การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ppt

วิดีโอ YouTube

      1. มาตราฐานการจัดการอาชีวอนามัย     

วิดีโอ YouTube

                                                             2.ขั้นตอนการจัดการอาชีวอนามัย

วิดีโอ YouTube

3.ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

      1. ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของอาชีวะอนามัย

       1.1ความหมายของอาชีวอนามัยและความปลอกภัย

อาชีวะอานามัย ( Occupational health ) เป็นการรวม2 คำด้วยกันคือ อาชีวะ ( Occupation ) หมายถึงการเสี่ยงชีวิต การทำมาหากิน อนามัย ( Health ) หมายถึงความไม่มีดรค ความสบายกาย อาชีวะอนามัย หมายถึงการดูแลสุขภาพของผู้ที่ทำงานให้มีความปลอดปลอดภัยจากสภาพแว้ดล้อมของการทำงาน ความปลอดภัย (safety) ความหมายการไม่มีอันตราย ไม่มีความเสี่ยงใดๆ อาชีวะและความปลอดภัย ( Occupational health and safety ) หมายถึง การดูแลสุขภาพของผู้ที่ทำงานให้มีความปลอกภัยจากสภาพแวดล้อมในการทำงานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ

        1.2ความสำคัญของอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย

 ในการจัดการองกรค์คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าและสำคัญมากที่สุุด ในกระบวนการปฎิบัติงานอาจเกิดอันตรายจากการปฎิบัติงานก่อให้การสูญเสียเวลา ค่าใช้จ่ายและขวัญกำลังใจของผู้ปฎิบัติงาน ทำให้ผลผลิตลดลง กระทบกับการทำงานทั้งทางตรงและทางอ้อมจึงมีีการจัดตั้งสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการ ทำงาน (ประเทศไทย) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ 2530 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ถึงความสำคัญ ของอาชีวะอนามัย และความปลอดภัย

          1.3 ความเป็นมาของอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย

    ต้นศตวรรษที่ 18 ก่อนการมีการปฎิบัติการอุตสาหกรรมการรประกอบอาชียพของ ปชก. ส่วนใหญ่เช่นอาชีพทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม การก่อสร้าง การบริการ และด้านอื่นๆ ต่อใมาหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรมได้มีการนำเครื่องจักกลมาใช้ในการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่เทคโนโลยีทางการผลิตก้าวหน้าขึ้น ผู้ปฎิบัติงานจะได้รับอันตรายเพิ่มขึ้นตามไปด้วย เน่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น การใช้เครืองใช้เครื่องมือไม่ถูกวิธี การเกิดอุบัตเหตุ

   2. ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

  งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีความสำคัญและจำเป็นต่อสถานประกอบการที่ ต้องดูแล สุขภาพอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อดูแลและป้องกันอันตรายต่างๆ ที่จะเกิด

            2.1 การส่งเสริม ( Promotion )

    คือการส่งเสริมและการดูแลรักษาให้สุขภาพของผู้ปฎิบัติงานทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นทางร่างกายหรือจิตใจมีความสมบูรณ์แข็งแรงมีความเป็นอยู่ที่ดีทางสังคมของการทำงาน

           2.2 การป้องกัน ( Prevention )

คือสถานประกอบการต้องจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีความเหมาะสมและปลอดภัยเพื่อที่จะป้องกันมิให้มีผู้ปฎิบัติ

           2.3 การปกป้องคุ้มครอง ( Prevention )

คือการปกป้องคุมครองผู้ปำิบัติงานในสถานประกอบการไม่ให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุในระหว่างการทำงาน

          2.4 การจัดการทำงาน ( Placing )

คือการจัดสภาพแวดล้อมในกระบวนการทำงานให้มีความเหมาะสมและพอดีกับขนาดพอดกับขนาดร่างการของคนทำงาน เช่นโต๊ะเก้าอี้

          2.5 การปรับปรุ่งคนและงานให้เหมาะสมกัน ( Adaptation )

คือ การปรับปรุ่ง

   3. บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

         3.1 บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

 บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่มีประสิทภาพที่จะช่วยให้ผู้ปฎิบัติงาน

3.1.1ด้านด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม หรืออาชีวสุขศาสตร์

3.1.2ด้านความปลอดภัย

3.1.3ด้านอาชีวนิรภัย

3.1.4ด้านการยศาสตร์

3.1.5ด้านอาชวเวชศาสตร์

3.1.6 ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู

      3.2หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกันประกอบด้วย

3.2.1กระทรวงอุตสหกรรม

3.2.2กระทรวงแรงงาน

3.2.3กระทรวงสาธารณสุข

3.2.4กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

3.2.5กระทรวงมหาดไทย

3.2.6สำนักงานนายกรัฐมนตรี

  4. ผลกระทบและความสูญรเสียที่เกิดปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

การปฎิบัติงานในโรงงานอุตสหกรรมหรือสถานประกอบการ มีความเสี่ยงต่แชอการเกิดอุบัติเหตุและอันตราย

   4.1 ผลกระทบที่เกิดปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดดภัย 

4.1.1 การขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์

4.1.2 การเกิดโรคหรือการเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน

4.1.3 การใช้เครื่องมือเครื่องจักรที่ไม่ได้มาตรฐานหรือชำรุด

4.1.4 มีการใช้แรงงานสตรีและเด็กไม่ถูกประเภท

   4.2 ความสูญเสียที่เกิดจากปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

4.2.1 ความสูญเสียด้านร่างกาย

4.2.2 ความสูญเสียด้านจิตใจ

4.2.3 ความสูญเสียด้านเวลา

4.2.4 ความสูญเสียด้านค่าใช้จ่าย

4.2.5ความสูญเสียด้านน่าเชื่อถือ

  5.แนวทางการป้องกันและควบคุมปัญหางานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

 5.1ศึกษาข้อมูลและตรวจหาปัญหาที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน

 5.2ประเมินปัญหาที่พบว่ารุนแรงมากน้อยเพียงใด

 5.3เปรียบเทียบความรุนแรงของปัญหาว่ามีความรุนแรงระดับใด

 5.4 ดำเนินการป้องกันและควบคุมอันตรายที่จะเกิดขึ้น

 5.5ประเมินผลความสำเร็จและความคุมค่า

  6.มาตรฐานและการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

 6.1 วัตถุประสงค์ของมาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

6.1.1 ลดความเสี่ยงด้านอุบัติเหตุ

6.1.2 ลดความสูญเสียของกิจการ

6.1.3 สร้างภาพลักษณ์ให้สถานประกอบการ

 6.2 ประโยชน์ต่อสถานประกอบการและผู้ปฏิบัติงาน

6.2.1 ผู้ปฏิบัติงานรู้วิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง

6.2.2 ผู้ประกอบการสามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

6.2.3 เสริมสร้างภาพลักษณ์ของสถานประกอบการให้เป็นที่ยอมรับจากในประเทศ

6.2.4 เป็นการเตรียมความพร้อมการแข่งขันเข้าสู่ตลาดในระดับภูมิภาคอาเซียนและในระดับโลก

  6.3 มาตรฐานและการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

  มาตรฐานและการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่เป็นแนวทางให้สถานประกอบการนำไปปฏิบัติ เพื่อใช้แก้ปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานที่ทำงานและในกระบวนการทำงาน รวมทั้งป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานประกอบการ โดยมีการกำหนดมาตรฐานระบบการจัดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ มอก.18000 ในการใช้เป็นข้อกำหนดในการตรวจประเมิน

  มาตรฐานระบบการจัดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ มอก.18000 ในประเทศไทย กำหนดขึ้นโดยใช้ BS 8800:1966 และอาศัยหลักการของระบบการจัดการตามอนุกรมมาตรฐาน มอก. ISO 9000 และ มอก. ISO 14000 เป็นแนวทางเพื่อทำให้ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

 มาตรฐานระบบการจัดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ มอก.18000 ได้แบ่งอนุกรมมาตรฐานออกเป็น 4 เล่ม ได้แก่

6.2.1 อนุกรมมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อกำหนดมาตรฐานเลขที่ มอก.1801-2542

6.2.2 อนุกรมมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อแนะนำเกี่ยวกับหลักการ ระบบเทคนิคในทางปฏิบัติ มาตรฐานเลขที่ มอก.1804-2544

6.2.3 อนุกรมมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แนวทางการกำหนดความสามารถของผู้ตรวจประเมินระบบการจัดการอาชีวอนามัย มาตรฐานเลขที่ เลขที่ มอก. 18012-2548

6.2.4 อนุกรมมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แนวทางการตรวจประเมินระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

มาตรฐานเลขที่ มอก. 18011

 6.4 มาตรฐานระบบการจัดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001)

6.4.1 การศึกษาและทบทวนสถานะเบื้องต้น

6.4.2 กำหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

6.4.3 การวางแผน

6.4.4 นำไปใช้และการปฏิบัติ

6.4.5 การติดตามตรวจสอบและแก้ไข

6.4.6 ทบทวนการจัดการ