โครงการ เครื่องกรองน้ำธรรมชาติ

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย

Uploaded by

สปาย D.C เกมเมอร์

75%(4)75% found this document useful (4 votes)

7K views42 pages

Document Information

click to expand document information

Original Title

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2)

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

    Email

Did you find this document useful?

75%75% found this document useful, Mark this document as useful

25%25% found this document not useful, Mark this document as not useful

Is this content inappropriate?

Download now

SaveSave โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2) For Later

75%(4)75% found this document useful (4 votes)

7K views42 pages

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย

Original Title:

โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2)

Uploaded by

สปาย D.C เกมเมอร์

SaveSave โครงงานเครื่องกรองน้ำอย่างง่าย (2) For Later

75%75% found this document useful, Mark this document as useful

25%25% found this document not useful, Mark this document as not useful

Embed

Share

Print

Download now

Jump to Page

You are on page 1of 42

Search inside document

You're Reading a Free Preview
Pages 8 to 14 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 18 to 27 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 31 to 39 are not shown in this preview.

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

โครงการ เครื่องกรองน้ำธรรมชาติ

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

“...บึงมักกะสันนี้ ทำโครงการที่เรียกว่าแบบคนจน โดยใช้หลักว่าผักตบชวาที่มีอยู่ทั่วไปนั้น เป็นพืชดูดความโสโครกออกมาแล้วก็ทำให้น้ำสะอาดขึ้นได้ เป็นเครื่องกรองธรรมชาติใช้พลังงานแสงอาทิตย์และธรรมชาติของการเติบโตของพืช...” และเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2533 ได้พระราชทานพระราชดำริว่า “...การสร้างทางด่วนใหม่ทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดด จึงใช้วิธีธรรมชาติในการบำบัดน้ำเสียโดยผักตบชวาไม่ได้ในปัจจุบันซึ่งควรใช้เครื่องพ่นอากาศเข้าช่วย...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภัยแห่งภาวะมลพิษจึงได้พระราชทานพระราชดำริ โดยใช้วิธีการในรูปแบบของ "เครื่องกรองน้ำธรรมชาติ" กล่าวคือ ให้มีการทดลองใช้ผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืชที่ต้องการกำจัดอยู่แล้วนี้ มาทำหน้าที่ดูดซับความโสโครก รวมทั้งสารพิษจากน้ำเน่าเสีย โดยทรงเน้นให้ทำ การปรับปรุง อย่างประหยัด และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมบึง แนวพระราชดำรินั้นทรงให้ทำโครงการง่ายๆ โดยให้สูบน้ำจากคลองสามเสนเข้าบึงทางหนึ่ง และให้สูบน้ำออกจากคลองสามเสนอีกทางหนึ่ง ระยะห่างกันประมาณ 100-200 เมตร หรือฝังท่อระบายน้ำออกทางระบายน้ำอโศก-ดินแดง โดยให้มีผักตบชวาอยู่ในบึง และทำการตกแต่งให้ดีไว้บริเวณกลางบึงเพื่อกรองน้ำเสีย แต่ถ้าจำเป็นจะต้องเก็บผักตบชวาขึ้นบ้างเป็นครั้งคราวนั้น ก็ให้นำไปใช้ประโยชน์ เช่น ทำปุ๋ยหมัก หรือเชื้อเพลิง แต่อย่านำไปทำอาหารสัตว์เพราะมีธาตุโลหะหนัก โดยพระองค์ได้พระราชทานพระราชาธิบายว่า “...แนะนำว่าผักตบชวานี้ใช้ได้หลายทาง ใช้มาหมักเป็นปุ๋ยได้ข้อหนึ่ง ถ้าจะทำเป็นก๊าซชีวมวลก็ได้ข้อหนึ่ง ถ้าจะนำมาใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์ก็ได้ เพราะว่าค่าโปรตีนในผักตบชวามีสูงพอสมควร จะใช้มาทำประกอบกับแกลบมาอัดเป็นฟืนหรือที่เรียกว่าถ่านแทน ถ่านที่เขาใช้เผากันทำให้ป่าไม้เสียหาย ซึ่งก็ได้ทดลองแล้วได้ผลดี...”

โดยระบบบำบัดน้ำเสีย "บึงมักกะสัน" เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบธรรมชาติที่เรียกว่า ระบบ Oxidation Pond หรือ "ระบบสายลมและแสงแดด" ซึ่งมีลักษณะเป็นบ่อดิน ลึก 0.5-2 เมตร และแสงสว่างสามารถส่องลงไปในน้ำภายในบ่อได้ มีการปลูกผักตบชวาในบ่อเพื่อดูดซับสารอาหารและโลหะหนักจากน้ำในบ่อ เป็นการทำงานร่วมกันของพืชน้ำ ซึ่งได้แก่ สาหร่าย หรือ อัลจี กับแบคทีเรีย โดยในเวลากลางวัน อัลจีซึ่งเป็นพืชน้ำสีเขียวก็จะทำการสังเคราะห์แสงโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำและแสงแดด
อัลจีจะนำคาร์โบไฮเดรตไปใช้สร้างเซลล์ใหม่ ส่วนออกซิเจนที่เป็นผลพลอยได้นั้นก็จะถูกแบคทีเรียนำไปใช้ในการย่อยสลายน้ำเสีย ซึ่งผลของปฏิกิริยานี้จะได้ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในการดำรงชีพของอัลจี ดังนั้นอัลจีและแบคทีเรียจึงสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันได้ โดยต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกันและกัน การดำรงชีวิตในลักษณะนี้เรียกว่า SYMBIOSIS เนื่องจาก อัตราการเติมออกซิเจนค่อนข้างต่ำ ดังนั้น การเจริญเติบโตของแบคทีเรียจึงถูกกำจัดด้วยปริมาณออกซิเจน เมื่อเป็นเช่นนี้อัตราเร็วของปฏิกิริยาของการทำลาย BOD จึงค่อนข้างช้า ระบบ OXIDATION POND จึงต้องใช้บ่อที่มีขนาดใหญ่กินเนื้อที่มาก เนื่องจากประสิทธิภาพของระบบบึงมักกะสันขึ้นอยู่กับปริมาณของออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แล้ว ดังนั้นในบึงจะต้องไม่ปลูกผักตบชวามากเกินไปเพราะจะบดบังแสงแดด
สำหรับผักตบชวานั้นก็จะทำหน้าที่ดูดซึมอาหารต่างๆ และโลหะหนักในน้ำ ซึ่งจากการศึกษาของกลุ่มวิชาการ พบว่าผักตบชวามีการเจริญเติบโตสูงสุดในเวลาภายหลังการปลูก 16-17 สัปดาห์ จึงต้องดูแลระบบนี้โดยการเอาผักตบชวาออกทุก 10 สัปดาห์