การ ใช้ เหตุผล ตรรกวิทยา เชิง ปฏิบัติ

ลักษณะสำคัญในการเสนอความคิด -- การอ้างเหตุผล -- การอ้างเหตุผลแบบจัดประเภทหรือซิลลอจิสม์ และการพิสูจน์ด้วยวงกลมของออยเลอร์ -- การพิสูจน์ซิลลอจิสม์ด้วยแผนภูมิของเวนน์ -- การละข้อความในอ้างเหตุผลแบบจัดประเภท -- การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยชนิดอื่นๆ -- การอ้างเหตุผลแบบอุปนัยโดยการระบุจำนวน -- การอ้างเหตุผลเปรียบเทียบ -- การหาสาเหตุและวิธีการของมิลล์ -- ข้อบกพร่องของการใช้ข้อมูลและสถิติในการอ้างเหตุผล -- ภาษากับความบกพร้องในการอ้างเหตุผล -- การทิ้งเหตุผล -- ข้อมูลและสถิติในการวิจัยและการหยั่งเสียง -- การให้บทนิยาม -- การวิเคราะห์การอ้างเหตุผลในบทความ

  1. การอ้างเหตุผล
  2. ตรรกวิทยา
  3. ความคิดและการคิด

LOCATIONCALL#STATUSCentral Library (5th Floor)160 ก449 2555CHECK SHELVES
Central Library (5th Floor)160 ก449 2555CHECK SHELVES
Center of Learning Network for the Region Library160 ก449 2555CHECK SHELVES
Center of Learning Network for the Region Library160 ก449 2555CHECK SHELVES
Communication Arts Library160 ป467กCHECK SHELVES

การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ

   การใช้เหตุผลเป็นกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันและในวงการวิชาการ เพื่อชักจูงให้เชื่อ และเพื่ออธิบายให้เข้าใจ คนเราจะเชื่ออะไรหรือไม่ขึ้นอยู่กับว่ายอมรับการอ้างเหตุผลหรือไม่ แต่การอ้างเหตุผลมีทั้งที่ดีและไม่ดี เราควรเชื่อเฉพาะข้อสรุปที่เกิดจากการอ้างเหตุผลที่ดีเท่านั้น แต่การแยกระหว่างการอ้างเหตุผลที่ดีและไม่ดี ในบางกรณ๊เป็นเรื่องที่ทำยาก ถ้าปราศจากหลักเกณฑ์
   หนังสือ การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ มีจุดประสงค์หลักอยู่ที่อธิบายเกณฑ์สำหรับตัดสินเช่นนี้ให้เข้าใจได้ง่าย เพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ และมีแบบฝึกหัดจำนวนมากประกอบกับแบ่งบทต่างๆ ให้เหมาะกับการใช้สอนในห้องเรียนได้ด้วย

1.ลักษณะสำคัญในการเสนอความคิด
2.การอ้างเหตุผล
3.การอ้างเหตุผลแบบจัดประเภทหรือซิลลอจิสม์ และการพิสูจน์ด้วยวงกลมของออยเลอร์
4.การพิสูจน์ซิลลอจิสม์ด้วยแผนภูมิของเวนน์
5.การละข้อความในอ้างเหตุผลแบบจัดประเภท
6.การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยชนิดอื่นๆ
7.การอ้างเหตุผลแบบอุปนัยโดยการระบุจำนวน
8.การอ้างเหตุผลเปรียบเทียบ
9.การหาสาเหตุ และวิธีการของมิลล์
10.ข้อบกพร่องของการใช้ข้อมูลและสถิติในการอ้างเหตุผล
11.ภาษากับความบกพร่องในการอ้างเหตุผล
12.การทิ้งเหตุผล
13.ข้อมูลและสถิติในการวิจัยและการหยั่งเสียง
14.การให้บทนิยาม
15.การวิเคราะห์การอ้างเหตุผลในบทความ

ISBN: 9743460608 (ปกอ่อน) 241 หน้าขนาด: 190 x 260 x 10 มม.น้ำหนัก: 440 กรัมเนื้อในพิมพ์: ขาวดำสำนักพิมพ์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงพิมพ์แห่งเดือนปีที่พิมพ์: 2000

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน

การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ

    หนังสือ การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ มีจุดประสงค์หลักอยู่ที่อธิบายเกณฑ์ สำหรับตัดสินเช่นนี้ให้เข้าใจได้ง่าย เพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ และมีแบบฝึกหัดจำนวนมาก ประกอบกับแบ่งบทต่าง ๆ ให้เหมาะกับการใช้สอนในห้องเรียนได้ด้วย

                                                    (บางส่วนจากปกหลัง)

บทที่ 1 ลักษณะสำคัญในการเสนอความคิด
บทที่ 2 การอ้างเหตุผล
บทที่ 3 การอ้างเหตุผลแบบจัดประเภทหรือซิสลอจิสม์ และการพิสูจน์ด้วยวงกลมของออยเลอร์
บทที่ 4 การพิสูจน์ซิลลอจิสม์ด้วยแผนภูมิของเวนน์
บทที่ 5 การละข้อความในอ้างเหตุผลแบบจัดประเภท
บทที่ 6 การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยชนิดอื่นๆ

...ฯลฯ...

ISBN: 9749940334 (ปกอ่อน) 241 หน้าขนาด: 188 x 260 x 14 มม.น้ำหนัก: 470 กรัมเนื้อในพิมพ์: ขาวดำสำนักพิมพ์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สนพ.แห่งเดือนปีที่พิมพ์: 2005

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน

การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ

   การใช้เหตุผลเป็นกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันและในวงการวิชาการ เพื่อชักจูงให้เชื่อ และเพื่ออธิบายให้เข้าใจ คนเราจะเชื่ออะไรหรือไม่ขึ้นอยู่กับว่ายอมรับการอ้างเหตุผลหรือไม่ แต่การอ้างเหตุผลมีทั้งที่ดีและไม่ดี เราควรเชื่อเฉพาะข้อสรุปที่เกิดจากการอ้างเหตุผลที่ดีเท่านั้น แต่การแยกระหว่างการอ้างเหตุผลที่ดีและไม่ดี ในบางกรณ๊เป็นเรื่องที่ทำยาก ถ้าปราศจากหลักเกณฑ์
   หนังสือ การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ มีจุดประสงค์หลักอยู่ที่อธิบายเกณฑ์สำหรับตัดสินเช่นนี้ให้เข้าใจได้ง่าย เพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ และมีแบบฝึกหัดจำนวนมากประกอบกับแบ่งบทต่างๆ ให้เหมาะกับการใช้สอนในห้องเรียนได้ด้วย

1.ลักษณะสำคัญในการเสนอความคิด
2.การอ้างเหตุผล
3.การอ้างเหตุผลแบบจัดประเภทหรือซิลลอจิสม์ และการพิสูจน์ด้วยวงกลมของออยเลอร์
4.การพิสูจน์ซิลลอจิสม์ด้วยแผนภูมิของเวนน์
5.การละข้อความในอ้างเหตุผลแบบจัดประเภท
6.การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยชนิดอื่นๆ
7.การอ้างเหตุผลแบบอุปนัยโดยการระบุจำนวน
8.การอ้างเหตุผลเปรียบเทียบ
9.การหาสาเหตุ และวิธีการของมิลล์
10.ข้อบกพร่องของการใช้ข้อมูลและสถิติในการอ้างเหตุผล
11.ภาษากับความบกพร่องในการอ้างเหตุผล
12.การทิ้งเหตุผล
13.ข้อมูลและสถิติในการวิจัยและการหยั่งเสียง
14.การให้บทนิยาม
15.การวิเคราะห์การอ้างเหตุผลในบทความ

ISBN: 9743460608 (ปกอ่อน) 241 หน้าขนาด: 190 x 260 x 10 มม.น้ำหนัก: 440 กรัมเนื้อในพิมพ์: ขาวดำสำนักพิมพ์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงพิมพ์แห่งเดือนปีที่พิมพ์: 2000

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน