การดํารงชีวิตของพืช ม.4 pdf

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

การดารงชวี ิตของพชื 01 สารอนิ ทรยี ใ์ นพชื
1.1 สารอินทรียท์ ่ีจาเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื โดยตรง
1.2 สารอนิ ทรียท์ ่ีไม่จาเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพืช
โดยตรง

02 ปัจจัยบางประการทมี่ ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื โดยตรง
2.1 ปจั จัยภายนอก
2.2 ปจั จัยภายใน

03 การตอบสนองของพืชตอ่ สง่ิ เรา
3.1 การตอบสนองท่มี ีทศิ ทางสมั พันธ์กบั ทิศทางของส่ิงเรา
3.2 การตอบสนองทมี่ ีทศิ ทางไม่สมั พนั ธก์ บั ทิศทางของสงิ่ เรา

พืชต องการสารอาหารและพลังงานเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่ น
เพื่อใชในการเจริญเติบโตและการดารงชีวิต โดยพืชสามารถสราง
สารอาหารไดเองผ่านการสังเคราะห์ดวยแสง กระบวนการนี้ตองการ
คลอโรฟลิ ลท์ พี่ บมากในใบพืช ทาหนาที่ ดดู กลืนพลังงานแสงมาใชตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อนามาสรางสารอินทรีย์ ไดแก่ น้าตาล
โดยน้าตาลที่พืชสรางขึ้นนี้จะถูกนาไปใชทั้งในการหายใจร ะดับเซลล์
เพ่อื ใหไดพลังงานสาหรับกระบวนการอื่นต่อไป และเป็นแหล่งคาร์บอน
ท่พี ชื นาไปใชในกระบวนการสังเคราะห์สารอินทรยี ต์ า่ ง ๆ

การสังเคราะหด์ วยแสง

การเปลี่ยนรูปพลังงานและการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจาก
กระบวนการสงั เคราะห์ดวยแสง

1. พลังงานแสงจะเปล่ยี นรูปเปน็ พลงั งานเคมีสะสมอยู่ในผลิตภัณฑ์
คอื น้าตาลกลโู คส นา้ และแกส๊ ออกซเิ จน

2. น้าตาลกลูโคสจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแป้งทันที และสะสมไวใน
เซลลส์ แี ละแป้งจะเปลี่ยนกลับเปน็ นา้ ตาลกลโู คสอกี ครงั้ เมื่อพืชตองการ
สลายน้าตาลกลโู คสเปน็ พลังงาน

3. พืชคายน้าและแก๊สออกซิเจนจะถูกพืชคายออกมาทางปากใบ
กลับคืนสู่สิง่ แวดลอม

3.1 สารอนิ ทรยี ์ในพชื

สารอินทรีย์ในพืช

พืชลาเลยี งน้าตาลและสารที่สรางขึ้น การด ารงชีวิตของพืชจ าเป็นต องอาศัยการท างาน
ไปยังส่วนต่าง ๆ โดยผ่านโฟลเอ็ม ร่วมกันของอวัยวะเหล่านี้ซึ่งแต่ละอวัยวะประกอบดวย
ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่เรียงตัวต่อเนื่อง เซลล์ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ภายในเซลล์มี
ตั้งแต่ใบไปตามกานใบ กิ่ง ลาตน สารอินทรีย์หลายชนิด โดยบางชนิดทาหนาที่เป็น
และราก โครงสรางของเซลลใ์ นขณะที่บางชนดิ ทาหนาที่เกี่ยวกับ
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในเซลล์

โครงสรางหลักของพืชดอกประกอบดวยราก
ลาตน ใบ ดอก และผล ซึ่งแต่ละอวัยวะ
ทาหนาทเ่ี ฉพาะ เช่น รากทาหนาท่ียึดและค้า
จุน ดูดน้าและธาตุอาหารจากดินไปยังส่วน
ต่าง ๆ ของพืช ใบทาหนาที่ สังเคราะห์ดวย
แสง แลกเปลยี่ นแกส๊ และคายน้า

การแบง่ เซลล์

3.1.1 สารอนิ ทรียท์ จี่ าเปน็ ต่อ การขยายขนาดของเซลล์
การเจริญเติบโตของพืชโดยตรง
สารอินทรีย์กลุ่มนี้มีหลายชนิด
พชื สรางและสะสมสารอินทรีย์ที่เปน็
องคป์ ระกอบของเซลล์เพื่อใชในการ การเจริญเติบโต เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด
เจริญเติบโตและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของพืช
กรดนิวคลิอิก กรดแอมิโน วิตามิน
การสงั เคราะหด์ วยแสง คลอโรฟิลล์ ฮอร์โมนพชื ซึ่งเป็นสารที่

การตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา พบทุกชนิด และเป็นสารที่จาเป็นต่อ
การเจริญเติบโตของพืชโดยตรง

แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นอากาศ พืชใชแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน
การสังเคราะห์ดวยแสงได น้าตาล
สารประกอบคาร์บอน ซึ่งเป็นแหล่งคาร์บอนในการสรางสาร
ในพืช อื่นที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบต่อไป
สัตวไ์ ดรบั สารอาหารเหล่านี้โดยการกิน
สารประกอบคารบ์ อน สารประกอบคารบ์ อน ทาใหมีการถ่ายทอดคาร์บอนที่อยู่ใน
ในผูสลายสารอินทรยี ์ ในสัตว์ อาหารไปตามโซ่อาหาร โดยพืช สัตว์
และผสู ลายสารอนิ ทรีย์จะมีการหายใจ
ระดับเซลล์ และปล่อยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์เขาสูบ่ รรยากาศ

การหายใจระดับเซลล์
การสงั เคราะห์ดวยแสง
การถา่ ยทอดพลังงาน

น้ายางพาราจาก ดอกไมบางชนิดมสี หี รือกลิ่น
ตนยางพารา ที่ล่อแมลงเพอื่ ช่วยผสมเกสร

สารคาเฟอีนในกาแฟยบั ย้งั ชว่ ยปดิ แผลของ
การเจรญิ ของจลุ ินทรียบ์ างชนดิ ได ตนยางกระตุน
การสรางเนื้อเย่ือ
นา้ มันหอมระเหยใน ของเปลอื กเม่ือ
ยคู าลิปตัสยับยงั้ ถกู กรีด และ
การเจรญิ ของพืชบางชนดิ ยับยงั้ จุลินทรยี ์
ทีอ่ ย่บู รเิ วณใกลเคยี ง ทอ่ี าจเขามาทาง

บาดแผล

3.1.2 สารอนิ ทรียท์ ไ่ี ม่จาเป็นตอ่
การเจรญิ เติบโตของพชื โดยตรง

สารอินทรีย์บางชนิดไม่ไดเกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของ
พืชโดยตรง แต่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของพืช เช่น
สารอินทรีย์บางชนิดทาใหเพิ่มโอกาสในการมีชีวิตรอด บางชนิด
ทาใหแพรพ่ ันธ์ไุ ดดี

การใชประโยชน์จากสารอนิ ทรยี ์ กระชายขาว ฟา้ ทะลายโจร ดานเภสัชกรรม
บางชนิดท่ีพชื สรางขึน้
- สมนุ ไพรทมี่ ฤี ทธิ์ยบั ย้ัง
แบคทเี รยี หรือไวรสั
- สมุนไพรท่ชี ่วยลดการ
อักเสบ

ดานอตุ สาหกรรม

- นา้ ยางพาราท่ี ถงุ มอื ยาง หนงั ยาง
ใชเป็นวตั ถดุ ิบ
ในการผลติ

ดานเกษตรกรรม

- สมุนไพรควบคมุ Name Here
แมลงศตั รพู ชื Manager

สะเดาอินเดีย ตะไครหอม

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

3.2
ปัจจยั บางประการ
ที่มีผลตอ่ การเจรญิ เติบโต

ของพชื

ปจั จยั บางประการท่มี ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื

พืชแต่ละชนิดเจริญเติบโตได ดีในสภาพแวดล อมท่ี
แตกต่างกัน บางชนิดเจริญไดดีกลางแจง บางชนิดเจริญไดดี
ในที่มีแสงราไร การปลูกพืชแต่ละชนิดจึงจาเป็นตองคานึงถึง
ธรรมชาติของพชื ดวย เพ่อื ใหพืชเจริญเตบิ โตไดอย่างเหมาะสม
ซง่ึ ประกอบดวย

– ปัจจยั ภายนอก
- ปจั จัยภายใน

ปจั จยั ภายนอก

แสง เปน็ ปจั จยั สาคัญต่อการสังเคราะห์ดวยแสง ซ่งึ เป็นกระบวนการ ศัตรูพืช เปน็ ปจั จยั ภายนอกท่ีมกั กอ่ ความเสียหายต่อการเจริญเติบโตของพชื
สรางน้าตาลที่นาไปใชในกระบวนการอื่นต่อไป หากความเขมของ อาจทาใหผลผลติ ของพชื ลดลงหรืออาจรุนแรงจนทาใหพืชถึงตายได ศัตรูพืช
แสงมาก อัตราการสังเคราะห์ดวยแสงจะเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ท่สี าคญั เชน่ แมลงศัตรูพืช จลุ ินทรยี ก์ ่อโรคในพืช วัชพืช เปน็ ตน

อัตราการสังเคราะห์ดวยแสงจะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่งเท่านั้น และจะ อุณหภูมิ พืชแต่ละชนิดมีช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
ไม่เพิ่มข้นึ อีกแมความเขมแสงจะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะยังมีปัจจัยอื่นที่ แตกตา่ งกัน อุณหภูมิทส่ี งู หรือต่าเกินไป อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตของ
เป็นปัจจัยจากัดส่งผลต่ออัตราการสังเคราะห์ดวยแสงอีก เช่น พชื ได เช่น ขาวซง่ึ เป็นพชื ท่เี จรญิ เติบโตไดดใี นภูมิอากาศเขตรอน จะมีช่วง
ความเขมขนคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณเอนไซม์ ปริมาณสารตั้งตน อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตสูงกว่าขาวสาลีซึ่งเป็นพื ชท่ี
อืน่ นอกจากนีย้ ังมีผลตอ่ อีกหลายกิจกรรมในพืช เช่น การเปดิ ของรู เจริญเตบิ โตไดดีในภมู อิ ากาศเขตหนาว
ปากใบท่ีส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้า การงอกของ

เมลด็ พืชบางชนดิ การชักนาใหเกิดการออกดอกของพืชบางชนดิ ปจั จัยภายนอกเหลา่ น้ี แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นแหล่งใหธาตุคาร์บอนแก่พืชเพื่อ
ลวนมีอทิ ธิพลตอ่ การ นาไปใชสรางน้าตาลโดยกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง หาก
น้า เป็นองค์ประกอบที่สาคัญซึ่งเกี่ยวของกับกระบวนการต่าง ๆ เจริญเตบิ โตของพชื ความเขมขนของแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ าก อัตราการสังเคราะห์
ของพืชที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต เช่น การสังเคราะห์ดวยแสง อาจสง่ ผลใหพชื สามารถ ดวยแสงจะเพ่ิมข้นึ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามอัตราการสังเคราะห์ดวยแสง
การหายใจระดับเซลล์ การงอกของเมล็ด และเป็นตัวกลางในการ เจรญิ เตบิ โตไดดี หรืออาจ จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่งเท่านั้นเช่นเดียวกับปัจจัยแสง นอกจาก
ลาเลยี งสารตา่ ง ๆ นอกจากนี้ยังเกี่ยวของกับการรักษาอุณหภูมิของ ยับย้งั การเจรญิ เตบิ โตของ พืชจะไดรับแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศแลว ยังไดรับจาก
พชื ดวย กระบวนการหายใจระดับเซลลข์ องพืชเองอกี ดวย
พชื ได

ธาตุอาหาร ที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมีหลายชนิด

แบ่งตามปริมาณความตองการของพชื ไดเป็น 2 กลมุ่ คอื แกส๊ ออกซิเจน เป็นแก๊สที่พืชใชในกระบวนการหายใจ
- ธาตุอาหารที่พชื ตองการในปริมาณมาก (macronutrients) ระดับเซลล์เพื่อให ได พลังงาน ส าหรับใช ในการ
เจรญิ เติบโต หากพชื ไดรับแก๊สออกซิเจนไมเ่ พยี งพอจะ
เช่น N P K Ca Mg S ทาใหอัตราการหายใจระดับเซลล์ลดลงและอาจส่งผล
- ธาตอุ าหารทพ่ี ืชตองการในปริมาณนอย (micronutrients) ต่อการเจริญเติบโตของพืช นอกจากพืชจะไดรับแก๊ส
ออกซิเจนทางรากแล วยังได รับจากกระบวนการ
เช่น Fe Cu Zn Mn Mo CI B หากพืชไดรับธาตุอาหารเหล่านี้ไม่ สังเคราะห์ดวยแสงอกี ดวย
เพยี งพอต่อความตองการหรอื ไดรับมากจนเกินไปอาจส่งผลต่อการ
เจรญิ เติบโตของพืชได

ก. ขาดธาตไุ นโตรเจน ใบมสี เี หลอื งทงั้ ใบทุกใบ
โดยแสดงอาการทใ่ี บล่างก่อน ตนขนาดเลก็ กวา่
ปกติ

ข. ขาดธาตุฟอสฟอรัส ใบเหลืองโดยแสดงอาการท่ี
ใบล่างก่อน ลาตนแคระแกร็น

ค. ขาดธาตุโพแทสเซยี ม ขอบใบและปลายใบไหม
เนือ้ เย่อื ใบตายเป็นจดุ ๆ โดยเกิดอาการทใี่ บล่าง
กอ่ น

NP K Fe Complete ง. ขาดธาตุเหลก็ ใบออ่ นทเ่ี กิดใหม่สีเหลอื งซีด

ก ขค จ. ตนแตงกวาท่ีไดรับธาตอุ าหารครบ

งจ

อาการของตนแตงกวาท่ีขาดธาตอุ าหารต่าง ๆ เมือ่ เทยี บกบั ตนทีไ่ ดรับธาตอุ าหารครบ

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

3.2
ปัจจยั บางประการ
ที่มีผลตอ่ การเจรญิ เติบโต

ของพชื

ปัจจัยภายใน

โดยพืชจะสรางฮอร์โมนเหล่านี้ ปัจจุบันมนุษย์สังเคราะห์สารหลายชนิด ซึ่งมีผล
ในปรมิ าณนอยทแ่ี หล่งสรางแลว ควบคุมการเจริญเติบโตเช่นเดียวกับฮอร์โมนพืช
ลาเลียงไปยังเนื้อเยื่อตาม ซึ่งจัดเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโต เพื่อใช
ตาแหน่งต่าง ๆ ภายในตนพืช ประโยชน์ทางการเกษตร เช่น สารเร่งราก สารเพิ่ม
มีผลควบคุม กระบวนการต่าง ๆ การติดดอกและผล โดยจะตองใหสารสังเคราะห์
ในการเจรญิ เตบิ ของพชื เหลา่ นีแ้ ก่พชื ในปริมาณท่ีเหมาะสม

นอกจากสิ่งแวดลอมภายนอกมีผลต่อ ฮอรโ์ มนพชื มี 5 กลุ่มหลัก คือ
การเจริญเติบโตของพืชแล ว ยังมี 1. ออกซนิ (auxin)
ปัจจัยภายในที่กาหนดใหพืชแต่ละ 2. ไซโทไคนนิ (cytokinin)
ชนิดและแต่ละพันธุ์มีการเจริญเติบโต 3. จิบเบอเรลลนิ (gibberellin)
ที่แตกต่างกัน ปัจจัยภายในดังกล่าว 4. เอทิลีน (ethylene)
กา ร เ จ ร ิ ญ เ ต ิ บ โ ต ข อ ง พื ช ( plant 5. กรดแอบไซซิก (abscisic acid; ABA)
growth regulator) ซึ่งพืชสรางขึ้น
ภายในเซลล์ เรียกว่า ฮอร์โมนพืช

(plant hormone)

ออกซินเป็นฮอร์โมนพืชชนิดแรกที่มี ออกซนิ กบั การโคงเขาหาแสง ออกซนิ
การคนพบ มีบทบาทสาคัญในการ ของปลายยอดพชื (Auxin)
ก ร ะ ต ุ น ก า ร ย ื ด ต ั ว ข อ ง เ ซ ล ล์
นอกจากนี้ยังมีบทบาทในดานอื่น ๆ เมื่อปลูกตนพืช เช่น มะเขือเทศ
อีก เช่น ยับยั้งการเจริญของตาขาง ทานตะวัน ใหไดรับแสงตามปกติ
โดยท างานร่วมกับฮอร์โมนกลุ่ม ลาตนจะตั้งตรง แต่ถาปลูกไวท่ี
ไซโทไคนนิ ส่งเสรมิ การเจริญของราก รมิ หนาตา่ ง จะสงั เกตเห็นว่าปลาย
กระตุนการเจริญของผล และชะลอ ยอดของพืชจะเจริญโคงเขาหาแสง
การหลดุ ร่วงของใบ เป็นตน เสมอ

การทป่ี ลายยอดพืชโคงเขาหาแสงซึ่งเป็นปัจจัย แสงนอย แสงมาก
ภายนอกทม่ี ากระตุนเป็นผลจากออกซนิ ซ่ึงเป็น ออกซนิ
ปัจจยั ภายใน โดยปกติพืชจะสรางออกซินมาก
บริเวณปลายยอดและใบอ่อน เมื่อมีแสงส่องไป การโคงเขาหาแสงของปลายยอด
ยังดานหนึ่งของปลายยอด ดานทไ่ี ดรับแสงนอย ของตนทานตะวนั
จะมีการสะสมออกซินมากกว่าดานที่ไดรับแสง
มาก ออกซินสามารถกระตุนการยืดของเซลล์
ทาใหดานที่ไดรับแสงนอยซึ่งมีการสะสมออก
ซินมาก มีการยืดตัวและขยายขนาดมากกว่า
ดานทไ่ี ดรับแสงมาก จงึ เกิดการโคงงอของปลาย
ยอดเขาหาแสงเสมอ

ออกซินทสี่ รางขึน้ ภายในพชื เปน็ ปัจจัยภายใน เพราะพชื สรางข้ึนเองเพื่อใช ไมใ่ ชสาร ใชสาร
ในกระบวนการต่าง ๆ ภายในเซลล์ แต่ในทางการเกษตรมีการใชสาร
สังเคราะห์ที่มีสมบัติคลายออกซิน เป็นการใหจากภายนอก พืชต อง ออกซิน
ลาเลียงสารดังกล่าวเขาสู่ภายในตนพืช ดังนั้นจึงจัดว่าสารควบคุมการ (Auxin)
เจรญิ เตบิ โตเหล่านเ้ี ปน็ ปัจจยั ทีพ่ ืชไดรบั จากภายนอก
ก่อนปักชากง่ิ โมก
ออกซนิ กบั การนาไปใช
ไม่ใชสาร
สารสงั เคราะห์ที่มีสมบัติคลายออกซิน เช่น IBA (indolebutyric acid) ใชสาร
NAA (naphthaleneacetic acid) มกี ารนามาใชเพือ่ เร่งการเกิดรากของ
กิ่งตอนหรือกิ่งปักชา ใชกระตุนใหพืชบางชนิดติดผลโดยไม่ตองมีการ หลังปักชากิง่ โมก ราก
ปฏิสนธิ เช่น องุ่น แตงโม สตรอเบอร์รี มะเขือเทศ ซึ่งทาใหไดผลที่ไม่มี
เมล็ด นอกจากนี้หากพืชไดรับสารที่มีสมบัติคลายออกซินมากเกินไปจะ
มผี ลยับยงั้ การเจริญเติบโต ดังนั้นจึงมีการใชสารกลุ่มนี้เพื่อกาจัดวัชพืช
บางชนดิ ดวย

สาร 2,4-D (2,4-Dichlorophenoxyacetic acid)
และ 2,4,5-T (2,4,5 - Trichlorophenoxyacetic
acid) เปน็ สารเคมที ี่มีสมบัติคลายออกซิน ใชเป็นสาร
กาจัดวัชพืช บางชนิดในอดีตมีการนาสารทั้ง 2 ชนิดน้ี
มาผสมกัน นามาใชโปรยตามป่าเรียกว่าฝนเหลือง
(orange agent) ทาใหใบร่วงและตนไมอาจตายใน
ที่สุด เกิดความเสียหายกับป่าไมใชในการทาลาย
แหล่งหลบซ่อนของทหารในยคุ สงครามในอดตี

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

ไซโทไคนิน (cytokinin)

กอ่ นตดั ปลายยอด หลังตัดปลายยอด

ไซโทไคนิน เป็นฮอร์โมนพืช
อีกชนิดหนึ่งที่มีบทบาท
ส าคัญเกี่ยวกับการแบ่ง
เซลล์และการเปลี่ยนสภาพ
ของเซลล์ นอกจากนี้ยังมี
บทบาทเกี่ยวข องกับอีก
หลายกระบวนการในพืช

ไซโทไคนินกบั การเจรญิ การตดั ยอดกะเพราเพื่อใหแตกกง่ิ มากขึน้
ของตาขาง

การเด็ดยอดพืช เช่น กะเพรา
กระถิน ผักหวาน ทาใหเกิดการ
แตกกิ่งขางมากมาย สามารถ
เก็บรับประทานไดอยเู่ รือ่ ย ๆ

เนื้อเยอื่ เจรญิ ส่วนปลายยอด การเจริญของตาเปน็ ผลมาจากการทางานร่วมกันของ
ออกซินและไซโทไคนินซึ่งมีแหล่งสรางหลักอยู่ท่ี
ออกซิน หลังจากตดั ปลายยอด ปลายราก และจะถูกลาเลียงขึ้นไปยังส่วนอื่น ๆ
ของพืช ขณะเดียวกันออกซินมีแหล่งสรางหลักอยู่ที่
ตาขาง ปลายยอด และจะลาเลียงลงดานล่าง บริเวณใกล
ยอดจึงมีปริมาณออกซินสูงกว่าไซโทไคนิน ทาใหมี
ไซโทไคนิน กอ่ นตัดปลายยอด หลังจากตัดปลายยอด ผลยับย้งั การเจรญิ ของตาขาง ตาจึงไมเ่ จรญิ ที่บริเวณ
ดังกล่าว เมื่อเด็ดยอดพืชออกเป็นการทาลายแหล่ง
สรางหลักของออกซิน ปริมาณออกซนิ จงึ ลดลง ทาให
อัตราส่วนของออกซินต่อไซโทไคนินลดลงที่บริเวณ
ดังกลา่ ว เปน็ ผลใหตาขางสามารถเจรญิ ได

การใชไซโทไคนินในการ ไซโทไคนินกบั การนาไปใช
กระตุนการสรางยอดของ
ต น พ ิ ท ู เ น ี ย ( Petunia) สาหรับสารสงั เคราะหท์ ม่ี สี มบตั ิคลายไซโทไคนิน เช่น BA
ในการเพาะเลีย้ งเนื้อเยอื่ พชื (6-benzylamino acid purine) TDZ (thidiazuron)
มีการนามาใชเพื่อช่วยเร่งการแตกตาขางของพืช ควบคุม
ทรงพุ่มของไมดอก ไมประดับ และไมผลบางชนิด และมี
การนามาใชเพื่อกระตุนการสรางยอดในการเพาะเลี้ยง
เนื้อเย่อื พืช

1.5 cm กข 1.5 cm เป็นฮอร์โมนพืชอีกกลุ่มหนึ่งท่ี จิบเบอเรลลนิ
กระตุนใหเซลล์ที่ลาตนมีการ
ก. องุน่ ที่ไมไ่ ดใชสารสังเคราะห์ ข. องุ่นที่ใชสารสังเคราะห์ที่มี ยืดตัวและแบ่งเซลล์มาก (Gibberellin)
ที่มีสมบัติคลายจิบเบอเรลลิน สมบัติคลายจิบเบอเรลลิน ทาใหตนสูงขนึ้ และยังเกี่ยวของ
ความยาวผล ประมาณ 1.5 cm ความยาวผลประมาณ 4 cm กับอีกหลายกระบวนการในพืช จบิ เบอเรลลินกับการยดื ตวั ของลาตน
(ผลทมี่ เี สนประ) (ผลทีม่ ีเสนประ) เช่น ควบคุมการงอกของเมล็ด
พืชบางชนิด การออกดอกและ หนึ่งในลักษณะทางพันธุกรรมของ
การตดิ ผล ถ่วั ลนั เตาที่เมนเดลศกึ ษา คือ ลักษณะตน
สูงและตนเตีย ซึ่งต่อมา พบว่าความสูง
ส า ร ส ั ง เ ค ร า ะ ห ์ ท ี ่ ม ี ส ม บ ั ติ ของตนถั่วลันเตาสัมพันธ์กับปริมาณ
คลายจิบเบอเรลลิน เช่น จิบเบอเรลลินทสี่ รางขึ้น โดยถ่ัวลันเตาตน
GA3 (gibberellic acid) สูงจะมีจิบเบอเรลลินปริมาณมากกว่า
นิยมนามาใชเพื่อชว่ ยใหช่อ ถั่วลันเตาตนเตย้ี
องุ่นยาวท าให ผลขยาย
การใชสารสงั เคราะห์ทีม่ สี มบตั คิ ลายจบิ เบอเรลลนิ ในการกระตุน ขนาดใหญข่ นึ้ ได
การยดึ ของช่อองนุ่ และขยายขนาดของผล

เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสถานะเป็นแก๊ส มีบทบาท เอทลิ ีน
สาคัญในการสุกของผลไมบางชนิด นอกจากนี้ (Ethylene)
ยงั มีผลตอ่ พชื ในดานอื่นอกี เช่น ควบคุมการงอก
ของเมล็ด กระตนุ การรว่ งของใบ เป็นตน เอทิลีนกับการนาไปใช
มะม่วงแต่ละผลในช่อเดียวกันมักจะสุกไม่พรอมกัน
เอทิลีนกับการสุกของผลไม เช่นเดียวกับกลวยแต่ละผลที่อยู่ในหวีเดียวกัน
อาจสุกไม่พรอมกัน แต่เกษตรกรสามารถทาให
ผลไมบางชนิดเมื่อเจริญเต็มที่จะมีการสร าง มะม่วงหรือกลวยสุกพรอมกันเป็นจานวนมากเพื่อให
เอทิลีนสูงขึ้น แลวส่งผลใหเกิดการเพิ่มอัตราการ จาหน่ายไดเพียงพอกบั ความตองการของผบู ริโภคได
หายใจระดับเซลล์ มีการเปลี่ยนสีของผลจาก
สีเขียวเป็นสีเหลืองหรือแดง เกิดการเปลี่ยนแป้ง ผลกลวยในหวีท่สี กุ ไม่พรอมกัน
เป็นน้าตาล ทาใหมีรสชาติหวานขึ้น รวมทั้งอาจมี
การสรางกลิ่นที่เปลี่ยนแปลงไปดวย เมื่อตัดจาก
ตนมาแลวยังไม่สามารถรับประทานไดทันที ตอง
รอใหมีการเปลี่ยนแปลงของสี รส และ กลิ่นก่อน
จงึ รับประทานไดอรอ่ ย

เอทลิ ีน (Ethylene)

หากตองการเร่งใหกลวยสุกเร็วขึ้นและพรอมกัน สามารถบ่มกลวยโดยนากลวยที่ยังดิ บใส่ใน
ภาชนะปิด และใส่กลวยทใี่ กลสกุ ลงไปดวย หรืออาจคลมุ ดวยผากระสอบท้ิงไว กลวยที่ใกลสุกจะ
สรางเอทิลีนมากขึ้น ซึ่งสามารถเร่งการสุกของกลวยดิบได เนื่องจากเอทิลีนมีสถานะเป็นแก๊ส
สามารถแพรอ่ อกมาทาใหผลไมท่ียังไม่สุกในบรเิ วณใกลเคียงถูกเรง่ ใหสุกเร็วข้ึนได

กลวยที่ไมม่ กี ารบม่ กลวยทมี่ ีการบ่ม

จากสมบัติของเอทิลีนที่มีผลต่อการสุกของผลไม จึงมีการใช มะม่วงทไ่ี มม่ ีการบม่ มะมว่ งทม่ี กี ารบม่
เอทิฟอน (ethephon) ที่ใหแก๊สเอทิลีน หรือใชถ่านแก๊ส
(calcium carbide) ทใ่ี หแก๊สอะเซทิลีน (acetylene) ซึ่งแก๊ส
นี้มีสมบัติคลายเอทิลีน สามารถใชควบคุมการสุกของผลไมใน
เชิงพาณชิ ย์

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

กรดแอบไซซกิ (Abscisic acid ; ABA)

เมล็ดที่แชน่ า้ 1 คนื เป็นฮอร์โมนพืชที่มีบทบาทในการยับยั้งการงอกของเมล็ด ทาใหเมล็ด
เกิดการพักตัว นอกจากนี้ยังมีบทบาทอื่นอีก เช่น ตอบสนองต่อการขาด
การแชเ่ มลด็ กอ่ นนาไปเพาะ นา้ โดยส่งผลใหรูปากใบปิดเพ่ือลดการสญู เสียนา้ เป็นตน
เมล็ดทเ่ี ร่มิ งอกเมือ่ นาไปเพาะหลงั จากแช่น้า
การพักตัวของเมล็ด คือ สภาพที่เมล็ดพืชยังมีชีวิตอยู่ แต่ยังไม่สามารถ
งอกได โดยการพักตัวนี้จะช่วยใหพืชผ่านพนช่วงเวลาที่สภาพแวดลอม
ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได เช่น ในช่วงฤดูแลง ทาใหเมล็ดมี
โอกาสกระจายพนั ธุ์ไดมากข้ึน

กรดแอบไซซกิ กบั การพกั ตวั ของเมล็ด

หากจะเพาะเมล็ดถั่วต่าง ๆ ตองนาเมล็ด
เหล่าน้แี ช่น้าก่อน เมล็ดจึงสามารถงอกได

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid ; ABA)

ถาสังเกตเมล็ดถั่วต่าง ๆ จะเห็นว่ามีเปลือกเมล็ดที่แข็ง อีกทั้งยังมีสารที่ เคลือบอยู่ รทู ่ีน้าเขา
ภายนอกซงึ่ ทาใหน้าไม่สามารถซมึ ผา่ นไปได ขณะท่เี กิดการพัฒนาของเมล็ดถ่ัวบนตนแม่
เมื่อเมล็ดพัฒนาเต็มที่จะเขาสู่ระยะพักตัวโดยปริมาณน้าภายในเซลล์ของเม ล็ดลดลง
อย่างมาก ซึ่งการที่น้าในเซลล์ลดลงนั้น ทาใหปฏิกิริยาในกระบวนการต่าง ๆ ภายใน
เมล็ดเกดิ ข้นึ นอยมาก อัตราการหายใจต่าลง

ในสภาวะดังกล่าว พบว่าภายในเมล็ดมีปริมาณกรดแอบไซซิกเพิ่มสูงขึ้น เมลด็ ถวั่ แดงหลวง
ซึ่งกรดแอบไซซิกนี้ทาใหเมล็ดสามารถดารงชีวิตไดแมอยู่ในภาวะที่มีน้า
ภายในเซลล์นอยมาก เมล็ดจะไม่งอก เรียกว่า การพักตัวของเมล็ด
การแช่เมล็ดช่วยใหเปลือกเมล็ดอ่อนนุ่มลง น้าจะแพร่เขาสู่ภายในเมล็ด
ผ่านรูเล็ก ๆ เมื่อเมล็ดไดรับน้า เมล็ดจะพองขึ้น และมีแรงดันใหเปลือก
เมล็ดแตกออก ทาใหไดรับน้ามากขึ้น น้าจะทาใหเกิดกิจกรรมต่าง ๆ
ภายในเมล็ด ซึ่งในขณะนั้นกรดแอบไซซิกจะลดลง เมล็ดมีการหายใจ
สูงขึ้น และกระตุนใหเกิดการสรางฮอร์โมนพืชชนิดอื่นที่ช่วยใหเมล็ด
สามารถงอกและพฒั นาเปน็ ตนออ่ นได

กรดแอบไซซกิ
(Abscisic acid ; ABA)

รดนา้ ไมไ่ ดรดน้า ไม่ไดรดนา้ + ใชสาร ABA

กรดแอบไซซิกกับการนาไปใช

สาหรับสารสังเคราะหท์ มี่ ีสมบัตคิ ลายกรดแอบไซซิกนน้ั
นาไปใชเพอ่ื ช่วยชะลอการเหี่ยวเฉาของพชื และไมดอก
ในขณะขนส่งโดยชว่ ยใหหร่หี รือปดิ รปู ากใบเพ่อื ลดการ
สญู เสยี นา้ ของพชื แตย่ งั ไม่เป็นท่ีนิยมเพราะมีราคาที่
ค่อนขางแพง

บทท่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื
สอนโดย คุณครูสุปรียา ศรีวิเศษ

3.3 การตอบสนองของพชื ตอ่ ส่งิ เรา

การตอบสนองของพชื ตอ่ สิ่งเรา

การตอบสนองของพืชเมื่อไดรับสิ่งเรานั้นอาจมีไดหลายรูปแบบ
แต่รูปแบบหนึ่งที่เห็นไดชัด คือ การเคลื่อนไหว (movement)
ซึ่งสามารถแบ่งตามความสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเราได เป็น
2 รูปแบบ

1. การตอบสนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเรา
2. การตอบสนองท่มี ที ศิ ทางไม่สมั พนั ธก์ บั ทิศทางของส่ิงเรา

3.3.1

ปลายรากพืชเจริญในทศิ ทาง การตอบสนองที่มี
เดียวกับแรงโนมถว่ งของโลก ทิศทางสัมพันธ์กับ
สว่ นยอดพชื เจรญิ ในทศิ ทาง ทศิ ทางของส่ิงเรา
ตรงขามกับแรงโนมถ่วงของโลก

ปลายยอดพชื เจริญ การตอบสนองที่มีทิศทางสัมพันธ์กับ
ในทศิ ทางเขาหาแสง ทิศทางของสิ่งเร าที่พบได ทั่วไป
คือ การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นจากการ
การเลื้อยพันหลกั ของตนพืชซ่ึงเป็น เจริญเตบิ โตของพชื โดยอาจจะมีทิศทาง
การตอ่ การสัมผัสท่เี ขาหาสง่ิ เรา ท่เี ขาหาหรือออกจากสง่ิ เรากไ็ ด

การตอบสนองที่มที ิศทางสมั พันธ์กบั ทศิ ทางของสิ่งเรา

การตอบสนองทมี่ ที ิศทางสัมพันธก์ บั ทศิ ทางของส่งิ เรา

การเคล่อื นไหวท่มี ที ิศทางสัมพันธก์ ับทิศทางของสิง่ เรา การเคลื่อนไหวโดยมแี รงโนมถว่ งของโลกเปน็ สิ่งเรา (gravitropism
(tropic movement)
หรอื geotropism)

- positive gravitropism เช่น รากพืชจะเจริญเขาหาแรงโนมถว่ งของโลก

- negative gravitropism เชน่ ยอดพชื จะเจริญในทิศทางตรงกันขาม

01 กบั แรงโนมถ่วงของโลก

การเคลอ่ื นไหวโดยมนี ้าเปน็ ส่ิงเรา การเคลื่อนไหวโดยมีแสงเป็นส่งิ เรา

(hydrotropism) 05 02 (phototropism)
- positive phototropism
เช่น รากของพืชจะเจริญเขาหานา้
เชน่ ยอดพชื เอนเขาหาแสงสว่าง
หรือความช้นื เสมอ
- negative phototropism

เช่น รากพืชเจริญหนแี สงสว่าง

การเคลอื่ นไหวโดยตอบสนองต่อ 04 03

การสมั ผสั (thigmotropism) การเคลื่อนไหวโดยมสี ารเคมเี ปน็ ส่ิงเรา
(chemotropism)
เชน่ มอื เกาะ (tendril) ยน่ื ออกไป เชน่ การงอกของหลอดละอองเรณู
ไปยงั รงั ไขข่ องพชื มดี อก
จากลาตนไปยึดสง่ิ ทสี่ ัมผัสหรือตนไมอนื่

หรอื หลัก เพ่ือเป็นการพยงุ ลาตน เช่น

ตาลงึ กระทกรก องุน่ พืชตระกลู แตง

3.3.2 การตอบสนองที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์
กับทิศทางของสิ่งเรา เป็นการ
การตอบสนองที่มี เคลื่อนไหวของพืชซึ่งมักเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณน้าภายใน
ทิศทางไม่สัมพันธ์ เซลล์ที่อาจท าให เซลล์เกิดการ
ขยายตัวไดชั่วคราว เช่น การหุบของ
กบั ทศิ ทางของส่ิงเรา ใบของตนจามจุรีในเวลากลางคืน
การหุบของใบไมยราบเมื่อถูกสัมผัส
การเคล่ือนไหวของพืชโดยมที ศิ ทางไม่ ก า ร ห ุ บ แ ล ะ ก า ร บ า น ข อ ง ด อ ก บ ั ว ท ี่
สัมพันธ์กับทศิ ทางของสิ่งเรา (nasty ตอบสนองตอ่ แสง
หรอื nastic movement)
การกางใบในเวลากลางวัน การหุบใบในเวลาพลบคา่

ลักษณะใบของตนจามจุรใี นแต่ละชว่ งเวลา

จบบทที่ 3 แลว

อย่าลมื กลบั ไปทบทวนเนอื้ หาดวยน๊า

สวสั ดคี ่าาา