10 เซนติเมตร ยกเวน้ บางชนิดที่มขี นาดใหญม่ าก เช่น หอยมือเสือ อาจวดั
ความยาวได้มากกวา่ 1 เมตร ซ่ึงถือเป็นหอยเปลือกคทู่ ม่ี ีขนาดใหญ่ท่ีสดุ ในโลกด้วย

หอยงาชา้ ง

หอยงาช้าง มีลักษณะระหว่างหอยเปลอื กเด่ียวและหอยเปลือกคู่ คือมีเปลือกเป็นช้นิ เดียวกนั รูปรา่ งเปน็
แทง่ กลม โคนใหญ่ ปลายเรียวเลก็ งอนคลา้ ยงาช้าง ภายในกลวงมชี อ่ งเปิดท้งั 2 ด้าน มีแผน่ ขดู ในชอ่ งปากเหมือน
หอยเปลือกเดียว แตม่ ีหวั และตีนยื่นออกมาจากสว่ นโคนซึง่ ลกั ษณะหวั , เท้า และลำตวั เหมอื นหอยเปลือกคู่

หอยงวงชา้ ง

เปลือกของหอยงวงช้าง มีลักษณะแตกต่างไปจากหอยท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น โดยมีลักษณะเปลอื กต่อเป็น
ชิ้นเดยี วกัน ม้วนเปน็ วงในแนวราบ หรอื เรียกว่า เวียนกอ้ นหอยแนวราบ เปลือกท่สี รา้ งขน้ึ ก่อนหรอื วงแรก ๆ จะถูก
คลมุ ไวด้ ว้ ยเปลอื กท่ีสร้างขนึ้ ภายหลงั ภายในเปลือกมีผนงั กน้ั ตามขวาง แบง่ ช่องว่างภายในเปลือกออกเปน็ ห้อง แต่
ละห้องเชื่อมต่อถงึ กันด้วยท่อ ห้องภายในช่องเปลือกเหล่านีเ้ คยเปน็ ท่ีอยู่ของตัวหอยต้ังแต่หอยมีขนาดเล็ก เมื่อตัว
โตข้ึนหอยกจ็ ะสรา้ งเปลอื กใหม้ ีขนาดใหญ่ข้ึน และตวั หอยจะย้ายออกมาอยู่ในห้องนอกสุด เปลือกหอยงวงช้างหนา
และแข็งแรง เปลือกด้านนอกมีลายเป็นเสน้ สีนำ้ ตาลบนพื้นขาว ดา้ นในเป็นสมี ุก เมือ่ วัดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางจากขอบ
เปลอื กที่กว้างทส่ี ุดบางตัวอาจยาวถงึ 30 เซนติเมตร จัดเปน็ หอยท่มี ขี นาดใหญ่จำพวกหน่ึง

มนุษย์ใช้ประโยชน์และผูกพันกับเปลือกหอยมาตัง้ แต่ยคุ โบราณ มีหลักฐานทางโบราณคดีวา่ มนุษย์ได้ใช้
เปลอื กหอยมาทำเปน็ เครือ่ งประดับตา่ ง ๆ มาต้งั แตย่ ุคก่อนประวัตศิ าสตร์ หรือแมแ้ ตบ่ ดทำเปน็ ปนู เพื่อการก่อสร้าง
จนเกิดเปน็ ความเชือ่ และปกรณัมตา่ ง ๆ เช่น เทพปกรณัมกรีกเช่ือวา่ เทพอี ะโฟรไดต์กำเนิดมาจากเปลือกหอยหรือ
ฟองน้ำ ชาวฮินดูเชือ่ ว่า หอยสังข์ในพระกรของพระวิษณุเปน็ สัญลักษณ์ของความเป็นสริ ิมงคล จึงนิยมใช้ในงานพิธี
และประเพณีต่าง ๆ มาจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหอยสังข์ตัวที่เวยี นขวาที่หาได้ยาก ในนิทานพื้นบ้านของ
เกาะชวาและชาวไทยมีเรื่อง ทารกที่เกิดมาในเปลือกหอยสังข์สีทอง เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ในยุคที่ยังไม่มีเงินใน
รูปแบบของเหรียญ หรือธนบัตรใช้เช่นในปัจจุบัน เปลือกหอยบางชนิด เช่น หอยเบี้ย ก็เป็นสิ่งใช้แทนเงิน จนเกิด
ข้อสันนิษฐานว่า คำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทย ที่หมายถึง เงินตรา เพี้ยนมาจากคำวา่ "รูปิยะ" หรือ "รูปี" อันเป็นสกุล
เงนิ ทใี่ ช้กนั ในอนิ เดยี ตงั้ แตย่ คุ พทุ ธกาลจนถงึ ปจั จบุ นั และยงั ใชท้ ำเป็นเคร่ืองรางทางไสยศาสตรอ์ ีกด้วย

เปลือกหอยยังใช้ทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้านเพื่อความสวยงามและเก็บสะสม บางชิ้น บางชนิด
บางลกั ษณะท่หี ายาก เช่น เปลือกหอยเบยี้ ที่มีลักษณะของเปลือกส่วนปลายข้างหนึ่งโค้งงอเหมือนงวงช้าง เรียกว่า
"โรทสเตท" มีการตั้งมลู คา่ ไว้สงู ถงึ 25 ลา้ นบาท นับเปน็ เปลอื กหอยท่ีมีมลู ค่าสูงที่สุดในโลก และลักษณะที่สวยงาม
ต่าง ๆ ของเปลือกหอยยังเป็นต้นแบบหรือแรงบันดาลใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของมนุษย์อีกจำนวน
มากมาย

หลักการทำงานประดิษฐ์

ในการทำงานประดษิ ฐเ์ พ่อื ให้ได้ผลงานตามจดุ หมายท่กี ำหนดไว้ ควรยดึ หลกั ในการทำงานประดษิ ฐ์ดงั ต่อไปนี้
1. ศึกษารายละเอียดของงานที่จะนำมาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ

ของงานและเลือกทำสิ่งประดิษฐ์ให้เหมาะสมความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นสิ่งที่สามารถนำไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได้

2. วางแผนการทำงาน กำหนดขั้นตอนการทำงานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย
และออกแบบรายละเอยี ดวิธีการประดษิ ฐไ์ ว้ให้ครบถว้ น เพ่อื ความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน

3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทำงานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วนและใช้ให้เหมาะสมกับการท่ี
ออกแบบไว้ โดยทั่วไปการเลอื กวัสดุมาใช้ในงานประดิษฐ์ นยิ มเลือกใช้วัสดทุ มี่ ีอยูใ่ นท้องถ่ิน หรือวัสดุท่ีมีอยู่ภายใน
บ้านซ่ึงหางา่ ย มรี าคาถูก

4. ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ขณะที่ทำการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรท้อถอย ควร
ปรึกษาครูหรอื ผู้ทีม่ คี วามสามารถ และควรพยายามต้งั ใจปฏิบตั ิงานต่อไปจนกว่างานจะสำเรจ็

บทท่ี 3

วธิ ีดำเนนิ การ

อปุ กรณ์

1. เปลอื กหอยขาว
2. เปลือกหอยหนาม
3. เปลือกหอยมะระ
4. เปลอื กหอยแครง
5. กากเพชรสเี คลือบ
6. นกพลาสตกิ และอุปกรณต์ กแตง่ ต่าง ๆ
7. ปนื กาว
8. แทง่ กาว

ข้ันตอนในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน

1. นำเปลือกหอยมาลา้ งทำความสะอาด คดั เลือกเปลือกหอยท่ีสมบรู ณ์
2. นำเปลอื กหอยแครงมาหน่ึงอนั เพื่อมาเป็นฐานดอกแล้วนำเปลอื กหอยขาวและใช่ปนื กาวยิงกาวตดิ กบั
เปลือกหอยแครงให้เปน็ รูปดอกมะลชิ ้นั แรกควำ่ เปลือกหอยลงประมาณ 6 - 7 ช้ิน

3. เสรจ็ แลว้ ข้นึ กลบี ชนั้ ท่ีสอง จับเปลือกหอยตัง้ ข้นึ สลบั ไปตามละหว่างกลางของช่อง 5 - 6 ชิน้ แล้วทำ
แบบเดิมจนครบเปน็ รูปดอกมะลิ ทำแบบนี้จนครบทงั้ หมด 6 ดอก

4. เตรียมเปลือกหอยหนามจับตงั้ ขึน้ แนวตรงและแนวนอนเพื่อเปน็ ฐานแล้วนำดอกมะลิทเี่ ราทำเสรจ็ แลว้
มาติดกับเปลือกหอยหนามโดยใชป้ นื กาวยงิ ตกแตง่ ให้เป็นช่อดอกไมแ้ บบตั้งโต๊ะ

5. ลงสเี คลือบกากเพชรเลือกสีเคลือบกากเพชรท่ีเราตอ้ งการ
6. นำนกมาตกแตง่ บนส่งิ ประดิษฐท์ ่เี ราทำเสรจ็ แลว้ เพื่อความสวยงามย่งิ ข้นึ

บทที่ 4

ผลการศกึ ษา

สิ่งประดิษฐ์จากเปลือกหอย ชิ้นนี้เกิดจากการที่ผู้จัดทำ สนใจที่จะศึกษาทรัพยกรที่มีในท้องถิ่น นั่นคือ
เปลือกหอย ซึ่งในพื้นที่อำเภอแหลมงอบมีเปลือกหอยมากมายหลายชนิด เช่น หอยขาว หอยหนาม หอยมะระ
หอยแครง เป็นต้น แทนที่จะปล่อยให้เปลือกหอยเหล่านี้ย่อยสลายไปตามธรรมชาติ ผู้จัดทำจึงสนใจที่จะสร้าง
สง่ิ ประดษิ ฐข์ นึ้ มาจากเปลือกหอย เพื่อสร้างมูลคา่ ใชเ้ ป็นของประดบั ตกแต่งบ้าน โตะ๊ ทำงาน ซ่ึงจากการศกึ ษาคร้ัง
นี้ ผจู้ ดั ทำได้สร้างส่งิ ประดิษฐจ์ ากเปลอื กหอยข้ึนมาหนึง่ ชนิ้ เป็นรูปแบบของประดับ ดังภาพ

บทที่ 5

สรปุ ผลและอภปิ รายผล

สรปุ ผล

โครงงานสิ่งประดิษฐ์จากเปลือกหอย จัดทำขึ้นเพื่อ 1. เพื่อศึกษาเปลือกหอยที่พบในท้องถิ่น ซึ่งพบว่าใน
พื้นที่อำเภอแหลมงอบมีเปลือกหอยมากมายหลายชนิด เช่น หอยขาว หอยหนาม หอยมะระ หอยแครง เป็นต้น
2. เพอื่ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ประดิษฐจ์ ากเปลือกหอยและเพ่ิมมูลค่า แทนที่จะปลอ่ ยให้เปลือกหอยเหล่าน้ีย่อยสลายไปตาม
ธรรมชาติ ผู้จัดทำจึงสร้างสิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาจากเปลือกหอย เพื่อสร้างมูลค่า ใช้เป็นของประดับ ตกแต่งบ้าน โต๊ะ
ทำงาน

อภปิ รายผล

จากสรปุ ผลการจัดทำโครงงาน สารมารถนำประเดน็ มาอภิปรายผลได้ดังนี้
1. ผู้จดั ทำได้ศึกษาเกีย่ วกบั ทรัพยากรทางทะเลทมี่ ีอยใู่ นท้องถ่นิ ไดร้ บั ความรเู้ กีย่ วกับหอยชนิดต่าง ๆ เชน่
หอยเปลือกเด่ียว หอยเปลือกคู่ หอยงาชา้ ง หอยงวงชา้ เปน็ ต้น และพบว่าในพืน้ ท่ีอำเภอแหลมงอบมเี ปลอื กหอย
มากมายหลายชนิด เช่น หอยขาว หอยหนาม หอยมะระ หอยแครง เป็นต้น
2. ผ้จู ดั ทำได้สรา้ งสรรคส์ ่ิงประดิษฐจ์ ากเปลือกหอยแทนที่จะปล่อยให้เปลือกหอยเหล่านี้ย่อยสลายไปตาม
ธรรมชาติ เพอื่ สรา้ งมูลค่า ใชเ้ ป็นของประดับ ตกแตง่ บ้าน โต๊ะทำงาน ทำให้ผู้จัดทำเหน็ ช่องทางในการสรา้ งอาชีพ
สรา้ งรายไดใ้ หเ้ กดิ ขึน้
การทำโครงงานสรา้ งสรรคส์ ่ิงประดิษฐ์จากเปลือกหอยในครง้ั น้ี ทำให้สมาชิกในกลุ่ม ช่วยกนั สืบค้นหา
ขอ้ มลู ลงมือปฏบิ ัติ จัดทำรูปเลม่ โครงงานซง่ึ เป็นการศึกษาวธิ ีการทำ และปฏิบตั ไิ ด้ดว้ ยตนเอง ทำใหส้ มาชกิ ในกลมุ่
เกิดการเรียนรู้ เกิดความสามัคคกี นั มากยง่ิ ขึน้

ขอ้ เสนอแนะ

ทรพั ยากรในพน้ื ท่ีของเรายังมีอยู่อีกมากมายท่รี อให้เราไดส้ ร้างสรรค์ ให้เราเพ่ิมมลู คา่ ทั้งน้ใี นการ
สรา้ งสรรคห์ รอื การเพม่ิ มลู คา่ ของทรัพยากรทเี่ รามีอยู่นนั้ จะตอ้ งไม่ละเมิดกฎหมาย หรือเป็นการบ่อนทำลาย
ทรพั ยากรอนั มีค่าของท้องถน่ิ เรา แต่ควรจะเป็นการการอนุรกั ษ์ให้คงอยู่ตลอดไป

สำหรับการศกึ ษาค้นควา้ ครง้ั ตอ่ ไป ควรมกี ารศึกษาค้นคว้าที่หลายหลาย มีการประยุกตใ์ ช้กับส่ิงตา่ ง ๆ ให้
น่าสนใจมากย่ิงข้นึ และควรมีการศกึ ษาคน้ ควา้ เพื่อการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ

อา้ งอิง

วิกีพเี ดียสารานุกรมเสร.ี 29 กรกฎาคม 2561. เปลือกหอย. สบื ค้น 5 กรกฎาคม 2564. จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B
8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2

Plookpedia. 14 มนี าคม 2564. หอยในประเทศไทย. สบื คน้ 5 กรกฎาคม 2564. จาก
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/59876

ครพู ฒุ ิพงษ์ จันดาโชต. ม.ป.ป. หลกั การทำงานประดษิ ฐ์. สืบคน้ 5 กรกฎาคม 2564. จาก
https://sites.google.com/a/ses26.go.th/krupuhworkm2/3-4-hlak-kar-thangan-pradisth

นายวิสฐิ ห้วยกรด และคณะ. ม.ป.ป. โครงการสิ่งประดิษฐ์ที่ทำจากไม้ไอติม. สบื คน้ 5 กรกฎาคม 2564. จาก
https://sites.google.com/site/singpradisththithadwymixitim/home/enea-na-taw

Soraya S. 18 กันยายน 2562. วธิ ีการเขยี นบรรณานุกรม รูปแบบ APA 6 ในงานวิชาการ. สบื ค้น 5 กรกฎาคม
2564. จาก
https://www.nupress.grad.nu.ac.th/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%
A2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B
8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1/