ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ปวส 2563

ชดุ การเรียน หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง พุทธศักราช ๒๕๖๒ รายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ หน่วยที่ ๖ การเขยี นในงานอาชพี นางณชิตา เถาว์โท ครูวทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ แผนกวชิ าสามัญสมั พันธ์ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอุบลราชธานี ชุดการเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

คานา ชุดการเรยี นโดยใชส้ อ่ื ดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาไทยระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง นี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาเรียนรู้รายวิชา ๓๐๐๐ - ๑๑๐๑ ภาษาไทยเพื่อสื่อสารในงานอาชีพ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ และรายวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑ ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓-๐-๓ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา เรยี นรแู้ ละฝึกปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง แลว้ เกดิ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการใช้ภาษาไทย สามารถนาภาษาไทย ไปใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารในงานอาชีพ โดยชุดการเรียนน้ีประกอบด้วย ๗ หน่วยการเรียน และแต่ละหน่วย ประกอบด้วยแบบประเมินตนเองก่อนและหลังเรียน แผนการเรียนประจาหน่วย เนื้อหาสาระและกิจกรรม ซง่ึ ผเู้ รียนอาชีวศกึ ษาทง้ั ในระบบปกตแิ ละระบบทวิภาคสี ามารถศกึ ษาเรยี นรู้ ฝึกปฏิบตั แิ ละทบทวนความรู้ได้ทุก ที่ ทุกเวลา ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ตลอดจนสามารถดาวน์โหลด (Download) ชุดการเรียนนี้เพื่อศึกษาเรียนรู้ในระบบออฟไลน์ (Offline) ได้ด้วย นอกจากนี้ ครูผู้สอน ยังสามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาได้ เป็นการสนองตอบนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ และการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ แกผ่ ูเ้ รียนอาชวี ศกึ ษาด้วย ชุดการเรียนรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

สารบัญ หนา้ (ก) รายละเอยี ดรายวิชา (ข) วิธีการศกึ ษา (จ) (ฉ) ข้ันตอนการเรียนชุดการเรยี น ขัน้ ตอนการเรยี นระดบั หนว่ ย ๑ หนว่ ยที่ ๖ การเขียนในงานอาชพี ๒ แบบประเมินตนเองก่อนเรยี น หน่วยท่ี ๖ ๔ แผนการเรียน หน่วยที่ ๖ การเขยี นในงานอาชพี ๑๘ ๓๑ - แผนการเรียน มอดูลที่ ๖.๑ การเขียนจดหมายธรุ กจิ ๔๓ - แผนการเรยี น มอดูลที่ ๖.๒ การเขยี นโฆษณา ๔๔ - แผนการเรียน มอดูลที่ ๖.๓ การเขียนประชาสมั พันธ์ แบบประเมินตนเองหลังเรยี น หนว่ ยท่ี ๖ ภาคผนวก ชดุ การเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

ก รายละเอยี ดรายวิชา ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓-๐-๓ (Occupational Thai Language Skills) จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให้ ๑. เขา้ ใจหลกั การใช้ภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ๒. สามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ ค่าสารและใชภ้ าษาไทยเป็นเคร่อื งมือสอ่ื สารใน วชิ าชพี ตามหลักภาษา เหมาะสมกบั กาลเทศะ บคุ คลและสถานการณ์ ๓. เหน็ คุณคา่ และความสาคัญของการใชภ้ าษาไทยในวชิ าชพี อยา่ งมจี รรยาบรรณ สมรรถนะรายวิชา ๑. แสดงความร้เู ก่ียวกบั หลักการฟงั การดู การพูด การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์ การ สงั เคราะหแ์ ละการประเมนิ คา่ สารภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพอยา่ งมีจรรยาบรรณ ๒. วเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละประเมนิ คา่ สารทไี่ ดจ้ ากการฟัง การดูและการอา่ นสอื่ ประเภท ต่าง ๆ ๓. พูดนาเสนอขอ้ มูลเพ่อื สอ่ื สารในงานอาชีพและในโอกาสต่าง ๆ ตามหลักภาษา กาลเทศะ บคุ คลและสถานการณ์ ๔. เขยี นเพื่อติดตอ่ กจิ ธุระ บันทกึ ข้อมูลและรายงานการปฏิบัติงานเชงิ วชิ าชพี ตามหลกั การ ใช้ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั หลักการฟัง การดู การพดู การอ่านและการเขียนภาษาไทย การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าสารในงานอาชีพจากสื่อประเภทต่าง ๆ การพูด นาเสนอข้อมูลเพื่อส่ือสารในงาน อาชีพและในโอกาสต่าง ๆ การเขียนเพื่อกิจธุระ การจดบันทึก ข้อมูลและเขียนรายงานการปฏิบัติงานเชิง วิชาชีพ และจรรยาบรรณในการใช้ภาษาไทยเชิงวิชาชพี ชุดการเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

ข วธิ ีการศึกษา ในการศึกษาชดุ การเรียนรายวชิ า ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ผู้เรียนจะต้องทา ความเข้าใจเก่ยี วกบั ๑. โครงสรา้ งเนอื้ หาสาระ ๒. โครงสรา้ งสือ่ การเรยี นรู้ ๓. วิธีการเรยี น โครงสร้างเนอื้ หาสาระ ชดุ การเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพไดแ้ บ่งโครงสร้างเน้ือหาสาระ ดังนี้ หนว่ ยที่ ๑ การใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ หน่วยท่ี ๒ การวิเคราะห์สารจาการฟัง การดู การอา่ น หน่วยท่ี ๓ การพูดในงานอาชีพ หน่วยท่ี ๔ การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ของสงั คม หนว่ ยที่ ๕ การเขยี นเพอื่ ติดต่อธุระ หน่วยท่ี ๖ การเขยี นในงานอาชพี หน่วยที่ ๗ การเขยี นรายงานการวจิ ยั โครงสรา้ งสอื่ การเรยี นรู้ ชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพประกอบด้วยส่ือ ๒ ประเภท คอื (๑) สอื่ ส่งิ พิมพ์ ได้แก่ แผนการเรยี นและใบกจิ กรรม และ (๒) ส่อื ออนไลน์ วธิ กี ารเรียน เพื่อให้การเรียนในชุดการเรียนรายวิชาน้ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลตามจุดประสงค์ รายวชิ าและสมรรถนะรายวิชา ผเู้ รียนควรดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดงั นี้ ๑. เตรียมตัวเพ่ือการศึกษาด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องจัดตัวเองให้อยู่ในสภาพการณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๔ ประการ คอื ๑.๑ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างกระฉับกระเฉง โดยการคิด เขียนและทากิจกรรมการ เรียนรทู้ ก่ี าหนดอย่างสมา่ เสมอตลอดเวลา ๑.๒ ติดตาม ตรวจสอบผลการเรียนรหู้ ลังทากิจกรรมแตล่ ะกจิ กรรมจากแนวการตอบหรือเฉลย ๑.๓ ซ่ือสตั ย์ต่อตนเอง โดยไมด่ ูแนวการตอบหรอื เฉลยก่อน ๑.๔ ศึกษาเรยี นรู้ไปตามลาดบั ขัน้ ตอน เพ่อื ใหไ้ ด้ความรู้ครบถว้ นตามท่กี าหนด ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

ค ๒. ประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน ๒.๑ ก่อนท่ีจะเรียนหน่วยการเรียนใด ผู้เรียนควรจะตรวจสอบความรู้ด้วยการประเมินผลตนเอง กอ่ นเรยี นจากแบบประเมินของหน่วยน้ัน ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวมคะแนนไว้ หากทาได้คะแนนเกินกว่า ร้อยละ ๖๐ ผู้เรยี นอาจจะไม่ตอ้ งศึกษาหนว่ ยน้นั ๒.๒ เม่ือศึกษาหน่วยนั้นเสร็จแล้ว ขอให้ผู้เรียนประเมินผลตนเองหลังเรียน โดยทาแบบประเมินท่ี กาหนดไว้ตอนท้าย ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วรวมคะแนนไว้ หากทาได้ต่ากว่าร้อยละ ๘๕ ผู้เรียนควรศึกษา ทบทวนหนว่ ยนน้ั แล้วประเมินซ้าอกี จนกวา่ จะไดค้ ะแนนเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด ๓. ศกึ ษาเอกสารชุดการเรียนและส่อื ท่ีกาหนด โดย ๓.๑ ศกึ ษารายละเอียดชดุ วิชา ๓.๒ ศึกษาแผนหนว่ ยการเรียนทุกหน่วย ๓.๓ ศกึ ษารายละเอยี ดของแต่ละหนว่ ยการเรียน ดังน้ี ๓.๓.๑ แผนการเรียนประจาหน่วย ๓.๓.๒ แบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรยี น ๓.๓.๓ แนวคดิ ๓.๓.๔ เน้อื หาสาระในแต่ละหน่วย และแตล่ ะมอดูล ๓.๓.๕ กิจกรรมและแนวการปฏบิ ัตหิ รอื แนวการตอบ ๓.๓.๗ แบบประเมนิ ตนเองหลงั เรียน ๔. ทากิจกรรมตามทก่ี าหนดในหนว่ ยการเรยี น “กิจกรรม” เป็นส่วนท่ีผู้เรียนจะต้องบันทึกสาระสาคัญและทากิจกรรมทุกอย่างตามที่ได้รับ มอบหมาย ให้เขียนกิจกรรมลงในแบบฝึกปฏิบัติท่ีกาหนด บางกิจกรรมอาจให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม และเขียนรายงาน ขอใหผ้ เู้ รยี นจัดทาและจดั ส่งครผู ้สู อนหรือครเู จ้าของวิชาตามวนั เวลาและสถานท่ีทีก่ าหนด ๕. การศกึ ษาส่ือประกอบการเรยี นรู้ บางหน่วยการเรียน อาจกาหนดให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมจากส่ือที่กาหนดหรือศึกษาสื่อควบคู่ไปกับ การอ่านเอกสารชุดการเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ ขอให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ตามท่ีกาหนด และจดบันทกึ สาระสาคัญของสงิ่ ทไ่ี ด้เรยี นรูไ้ ว้ในกิจกรรมปฏิบตั ิด้วย ๖. การเข้ารับการสอนเสริม หรือรับบรกิ าร ณ สถานศึกษา ผ้เู รียนต้องนาบตั รประจาตัวนกั ศกึ ษาและบตั รลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาไปแสดงด้วย และเมื่อเข้ารับ การสอนเสริม รับฟังและรับชมสื่อต่าง ๆ ให้บันทึกรายละเอียดการเข้ารับการสอนเสริมหรือรับบริการในแบบ ฝึกปฏบิ ัตติ อนทา้ ยหน่วยดว้ ย ชุดการเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

ง ๗. การรว่ มกิจกรรมภาคปฏิบัตเิ สริมประสบการณ์ ผู้เรียนชุดการเรียนรายวิชา ๓๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพอาจจะต้องเข้าร่วม กิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนึ่งตอ่ ไปนี้ ๗.๑ เขา้ หอ้ งปฏิบตั ิการในสถานศกึ ษา เพอ่ื ฝึกทกั ษะปฏิบตั ิตามทก่ี าหนดไวใ้ นแต่ละหน่วยการเรียน ๗.๒ เขา้ สังเกตการณก์ ารสอนในหนว่ ยการเรียนทก่ี าหนด ๗.๓ เข้าฝกึ ปฏิบัตใิ นสถานประกอบการหรอื หนว่ ยงาน ๗.๔ ประดษิ ฐ์คดิ ค้น หรือศกึ ษาสารวจข้อมูลตามท่กี าหนด หลังจากทากิจกรรมข้างต้นแล้ว ให้มีการสรุปรายงานให้แก่ครูผู้สอนหรือครูเจ้าของวิชาทราบ เพื่อตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิ และเก็บผลการประเมนิ เปน็ คะแนนเกบ็ ของรายวิชา ๘. เข้ารบั การสอบ เม่ือสิ้นภาคการศึกษา ผู้เรียนต้องเข้ารับการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาหรือสอบไล่ ตามวัน เวลา และสถานท่ที ส่ี ถานศกึ ษากาหนด เพอื่ การตดั สินผลการเรยี น ชุดการเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

จ ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

ฉ ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑ แบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ ๖ http://bit.ly/thai-test6 ชดุ การเรียนรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒ แผนการเรยี น หน่วยที่ ๖ การเขียนในงานอาชีพ มอดลู ที่ ๖.๑ การเขียนจดหมายธุรกจิ ๖.๒ การเขียนโฆษณา ๖.๓ การเขียนประชาสมั พันธ์ แนวคดิ การเขียนในงานอาชีพมีความจาเป็นท่ีจะทาให้การดาเนินธุรกิจเป็นไปตามวัตถุประสงค์ การเลือก รูปแบบและภาษาท่ีเหมาะสมในการส่ือสารจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินธุรกิจดังน้ันใน การเขียน จดหมายธุรกิจ การเขียนโฆษณา และการเขียนประชาสัมพันธ์จึงจาเป็นต้องศึกษารูปแบบการเขียน และวิธกี ารใช้ภาษาใหเ้ หมาะสมกบั การเขยี นในงานอาชีพแตล่ ะประเภท จดุ ประสงคก์ ารเรียน ๑. เม่ือศึกษามอดูลที่ ๖.๑ “การเขียนจดหมายธุรกิจ” แล้ว ผู้เรียนสามารถเขียนจดหมายธุรกิจ แต่ละประเภทได้อย่างถกู ต้อง ๒. เม่ือศึกษามอดูลท่ี ๖.๒ “การเขียนโฆษณา” แล้ว ผู้เรียนสามารถเขียนโฆษณาในสื่อส่ิงพิมพ์ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ๓. เม่ือศึกษามอดูลท่ี ๖.๓ “การเขียนประชาสัมพันธ์” แล้ว ผู้เรียนสามารถเขียนประชาสัมพันธ์ ในรูปแบบต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้อง กิจกรรมการเรียน ๑. ทาแบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรยี น หน่วยท่ี ๖ ๒. อ่านแผนการเรียนประจาหนว่ ยที่ ๖ ๓. อ่านสาระสังเขปประจามอดลู ที่ ๖.๑-๖.๓ ๔. ดาเนนิ กิจกรรมท่ีกาหนดของแต่ละมอดูลหรือหัวข้อเรอ่ื ง ๕. ตรวจสอบคาตอบจากแนวตอบของแต่ละกจิ กรรม ที่กาหนดไว้ท้ายหน่วยท่ี ๖ ๖. ทากิจกรรมภาคปฏิบัติเสรมิ ประสบการณ์เพ่อื เกบ็ คะแนน ๗. ทาแบบประเมินตนเองหลงั เรียน ชุดการเรยี นรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓ สื่อและแหล่งการเรยี น ๑. เอกสารชุดการเรยี น หน่วยท่ี ๖ ๒. ใบชว่ ยสอน การประเมินผลการเรยี น ๑. ประเมินความกา้ วหนา้ ระหวา่ งเรียน การประเมนิ ตนเองก่อนและหลงั เรยี น ๒. ประเมนิ กิจกรรมภาคปฏิบตั ิ (๒๐ คะแนน) ๓. ประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม (๒๐ คะแนน) ๔. การสอบปลายภาค (….. คะแนน) ชดุ การเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๔ แผนการเรยี น มอดูลท่ี ๖.๑ การเขียนจดหมายธรุ กิจ มอดลู ท่ี ๖.๑ โปรดอ่านหัวข้อเร่ือง แนวคิดและจดุ ประสงค์การเรียนของมอดลู ท่ี ๖.๑ แลว้ จึงศกึ ษารายละเอียดต่อไป หัวขอ้ เรอ่ื ง ๖.๑.๑ ความหมายของจดหมายธรุ กจิ ๖.๑.๒ ความสาคัญของจดหมายธรุ กิจ ๖.๑.๓ ลกั ษณะของจดหมายธรุ กิจทดี่ ี ๖.๑.๔ รปู แบบการเขยี นจดหมายธุรกจิ ๖.๑.๕ ประเภทของจดหมายธุรกิจ ๖.๑.๖ การเขียนจดหมายธรุ กจิ ประเภทตา่ ง ๆ แนวคดิ จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายท่ีใช้ติดต่อระหว่างบริษัท ห้างร้านหรือระหว่างลูกค้ากับบริษัทห้างร้าน ด้วยเร่ืองธุรกิจ การใช้จดหมายธุรกิจเป็นวิธีการท่ีสะดวก ประหยัด ใช้ได้ในวงกว้าง เพราะสามารถส่งข้อความ ได้อย่างครบถ้วนและเก็บเป็นหลักฐานอ้างอิงได้ จดหมายธุรกิจท่ีดีต้องมีเนื้อหาที่ชัดเจน สมบูรณ์ กะทัดรัด ใช้ภาษาในการส่ือสารถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล และคานึงถึง ความรู้สึกของผู้อ่านเป็นสาคัญ รูปแบบการเขียนจดหมายท่ีนิยมใช้มากที่สุด คือ รูปแบบหนังสือราชการ ภายนอก จดหมายธุรกิจแบ่งตามจุดมุ่งหมายในการส่ือสารได้ ๔ ประเภท คือ จดหมายท่ีใช้เพื่อการติดต่อ ทางธุรกิจ จดหมายเพ่ือดาเนินธุรกิจ จดหมายเพ่ือส่งเสริมธุรกิจ และจดหมายสมัครงาน การเขียนจดหมาย ธุรกิจตอ้ งมีส่วนนา สว่ นเนื้อหาและ สว่ นท้าย ซึง่ มีวิธกี ารเขยี นแตกตา่ งกนั ไปตามวตั ถุประสงค์ของการส่อื สาร จดุ ประสงค์การเรียน ๑. เมื่อศึกษาหัวข้อเรื่องที่ ๖.๑.๑ “ความหมายของจดหมายธุรกิจ” แล้ว ผู้เรียนสามารถบอก ความหมายของจดหมายธุรกจิ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ๒. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๖.๑.๒ “ความสาคัญของจดหมายธุรกิจ” แล้ว ผู้เรียนสามารถบอก ความสาคัญของจดหมายธรุ กิจไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๓. เมือ่ ศกึ ษาหัวขอ้ เร่อื งที่ ๖.๑.๓ “ลักษณะของจดหมายธรุ กจิ ท่ดี ี” แลว้ ผเู้ รียนสามารถบอกลักษณะ ของจดหมายธุรกจิ ท่ีดไี ด้อยา่ งถูกตอ้ ง ๔. เม่ือศึกษาหัวข้อเรื่องท่ี ๖.๑.๔ “ประเภทของจดหมายธุรกิจ” แล้ว ผู้เรียนสามารถแยกประเภท ของจดหมายธรุ กจิ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ๕. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองที่ ๖.๑.๕ “รูปแบบจดหมายธุรกิจ” แล้ว ผู้เรียนสามารถบอกประเภท รปู แบบจดหมายธรุ กิจได้ ๖. เมื่อศึกษาหัวข้อเรื่องที่ ๖.๑.๖ “การเขียนจดหมายธุรกิจประเภทต่าง ๆ” แล้ว ผู้เรียนสามารถ เขยี นจดหมายธรุ กจิ แต่ละประเภทไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ชุดการเรียนรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๕ เนอ้ื หา ๖.๑.๑ ความหมายของจดหมายธุรกิจ จดหมายธุรกิจ หมายถึง จดหมายท่ีใช้ติดต่อระหว่างบริษัท ห้างร้านกับลูกค้า หรือระหว่างลูกค้า กับบริษัทห้างร้านโดยมีจุดประสงค์ในการดาเนินธุรกิจ เช่น การเสนอขายสินค้าและบริการ การสอบถาม การส่ังซื้อสินค้า การตอบรับการสั่งซ้ือ การขอเปิดเครดิต การติดตามหน้ี การร้องเรียน และการสร้าง ความสัมพันธ์ท่ีดีกับลูกค้า จดหมายธุรกิจจะมีความแตกต่างจากจดหมายส่วนตัวในด้านรูปแบบและการใช้ ถ้อยคาภาษาท่ีต้องเป็นทางการหรือค่อนข้างเป็นทางการไม่ใช้ภาษาปากหรือภาษาพูดดังท่ีมักปรากฏ ในจดหมายส่วนตวั (นวภรณ์ อุ่นเรอื น. ๒๕๔๗ : ๑๑๔) ๖.๑.๒ ความสาคัญของจดหมายธุรกจิ สุภคั มหาวรากร (๒๕๔๗ : ๘๒) ไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของจดหมายธุรกจิ ไวด้ งั นี้ ๑. สะดวกเพราะไม่ตอ้ งเสยี เวลาในการเดินทางไปด้วยตนเอง ๒. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ๓. สามารถใช้ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกับบคุ คลที่ร้จู กั และไม่รจู้ ักได้ ๔. สามารถเขียนรายละเอียดได้ชดั เจนและสมบรู ณ์มากกว่าการพูด ๕. สามารถเกบ็ เป็นหลกั ฐานอา้ งองิ ได้ ๖.๑.๓ ลกั ษณะของจดหมายธุรกจิ ทด่ี ี จดหมายธุรกิจที่ดีย่อมส่งผลให้การดาเนินธุรกิจประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ก่อให้เกิดความ เข้าใจที่ตรงกนั รวมท้ังก่อใหเ้ กดิ ความพึงพอใจทง้ั ผู้ส่งและผ้รู ับ จดหมายธุรกิจที่ดตี ้องมลี ักษณะดงั ต่อไปนี้ ๑. กะทัดรัด คือ การใช้คาน้อยแต่ได้ใจความครอบคลุมเร่ืองราวทั้งหมด ใช้คาและประโยคที่ กะทดั รัดไดใ้ จความ ๒. ชดั เจน คอื ต้องแสดงความคิดเห็นหรือความต้องการอย่างชดั เจน เพื่อใหผ้ ูร้ บั สามารถเขา้ ใจและ ปฏิบตั ิตามได้อย่างถกู ต้อง ๓. ถูกต้อง คือการเลือกใช้คา การสะกดคา การเรียงคา และการใช้ประโยคถูกต้องตามหลัก ไวยากรณห์ ลกี เลี่ยงสานวนตา่ งประเทศ ๔. สุภาพ คือ ใช้ถ้อยคาท่ีแสดงความสุภาพ เพื่อสร้างความประทับใจที่ดีในการติดต่อ เช่นคาว่า ขอบคณุ ขออภัย ยนิ ดี ๕. ประณีต คอื ใช้ภาษาทเ่ี ปน็ ทางการหรือกึง่ ทางการ และเหมาะกบั กาลเทศะและบุคคล ๖. คานึงถึงผอู้ า่ น คอื เขยี นโดยคานงึ ถงึ ความรู้สึกของผูอ้ ่านเป็นสาคัญ ชุดการเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๖ ๖.๑.๔ ประเภทของจดหมายธุรกิจ นวภรณ์ อุ่นเรือน (๒๕๔๗ : ๑๑๘) แบ่งประเภทจดหมายธรุ กิจแบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคด์ ังน้ี ๑. จดหมายเพ่ือติดต่อทางธุรกิจเป็นจดหมายธุรกิจท่ีเขียนข้ึนเพ่ือให้ธุรกิจหรือการค้าเกิดข้ึน ได้แก่ จดหมายเสนอขายสินค้าและบริการจดหมายสอบถามและตอบแบบสอบถาม จดหมายขอเปิดเครดิตและ สอบถามเครดติ เปน็ ต้น ๒. จดหมายเพ่ือดาเนินธรุ กิจ เป็นจดหมายธุรกิจที่เขียนข้ึนเพ่ือให้ธุรกิจหรือการค้าประสบความสาเร็จ ไดแ้ ก่ จดหมายสั่งซื้อ จดหมายตอ่ ว่าและปรบั ความเข้าใจและจดหมายทวงหน้ี ๓. จดหมายเพื่อส่งเสริมธุรกิจ เป็นจดหมายที่เขียนข้ึนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าของธุรกิจ และลูกค้า เป็นจดหมายท่ีแสดงไมตรีจิตในโอกาสต่าง ๆ เช่นจดหมายอวยพร หรือแสดงความยินดี จดหมาย แสดงความเหน็ ใจหรอื เสยี ใจ จดหมายตอบขอบคุณ เปน็ ต้น ๔. จดหมายสมัครงาน จัดเป็นจดหมายธุรกิจประเภทหน่ึงเพราะเป็นการนาเสนอคุณสมบัติต่าง ๆของ ตนเองให้เจ้าของกจิ การหรือผู้บริหารในองค์การพจิ ารณา ๖.๑.๕ การเขยี นจดหมายธรุ กจิ ประเภทต่าง ๆ ๑) จดหมายเสนอขายสินค้าและบริการ เป็นจดหมายท่ีบริษัทห้างร้านต่าง ๆ มีไปถึงลูกค้าเพ่ือบอก ขอ้ มูลเก่ียวกับรายละเอียดของสินค้า เช่น คุณภาพ ราคาและส่ิงจูงใจท่ีจะเรียกร้องความสนใจของลูกค้าให้เกิด ความตอ้ งการและพร้อมทจ่ี ะสง่ั ซ้ือทันที องค์ประกอบของจดหมายเสนอขายสินคา้ และบริการแบ่งเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนนา เป็นส่วนเรียกร้องความสนใจจากลูกค้าด้วยเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง หรือประโยชน์ที่จะ ได้รบั จากสนิ ค้านนั้ ๆ ควรใชภ้ าษาทเ่ี ร้าความสนใจให้ตดิ ตามใจความในตอนต่อไป ๒. ส่วนเนื้อหา ต้องเขียนเพ่ือมุ่งให้ลูกค้าเกิดความต้องการสินค้าหรือบริการท่ีนาเสนอโดยกล่าวถึง รายละเอยี ดของสนิ ค้าหรือบรกิ ารเพ่ือก่อให้เกิดความกระจ่าง แต่ควรเสนอตามข้อเท็จจริง ไม่ควรแอบอ้างหรือ โฆษณาชวนเชือ่ จนเกนิ จรงิ มีการยืนยนั หรอื รับประกนั คุณภาพสนิ ค้าด้วยรางวัลหรือมาตรฐานการรับรองสินค้า ท่ีนา่ เช่อื ถือเพือ่ กอ่ ใหเ้ กิดความพงึ พอใจ ๓. ส่วนท้าย ควรเขียนข้อความเร่งเร้า ยั่วยุให้ลูกค้าตัดสินใจเลือกซ้ือสินค้าหรือบริการด้วยเงื่อนไข การขายพเิ ศษ และให้ความหวงั ว่าจะไดร้ บั ใบสง่ั ซ้ือหรอื จดหมายสงั่ ซ้ือจากลูกค้า ชดุ การเรยี นรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๗ ตัวอยา่ งจดหมายเสนอขายสินคา้ บรษิ ัท สมุทรเทวา จากัด ๕/๖ ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร ๒๖๑๐๕๓๔ ๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ เร่ือง เกลอื ปน่ คณุ ภาพ เรยี น คณุ แมบ่ า้ น แม่บ้านท่ีชาญฉลาด ย่อมต้องเลือดใช้เคร่ืองประกอบอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อสมาชิกในครอบครัว เพอื่ ให้ทุกคนในครอบครัวทท่ี า่ นรักมีสุขภาพที่ดี เกลือป่น สมุทรเทวา เป็นเกลือป่นที่มีคุณสมบัติพิเศษกว่าเกลือป่นโดย ท่ัวไปเพราะนอกจากจะ ประกอบด้วยสารโซเดยี มคลอไรดแ์ ล้ว ผู้ผลิตยงั ไดเ้ พม่ิ เติมสารเสริม ไอโอดีนและเกลอื แรต่ า่ ง ๆ ทาใหอ้ าหารที่ ปรงุ รสด้วยเกลอื “สมุทรเทวา” มีรสละมนุ ขน้ึ และทาให้ผู้บริโภคได้รับเกลือแรท่ ่ีเป็นประโยชนต์ ่อรา่ งกายมากขน้ึ แม้การใช้เกลือป่นจะเป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ท่านก็ควรจะได้ประโยชน์จากการใช้เกลือป่น มากกว่าท่ีเปน็ อยู่ บริษทั จงึ ขอแนะนา เกลือป่น “สมุทรเทวา” อย่าลืมเรียกใช้ “สมุทรเทวา” เม่อื ตอ้ งการใชเ้ กลอื ป่น “เกลือป่น สมุทรเทวา” ได้รับใบรับรองคุณภาพจากกองควบคุมอาหารและยากระทรวงสารณสุข แลว้ จึงม่นั ใจไดใ้ นคุณภาพ โปรดกรอกรายละเอียดลงในบัตรท่ีบริษัทไดแ้ นบมานี้ แล้วส่งไปยังบริษัท เพ่ือบริษัทจะได้ส่งเกลือป่น “สมุทรเทวา” มาใช้ท่านทดลองใชท้ ันที ขอแสดงความนบั ถอื ปรก สมุทรเทวา (นายปรก สมทุ รเทวา) ชดุ การเรียนรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๘ ๒) จดหมายสอบถามและตอบแบบสอบถาม เป็นจดหมายติดต่อระหว่างลูกค้ากับบริษัทห้างร้านท่ี ตอ้ งการรายละเอยี ดเก่ยี วกบั สินค้า หรือสอบถามเพิ่มเติมจากข่าวโฆษณาผ่านส่ือต่าง ๆ โดยอาจจะให้บริษัทส่ง รายละเอียดหรือแคตตาลอกมาให้ เมื่อบริษัทได้รับก็จะต้องมีจดหมายตอบทันทีเพ่ือแสดงให้เห็นว่าบริษัท ให้ความสาคัญกบั ลูกค้าและเป็นโอกาสในการนาเสนอขายสินค้าต่อไป องคป์ ระกอบของจดหมายสอบถามและตอบแบบสอบถามแบ่งเป็น ๓ สว่ น ดงั น้ี ๑. ส่วนนา เป็นส่วนท่ีผู้เขียนต้องแนะนาตนเอง บอกแหล่งท่ีมาของข่าวสาร พร้อมแจ้งความประสงค์ ในการเขยี นจดหมาย ๒. ส่วนเนื้อหา ผู้เขียนต้องระบุข้อมูลท่ีต้องการสอบถามอย่างละเอียดชัดเจนโดยใช้ข้อความส้ัน ๆ ชดั เจน ตรงประเด็น ๓. ส่วนท้าย ผู้เขียนควรกล่าวขอบคุณและแสดงความหวังว่าจะได้รับคาตอบหรือความร่วมมือจาก บริษัทโดยเรว็ ตวั อยา่ งจดหมายสอบถาม ๑๒๓ หมู่ ๖ ต.ทุ่งกวาว อ.เมือง จ.แพร่ ๕๔๐๐๐ ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗ เรือ่ ง สอบถามรายละเอียดเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ในโครงการคอมพิวเตอร์ ICT เพื่อน้องเล็ก เรยี น ฝ่ายลูกคา้ สมั พันธ์โครงการคอมพวิ เตอร์ ICT เพอื่ นอ้ งเลก็ เนื่องจากกระผมได้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ราคาถูกในโครงการคอมพิวเตอร์ ICT เพื่อน้องเล็กจากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗ กระผมมีความสนใจท่ีจะเข้าร่วม โครงการและประสงค์จะขอข้อมูลเพ่ิมเติมดังน้ี ๑) ข้อมูลจาเพาะและความสามารถของเครื่องแต่ละรุ่น ๒) ระยะเวลารบั ประกนั และ วิธกี ารผ่อนชาระเงนิ ๓) ราคาคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะรนุ่ ซ่งึ รวมภาษีแล้ว กระผมหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับทราบข้อมูลเหล่านี้จากท่าน ขอให้ท่านโปรดส่งรายละเอียด มายังทอ่ี ยู่ข้างบนและขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ อรรถพร ใจมา (นายอรรถพร ใจมา) ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๙ ๓) จดหมายขอเปิดเครดิตหรือจดหมายขอเปิดบัญชีเงินเชื่อ หมายถึง จดหมายที่ลูกค้าต้องการท่ีจะ ติดต่อเรื่องการค้าด้วยบัญชีเงินเช่ือ ลูกค้าที่ขอเปิดเครดิตต้องแสดงรายละเอียดส่วนตัวและฐานะทางการเงิน ประกอบการพิจารณา พร้อมระบุช่ือบุคคลท่ีจะรับรองฐานะทางการเงินให้ชัดเจนเพ่ือให้ติดต่อสอบถามได้ สะดวกและจะตอ้ งมกี ารระบเุ ง่อื นไขการชาระเงนิ และระยะเวลาให้แนน่ อน องค์ประกอบของจดหมายขอเปดิ เครดิตแบ่งเป็น ๓ สว่ น ดังน้ี ๑. ส่วนนา เป็นส่วนที่ผู้เขยี นแจ้งความประสงคท์ จ่ี ะซื้อสนิ ค้าดว้ ยการขอเปดิ เครดิต ๒. ส่วนเน้ือหา ผู้เขียนต้องแสดงรายละเอียดเพ่ือการพิจารณา ประกอบด้วยการแนะนา ตนเอง กจิ การ อาชพี รายได้ ทีอ่ ยู่ และช่อื ท่อี ยผู่ คู้ า้ ประกนั หรอื ผ้รู ับรองฐานะทางการเงนิ ๓. สว่ นทา้ ย ผเู้ ขียนควรแสดงความหวังวา่ จะมโี อกาสได้รับคาตอบตกลงให้เปิดเครดิต ตวั อย่างจดหมายขอเปดิ เครดติ ห้างหุ้นส่วนจากดั รชต อเิ ล็กทริกส์ ๒๓ ถนนเหมืองหติ ตาบลในเวียง อาเภอเมอื ง จังหวัดแพร่ ๕๔๐๐๐ ๒๔ มนี าคม ๒๕๕๘ เรอื่ ง ขอเปิดเครดติ ในการสั่งซ้อื สนิ ค้า เรยี น ผู้จดั การฝ่ายสินเชือ่ บรษิ ัทกรงุ ไทยการไฟฟ้า จากัด ส่งิ ทส่ี ่งมาด้วย ใบรายการสินคา้ ท่ขี อเปดิ เครดติ ห้างหุ้นส่วนจากัด รชต อิเล็กทริกส์ มีความประสงค์จะซ้ือสินค้าประเภทอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า จากบรษิ ทั ฯ ของทา่ นดว้ ยการขอเปดิ เครดิตใหม่ ตามสนิ คา้ ในรายการท่ีแนบมาด้วย ห้างหุ้นส่วนจากัด รชต อิเล็กทริกส์ ทาธุรกิจประเภทค้าขายอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้ามาเป็น ระยะเวลา ๑๐ ปี เป็นทเ่ี ช่อื ถือและไวว้ างใจของลกู ค้าทกุ ระดับ ขณะนี้บริษัทกาลังขยายกิจการจึงมีความ ประสงค์จะขอเปิดเครดิตในการส่ังซ้ือสินค้าเพื่อให้บริษัท ฯ ของท่านเกิดความมั่นใจ ท่านสามารถติดต่อ สอบถามข้อมูลของห้างหุ้นส่วนจากัดรชต อิเล็กทริกส์ ได้ท่ี คุณสมัคร สมิทธิเวช ประธานหอการค้า จงั หวดั แพร่ เลขท่ี ๒๒๕ ถนนเจริญเมือง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ๕๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๑๒๓๔๕๖๗๗ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาในการใหเ้ ครดิต ห้างหุ้นส่วนจากัด รชต อิเล็กทริกส์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะได้รับความกรุณาจากท่านและได้ ดาเนินธุรกจิ ร่วมกนั ต่อไป ขอแสดงความนับถอื รชต สวุ รรณรกั ษา (นายรชต สุวรรณรักษา) กรรมการผู้จัดการ ชดุ การเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๐ ๔) จดหมายสงั่ ซอื้ สนิ คา้ เป็นจดหมายท่ีลูกคา้ เขยี นส่ังซอ้ื สินค้าโดยระบชุ นิดของสินค้าและรายละเอยี ด ตา่ ง ๆ อยา่ งชัดเจนซ่งึ บางครั้งอาจใช้เป็นแบบฟอรม์ หรอื ใบสงั่ ซือ้ ทีบ่ รษิ ัทจัดทาขึน้ ก็ได้ องคป์ ระกอบของจดหมายส่งั ซื้อสนิ ค้าแบ่งเปน็ ๓ ส่วน ดงั นี้ ๑. ส่วนนา เป็นการเขียนข้อความนาการส่ังซื้อ บางคร้ังอาจไม่ต้องเขียนในกรณีที่ใช้ใบสั่งซื้อ แต่ใหร้ ะบุเลขท่ีใบสั่งซ้ือเพ่อื ใช้เปน็ การอ้างอิงในการติดตอ่ ครง้ั ต่อไป ๒. ส่วนเน้ือหา ผู้เขียนต้องระบุรายละเอียดของสินค้าให้ชัดเจน เช่น จานวน ขนาด เบอร์ สี รหสั ราคาและสว่ นลด ๓. ส่วนท้าย ผู้เขียนควรระบุการสั่ง กาหนดส่ง วิธีการส่ง วิธีการชาระเงิน และเงื่อนไขต่าง ๆ ทต่ี กลงกันและแสดงความหวังว่าจะได้รบั สนิ คา้ ตามเง่ือนไขทร่ี ะบุ ตัวอย่างจดหมายส่ังซื้อสนิ คา้ บรษิ ทั ป.พาณชิ ย์ จากดั ๔๓๖ ถนนพานชิ เจรญิ อาเภอเมือง จงั หวัดเพชรบุรี ๗๖๐๐๐ โทร. ๐ ๓๒๔๑ ๑๗๘๙ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เร่อื ง ขอส่ังซอ้ื สนิ คา้ เรียน ผู้จดั การบริษัท นครแพร่ทาวเวอร์ บุ๊คเซ็นเตอร์ จากัด บริษัทป. พาณิชย์ จากัด ขอขอบคุณที่ท่านได้ส่งรายละเอียดเก่ียวกับหมึกพิมพ์ “INKJET ORIGINAL” มาให้บรษิ ัทฯ มีความสนใจสนิ คา้ และขอส่ังซือ้ สนิ ค้าตามรายละเอียด โปรดสง่ สินค้าตามรายการไปใหบ้ รษิ ทั ฯ ภายในวันที่ ๒๕ เมษายน ศกนี้ ทางพสั ดุ ไปรษณีย์ จานวน หน่วยนบั รหัสสนิ ค้า ชื่อสนิ ค้า ราคาต่อหน่วย เป็นเงนิ ๕ ชดุ TQ๖๗๑๓ EPSON ๗๖๐ ๓,๘๐๐ ๑๐ ชดุ BC ๕๖M CANNON ๔๔๒ ๔,๔๒๐ รวมเงนิ ๘,๒๒๐ การสั่งซื้อสินค้าคร้ังนี้ ขอให้ท่านนารายการส่ังซื้อดังกล่าวเข้าบัญชีของบริษัทฯ ตามเงื่อนไข ขอ้ ตกลงท่ีเคยปฏบิ ตั กิ ันมา ขอแสดงความนบั ถือ มุกดา แสงแกว้ ๕) จดหมายต่อว่าและปรับความเข้าใจ เป็นจดหมายที่เขียนข้ึนเพ่ือต่อว่าหรือร้องเรียนในกรณีที่สินค้า ชารุด ผิดขนาด ไม่ครบจานวน หรือล่าช้า เป็นต้น การเขียนต้องมีความชัดเจน สุภาพ กะทัดรัดและมีเหตุผล เมอื่ บรษิ ทั ได้รบั จดหมายประเภทนตี้ อ้ งรีบเขียนจดหมายปรับความเขา้ ใจโดยช้แี จงเหตุผลหรือสาเหตุที่ผิดพลาด โดยแสดงความเสียใจและยอมรับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นพร้อมแสดงความรับผิดชอบโดยการ ยินดีปฏิบัติ ตามเง่ือนไข ชดุ การเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๑ องคป์ ระกอบของจดหมายตอ่ วา่ แบ่งเปน็ ๓ สว่ น ดังนี้ ๑. ส่วนนา เป็นการเขียนเท้าความถึงการส่ังซ้ือสินค้าหรือบริการโดยอ้างตามเลขท่ีใบส่ังซ้ือ หรือวนั ท่ีจดหมายสงั่ ซื้อและรายละเอียดสนิ ค้า ๒. ส่วนเนื้อหา ผเู้ ขยี นอธิบายถึงความชารดุ หรอื ความบกพร่องของสินคา้ ๓. สว่ นท้าย ผเู้ ขยี นควรแสดงความประสงค์ว่าต้องการให้บริษทั แก้ไขอย่างไร ตัวอยา่ งจดหมายต่อว่า/รอ้ งเรียน บรษิ ทั เสรสี ยาม จากดั ๔ ซอยสุขุมวิท ๑๑๑ เขตพระโขนง กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๐๐๑๐๐๓๑ ตอ่ ๑๑๒ ๕ เมษายน ๒๕๕๘ เรอ่ื ง สนิ ค้าไมไ่ ด้มาตรฐาน เรียน ผู้จัดการบริษทั แสงดี จากดั ตามท่ีบรษิ ัท เสรสี ยาม จากัด ไดส้ ง่ั ซื้อพดั ลมโคจรจากทา่ นตามจดหมายส่ังซ้ือฉบบั วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๘ และได้สินค้าเรียบร้อยแล้วนั้น ปรากฏว่ามีพัดลมโคจร ๒ เคร่ือง ไม่สามารถปรับระดับ ความแรงท่ีระดับ ๑ ได้ จึงเรียนมาเพ่ือทราบและขอให้ท่านดาเนินการเปลี่ยนสินค้าใหม่ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ส่งให้บริษทั ฯ ภายในวันท่ี ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘ เพือ่ บริษทั จะไดน้ าส่งสินค้าให้ลูกค้าต่อไป ขอแสดงความนบั ถือ มณีจันทร์ บุญทวี (นาง มณจี ันทร์ บุญทวี) บรษิ ทั เสรสี ยาม จากดั ๖) จดหมายทวงหนี้ เปน็ จดหมายท่ีผขู้ ายเขียนถึงลูกค้าเพื่อแจง้ หนใี้ หท้ ราบ หากลูกค้าเพิกเฉยก็อาจจะ ตอ้ งสง่ จดหมายเตือนหน้ี และจดหมายทวงหนีต้ ามลาดับ องคป์ ระกอบของจดหมายทวงหนี้ข้นั แจ้งแบ่งเปน็ ๓ ส่วน ดงั น้ี ๑.ส่วนนาเป็นการเขยี นแจง้ ให้ทราบถงึ รายการสินคา้ ท่ีลูกค้าสัง่ ซ้อื ยอดเงนิ ท่ีคา้ งชาระและกาหนดวนั ชาระ ๒. ส่วนเนอื้ หา ผู้เขียนเตอื นหนอี้ ยา่ งสุภาพโดยการแจ้งยอดเงินทค่ี า้ งชาระ ๓. สว่ นท้าย มขี ้อความขออภยั หากมีขอ้ ผิดพลาดในการเตอื นหนี้ องคป์ ระกอบของจดหมายทวงหนขี้ ัน้ เตือนแบ่งเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนนา เป็นการเทา้ ความถงึ จดหมายแจ้งหนี้ว่าไม่ได้รบั คาตอบหรอื การชาระหนี้ ๒. ส่วนเนอื้ หา ผ้เู ขยี นสอบถามเหตผุ ลที่ลกู คา้ ไม่ยอมชาระหน้ีตามกาหนดโดยมเี น้ือหาจงู ใจให้ ลกู คา้ ยอมชาระหนี้ ชดุ การเรยี นรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๒ ๓. สว่ นทา้ ย ผูเ้ ขยี นกลา่ วสรปุ โดยการย้าใหล้ กู ค้าชาระเงนิ หรอื ปฏิบตั ิตามข้อแนะนา องคป์ ระกอบของจดหมายทวงหน้ีขน้ั ทวงหนี้แบ่งเปน็ ๓ สว่ น ดงั นี้ ๑. ส่วนนา เปน็ การเท้าความถึงจดหมายแจ้งหนี้ว่าไม่ไดร้ บั การชาระพร้อมแจง้ ยอดเงินค้างชาระ ๒. ส่วนเนื้อหา ผู้เขียนแจ้งให้ลูกค้าทราบว่าการเตือนหนี้ครั้งนี้เป็นการเตือนคร้ังสุดท้าย และขอให้มกี ารชาระหนโี้ ดยระบุใหช้ ดั เจนวา่ หากลูกหน้ีไม่ชาระหนจี้ ะดาเนินการอย่างไร ๓. สว่ นท้าย ผเู้ ขยี นกลา่ วสรปุ โดยการยา้ ใหล้ ูกคา้ ชาระหนี้ ตัวอยา่ งจดหมายทวงหนฉ้ี บับทสี่ อง (ข้นั เตือน) บรษิ ทั กรุงไทยออพตคิ จากัด ๑๐๔๕/๒ หมู่ ๑ ต.นครสวรรค์ตก อ.เมอื ง จ.นครสวรรค์ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เรยี น................................. เน่ืองจาก เม่ือวันท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘ บริษัทฯ ได้มีจดหมายเรียนให้ท่านทราบว่าท่านยัง มีบัญชี ค้างชาระกับบริษัท ต้ังแต่เดือน มีนาคม ๒๕๕๘ และขอให้ท่านจัดการชาระเงินโดยเร็วด้วยนั้น บัดนี้ บริษัทฯได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าท่ีของบริษัท ว่าท่านยังมิได้ให้คาตอบหรือดาเนินการชาระเงินแต่ อย่างใด บรษิ ทั ฯจงึ ขอเรียนแจ้งวา่ บริษัทฯ มคี วามจาเปน็ ตอ้ งใชเ้ งินหมุนเวยี นสาหรับการดาเนนิ ธุรกิจ อยูต่ ลอดเวลาซึง่ รา้ นคา้ ที่มี ประสบการณ์ยาวนาน และมีสถติ จิ าหนา่ ยสินคา้ ได้สงู เช่นท่าน ย่อม ตระหนกั ดอี ยแู่ ลว้ บริษัทจึงใครข่ อใหท้ า่ นดาเนินการชาระเงนิ ให้แก่บริษทั ฯ โดยเรว็ หากดาเนินการได้ก่อน วนั ที่ ๑๐ มิถนุ ายน ศกน้ี จะเป็นพระคุณยิ่ง ขอแสดงความนับถือ สมหวัง บุญบันดาล (นายสมหวัง บญุ บันดาล) ๗) จดหมายไมตรีจิต เป็นจดหมายท่ีไม่ได้เกี่ยวข้องกับการซื้อขายโดยตรงแต่เขียนขึ้นเพ่ือกระชับ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบริษัท ห้างรา้ นกบั ลกู ค้าให้แนน่ แฟ้นย่ิงขนึ้ เพ่ือประโยชน์ทางธุรกิจในอนาคตแบ่งออกเป็น จดหมายแสดงความยนิ ดี จดหมายแสดงความเสยี ใจ จดหมายขอความร่วมมือหรือขอความชว่ ยเหลอื จดหมาย ขอบคุณ และจดหมายเชญิ เป็นต้น ชุดการเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๓ ตัวอย่างจดหมายขอบคุณ ๘) จดหมายสมัครงาน ถือเป็นจดหมายธุรกิจรูปแบบหน่ึง เพราะเป็นจดหมายท่ีเขียนข้ึน เพ่ือนาเสนอ คุณสมบัติของผู้สมัครงานให้เจ้าของกิจการหรือผู้รับสมัครงานพิจารณา การเขียนจดหมายสมัครงานผู้เขียน จะต้องคานึงถึงรูปแบบการเขียนและกลวิธีการเขียนท่ีถูกต้อง สมบูรณ์และจะต้องระมัดระวังไม่ให้เกิด ข้อผิดพลาดอันจะทาให้เกิดผลเสียแก่ตัวผู้สมัครเอง เพราะจดหมายสมัครงานท่ีเขียนขึ้นอย่างประณีตพิถีพิถัน ย่อมแสดงใหเ้ หน็ ถึงบคุ ลิกภาพและอุปนสิ ัยในการทางานของผสู้ มัครและสามารถสรา้ งความประทับใจให้ผู้อ่านได้ ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๔ องค์ประกอบของจดหมายสมัครงานแบ่งเปน็ ๓ ส่วน ดงั น้ี ๑. สว่ นนา เป็นการกล่าวถงึ แหลง่ ข้อมูลในการสมคั รงานและตาแหนง่ ที่ตอ้ งการสมัคร ๒. ส่วนเน้ือหา เป็นสว่ นสาคัญทผ่ี ู้เขียนตอ้ งบอกประวัตสิ ว่ นตัว ประวตั ิการศึกษา สถานศึกษา ผลการเรียน ประสบการณ์หรือคุณสมบัติที่เหมาะสมกับตาแหน่งงาน ความสามารถพิเศษท่ีจะช่วยเสริม ตาแหน่งงาน ผู้รับรอง ซึ่งจะต้องระบุ ชื่อ ตาแหน่งงาน หมายเลขโทรศัพท์ท่ีสามารถติดต่อกลับอย่างน้อย ๒ คน อาจเป็นครู หัวหนา้ หน่วยงานในการฝกึ งาน หรือบคุ คลทีเ่ ปน็ ท่ยี อมรับทางสงั คม ๓. ส่วนท้าย ผู้เขียนกล่าวสรุปโดยขอโอกาสเข้ารับการสัมภาษณ์ ให้แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ที่ สามารถติดตอ่ ได้และการนดั หมายเวลาทผี่ ู้รับสมัครสะดวกในการติดต่อนดั หมายกบั ผสู้ มัคร จดหมายสมัครงานสามารถเขียนได้ ๒ แบบคือจดหมายที่มาต้องแนบประวัติย่อ และจดหมายท่ีต้องไม่แนบประวัติย่อ ถ้ามีประวัติย่อ อาจจะเขียนรายละเอียดในส่วนเน้ือหาน้อยลงเพราะ รายละเอยี ดจะปรากฏอยใู่ นส่วนของประวตั ิยอ่ ท่ีแนบไป ชดุ การเรียนรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๕ ตัวอย่างจดหมายสมคั รงานแบบไม่แนบประวตั ิย่อ ๖๖ หมู่ ๒ ต.ป่าแมต อ.เมอื ง จ.แพร่ ๕๔๐๐๐ ๓ มีนาคม ๒๕๕๘ เรอ่ื ง ขอสมคั รงานในตาแหนง่ ช่างยนต์ เรียน ผู้จดั การฝา่ ยบุคคล บริษัทมิตซูบิชิ ประเทศไทย จากดั สงิ่ ท่ีส่งมาดว้ ย ๑. รปู ถ่าย ๒ รปู ๒. สาเนาใบรายงานผลการศึกษา ๑ ฉบบั ๓. สาเนาใบรับรองผลการทางาน ๑ ฉบบั กระผมทราบข่าวจากโฆษณาในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันท่ี ๓ มีนาคม ๒๕๕๘ ว่าบริษัทต้องการ พนักงานในตาแหนง่ ช่างยนต์ กระผมมคี วามสนใจใครข่ อสมคั ร เพอื่ รับการพิจารณาบรรจุในตาแหนง่ ดังกล่าว กระผมช่ือ นายสุบิน แผ้วสาตร์ อายุ ๒๑ ปี สัญชาติไทย สุขภาพสมบูรณ์ มีภูมิลาเนาอยู่ที่จังหวัดแพร่ สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิค แพร่ ได้คะแนนเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ๓.๗๕ กระผมมีความรู้ในสาขางานยานยนต์และได้รับการฝึกฝนในการซ่อม บารุงรกั ษารถยนต์เปน็ อยา่ งดี และผ่านการ ยกระดบั และทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานระดับ๑ ของกรมพฒั นาฝมี ือแรงงานแล้ว ระหว่างการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กระผมได้เข้ารับการฝึกอาชีพที่อู่เชาว์การช่าง เป็นระยะเวลา ๑ปี ๖ เดอื น และในระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง (ปวส.) กระผมไดเ้ ขา้ รับการฝกึ อาชีพท่ีศูนย์ มิตซบู ชิ ิ บรษิ ัทแพรย่ นตรการมิตซู จากดั เปน็ ระยะเวลา ๑ ปี ท่านสามารถสอบถามเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว การศึกษา ความประพฤติ ตลอดจนประสิทธิภาพในการ ทางานของกระผมไดท้ ่บี ุคคลต่อไปนี้ ๑. อาจารย์ สงวน แก้วมูล สาขางานยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ๕ ถนนเหมืองหิต ตาบลในเวียง อาเภอเมือง จังหวดั แพร่ ๕๔๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๘๔ ๗๒๗๒๗๒๗ ๒. คุณสวัสด์ิ ธิติมูล ผู้จัดการฝ่ายศูนย์บริการบริษัทแพร่ยนตรการ มิตซูจากัด ตาบลร่องกาศ อาเภอสูง เม่น จังหวัดแพร่ ๕๓๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๘๕ ๘๖9๒๑๗๗ กระผมหวังเปน็ อยา่ งยิ่งว่า คงได้รับการพจิ ารณาจากท่านใหเ้ ขา้ รับการสัมภาษณ์ ตามวันเวลาที่สะดวกเพื่อ ชี้แจงรายละเอียดเพ่ิมเติม และขอเสนออัตราเงินเดือนเดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาท เพ่ือให้ท่านใช้ประกอบการ พจิ ารณา กระผมต้งั ใจทจี่ ะทางานใหบ้ ริษัทอย่างสดุ ความสามารถ เพื่อความกา้ วหน้าของบรษิ ัท ท่านสามารถติดต่อ เรียกตัวกระผมได้ตามทอ่ี ยู่ขา้ งตน้ และขอขอบคณุ ในความกรณุ าของทา่ น ขอแสดงความนบั ถือ ชุดการเรียนรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๖ มาทบทวนความรกู้ ัน https://h5p.org/node/454929 กจิ กรรมท่ี ๖.๑.๑ ๑. ศึกษารปู แบบและวธิ ีการเขยี นจดหมายธุรกิจแต่ละประเภทให้เขา้ ใจ ๒. เลือกเขียนจดหมายธุรกิจท่ีเก่ียวข้องกับงานในสถานประกอบการ ๑ ประเภทโดย คานึงถึงรูปแบบ เน้ือหาและการใชภ้ าษาท่ีถกู ตอ้ งและเหมาะสม กิจกรรมที่ ๖.๑.๒ ๑. หาประกาศรับสมัครงานท่ีตรงกบั สาขางานทเี่ รียน ๒. ศกึ ษารปู แบบและวธิ กี ารเขียนจดหมายสมคั รงานใหเ้ ข้าใจ ๓. เขียนจดหมายสมัครงานโดยคานึงถึงรูปแบบ เนื้อหาและการใช้ภาษาที่ถูกต้องและ เหมาะสมโดยใช้ข้อมลู ของตนเองในการสมัครงาน ชดุ การเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๗ เอกสารอา้ งองิ นวภรณ์ อุ่นเรือน (๒๕๔๗). ทักษะภาษาไทยเพอื่ อาชีพ . กรงุ เทพ ฯ : โรงพิมพ์จติ รวฒั น์. สภุ ัค มหาวรากร. (๒๕๔๗). ทักษะภาษาไทยเพือ่ อาชพี . กรุงเทพ ฯ : เอมพนั ธ์. ชุดการเรยี นรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๘ แผนการเรียน มอดูลท่ี ๖.๒ การเขียนโฆษณา มอดลู ที่ ๖.๒ โปรดอา่ นหัวขอ้ เร่ือง แนวคดิ และจดุ ประสงค์การเรียนของมอดูลท่ี ๖.๒ แล้วจึงศกึ ษา รายละเอยี ดต่อไป หวั ขอ้ เร่ือง ๖.๒.๑ ความหมายของ “โฆษณา” ๖.๒.๒ ความสาคัญของการโฆษณา ๖.๒.๓ การใช้ภาษาในการโฆษณา ๖.๒.๔ องค์ประกอบของโฆษณาในสือ่ สิง่ พมิ พ์ แนวคิด การโฆษณา เป็นการนาเสนอรายละเอียดของสินค้าหรือบริการเพื่อให้ผู้บริโภครู้จัก สนใจและเกิด ความต้องการสินค้าหรือบริการนั้น โฆษณาเป็นสารโน้มน้าวใจ การใช้ภาษาในการโฆษณาจะต้องเร้า ความสนใจและสามารถทาให้ลูกค้าเกิดการตัดสินใจเลือกซื้อ เลือกใช้สินค้าหรือบริการได้ การใช้ภาษาในการ โฆษณาจงึ ใช้ได้หลายรปู แบบและมลี ักษณะเฉพาะทนี่ า่ สนใจ จุดประสงคก์ ารเรยี น ๑. เมื่อศึกษาหัวข้อเร่ืองท่ี ๖.๒.๑ “ความหมายของโฆษณา” แล้ว ผู้เรียนสามารถอธิบาย ความหมาย ของคาว่า “โฆษณา” ได้ ๒. เมอ่ื ศกึ ษาหวั ขอ้ เรื่องที่ ๖.๒.๒ “ความสาคญั ของการโฆษณา” แล้ว ผเู้ รียนสามารถบอกบทบาท และความสาคญั ของการโฆษณาได้ ๓. เมอื่ ศกึ ษาหัวขอ้ เร่อื งที่ ๖.๒.๓ “การใช้ภาษาในการโฆษณา” แล้ว ผูเ้ รยี นสามารถวเิ คราะหก์ าร ใชภ้ าษาในการโฆษณาได้ ๔. เม่อื ศกึ ษาหัวข้อเรื่องที่ ๖.๒.๔ “องคป์ ระกอบของโฆษณา” แลว้ ผู้เรยี นสามารถเขียนขอ้ ความ โฆษณาโดยครบองคป์ ระกอบของโฆษณาได้ ชุดการเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๑๙ เนือ้ หา ทดสอบความรคู้ าขวัญประจาจงั หวัด https://h5p.org/node/454933 ๖.๒.๑ ความหมายของ “โฆษณา” การโฆษณาหมายถงึ การให้ขอ้ มลู หรือรายละเอยี ดเกี่ยวกับสนิ ค้าและบริการ เพื่อโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภค คล้อยตามเนื้อหาสารที่โฆษณา ซ่ึงจะทาให้เกิดการซ้ือหรือใช้สินค้าและบริการ ตลอดจนชักนาให้ปฏิบัติ ตามแนวความคิดที่นาเสนอ ๖.๒.๒ ความสาคญั ของการโฆษณา การโฆษณาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ โดยหวังผลประโยชน์ในทางการค้า การโฆษณามีบทบาทและความสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจดงั น้ี (สภุ คั มหาวรากร. ๒๕๔๗ : ๑๕๓) ๑. เพือ่ ให้ผบู้ ริโภคร้จู ักสินคา้ หรือบรกิ าร ๒. เพื่อเนน้ ย้าลกั ษณะพิเศษของสินค้าหรือบรกิ าร ๓. เพ่อื กระต้นุ การตดั สินใจของผู้บรโิ ภค ๔. เพื่อสร้างความใกลช้ ดิ กบั ผ้บู รโิ ภค ๕. เพื่อการแขง่ ขนั ทางดา้ นการคา้ ๖. เพื่อเรง่ การขายใหเ้ รว็ ขึน้ ๗. เพอ่ื ขายสนิ ค้าหรือบรกิ าร ๖.๒.๓ การใช้ภาษาในการโฆษณา โฆษณา เป็นสารโน้มน้าวใจ ดังนั้นภาษาท่ีใช้ในการโฆษณาจึงมีลักษณะเฉพาะที่น่าสนใจ โดยเน้น การจูงใจใหผ้ ู้บรโิ ภคคล้อยตามด้วยวิธีการใช้ภาษาดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๑. การใช้ภาษาอย่างมีจิตวิทยา เป็นการใช้หลักทางจิตวิทยามาดึงดูดใจผู้บริโภคโดยการนาลักษณะ ค่านิยมของคนในชาติมานาเสนอ หรือการแสดงลักษณะเฉพาะพิเศษของคนหรือกลุ่ม รวมถึงการแสดงความ เป็นหมู่เป็นพวก ตวั อย่างการโฆษณาโดยการใช้ภาษาอยา่ งมจี ติ วิทยา ตัวอยา่ งเชน่ คนไทยหัวใจลูกทุ่ง (เคร่ืองด่มื ลูกท่งุ ) รีเจนซ่ี บรัน่ ดีไทย ( รเี จซ่ี) เขาช่องรสแท้กาแฟไทย (กาแฟเขาชอ่ ง) ไบกอน พลงั ในมอื คุณ (ไบกอน) ลูกผชู้ ายตวั จรงิ กระทิงแดง (เคร่ืองดืม่ กระทิงแดง) เบนซ์ ศกั ดศิ์ รีแห่งผู้นา (รถยนต์) ชุดการเรยี นรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๐ ๒. ใช้ภาษาเพื่อแสดงเหตุผล เป็นการใช้ภาษาที่แสดงรายละเอียด หรือโยงไปสู่เหตุการณ์ ปัจจุบันที่กาลังเป็นท่ีสนใจ มีการอ้างเหตุและผลเพ่ือโน้มน้าวใจผู้บริโภคซึ่งอาจจะมีความสมเหตุสมผลจริง หรือเป็นเพยี งการสรา้ งแรงจูงใจด้วยเหตุผลสมมติ ตวั อย่าง เช่น เริ่มตน้ ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ไม่ยึดตดิ ชีวิตอสิ ระ (นสิ สนั เอกซ์ ไทรอลั ) โนต้ บ้กุ จอกวา้ งใหค้ ณุ ยิ้มกว้าง ทกุ อย่างเปน็ ไปได้ ถา้ ใจมงุ่ มั่น (ฟอร์ด) เท่ยี วเมอื งไทย ไมไ่ ปไมร่ ู้ (ท.ท.ท.) ไมร่ ูจ้ กั คดิ ชวี ิตก็ไม่แตกตา่ ง (อาซาฮี บีน) ๓. ใช้ภาษาท่ีเกินความจริง เป็นการใช้ภาษาที่มุ่งดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคโดยไม่คานึงถึง หลกั ความเป็นจรงิ บางคร้งั อาจใชเ้ พ่อื เปน็ การสรา้ งอารมณ์ขัน หรือทาให้เกิดภาพและจินตนาการ การใช้ภาษา เกินความจริงบางครั้งอาจมีความหมายส่ือไปถึงการโฆษณาเกินจริงได้ จึงควรระมัดระวังในการใช้ภาษาในการ สือ่ สารไดด้ ้วย ตัวอยา่ งเช่น ความสขุ ของมวลมนษุ ยค์ ือหน้าทีข่ องเรา ความสุขทค่ี ณุ ดืม่ ได้ (คลอสเตอรเ์ บยี ร์) (ชาเขียวโมชิ) การบนิ ไทยรกั คณุ เทา่ ฟา้ (การบินไทย) กะรัตอญั มณแี ห่งสุขภณั ฑ(์ เครื่องสุขภัณฑ์) สวยสยบทุกสายตาดว้ ยนาฬิกา... อรอ่ ยจนหยุดไม่ได้ (มันฝรั่ง) ๔. ใช้ภาษาที่ผู้บริโภคต้องตีความเอง เป็นการใช้ภาษาที่ไม่ได้ให้ความจริงท้ังหมด เนื่องจากภาษาที่ใช้ สื่อความหมายไม่ชัดเจนและตีความได้หลายอย่าง ตวั อย่างเชน่ ราคาพเิ ศษ สาหรับคนพเิ ศษ (บา้ น) สัมผสั ใหมแ่ ห่งการนอน (เครอ่ื งนอนโตโต้) ผอ่ นสบาย ๆ ด้วยเงือ่ นไขพเิ ศษ (รถยนต์) ไบกอน พลังในมือคุณ (ไบกอน) Clarks ก้าวเดินอยา่ งมัน่ ใจ ในสไตล์ ปกป้องไมม่ ีวนั หยุด (Castral) โดดเดน่ ทเ่ี ปน็ คณุ (รองเทา้ Clarks) ๕. ใช้ภาษาต่างประเทศ คนไทยมีค่านิยมเร่ืองการใช้สินค้าต่างประเทศมากกว่าสินค้าไทย การใช้ ภาษาต่างประเทศจะทาใหโ้ ฆษณานน้ั นา่ เชื่อถือยิ่งข้นึ ว่าเป็นสนิ ค้าตา่ งประเทศ True Together. (ทรู) The national next step. (เนช่นั แนล) LG Life’s Good. (แอลจี) Toto Beyond Expectation. (เครื่องนอนโตโต้) SUZUKILife is acion. (ซซู กู ิ) VOLVO for life.(รถยนตว์ อลโว) ๖.๒.๔ องคป์ ระกอบของการโฆษณาในสื่อสิง่ พิมพ์ การเขียนโฆษณาเป็นการให้ข้อมูลท่ีเป็นรายละเอียดและจุดเด่นของสินค้าเพื่อโน้มน้าวใจให้เกิด การตัดสินใจเลือกซื้อเลือกใช้สินค้าและบริการ การเขียนโฆษณาในส่ือสิ่งพิมพ์มีองค์ประกอบดังน้ี (นวภรณ์ อนุ่ เรอื น. ๒๕๔๗: ๑๔๘-๑๔9 และสุภัค มหาวรากร. ๒๕๔๗ : ๑๕๕) ๑. พาดหัว เป็นส่วนแรกท่ีทาให้ผู้พบเห็นสะดุดตาและประทับใจโฆษณาอาจใช้ขนาด และสีสัน ตวั หนังสือ หรือขอ้ ความซ่ึงควรมจี านวนคาในสว่ นพาดหวั ประมาณ ๘ - ๑๕ คา ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๑ ๒. พาดหัวรองหรือข้อความขยายพาดหัว เป็นส่วนท่ีช่วยอธิบายหรือขยายข้อความพาดหัวให้เข้าใจ กระจา่ งยิง่ ข้นึ ถ้าพาดหวั หลักมีความชัดเจนแลว้ พาดหัวรองอาจไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมีกไ็ ด้ ๓. บทขยายรายละเอียดของสินค้าหรือบริการ หรือเรียกว่า ส่วนข้อความโฆษณา เป็นส่วนท่ีนาเสนอ ขอ้ มลู รายละเอียดของสินค้าหรือบรกิ ารท่ีจะโฆษณา ๔. ข้อความปิดท้าย เป็นส่วนสรุปหรือส่วนท้ายของโฆษณา ส่วนน้ีอาจจะเป็นคาคมหรือคาขวัญ ซึ่งเป็นวิธีกระตุ้นให้ลูกค้าตัดสินใจซ้ือสินค้าหรือบริการน้ัน หรือเป็นส่วนที่บอกถึงแหล่งผลิตหรือสถานที่ ที่สามารถซอ้ื สินคา้ ได้ ๕. ภาพประกอบ เป็นส่วนที่มีหรือไม่มีก็ได้ ภาพประกอบท่ีดีเป็นส่วนดึงดูดใจลูกค้าให้สนใจ โฆษณาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ภาพท่ีใชค้ วรมีลกั ษณะสร้างสรรคแ์ ละสัมพันธ์กบั เน้อื หาโฆษณา ตัวอย่างโฆษณาในสอ่ื สิ่งพิมพ์ ภาพที่ ๖.๒.๑ ภาพการโฆษณาทพิ ยประกนั ภัย ชดุ การเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๒ ๖.๒.๕ การเขียนโฆษณาในสื่อสิ่งพมิ พ์ ๑. การเขียนข้อความพาดหัวโฆษณา การเขียนพาดหวั โฆษณาใหด้ งึ ดูดความสนใจมีหลายวิธีการที่นิยม ใชด้ งั นี้ ภาพที่ ๖.๒.๒ ภาพโฆษณาทใี่ ชค้ าคมคาขวญั เป็นสว่ นพาดหวั โฆษณา ๑.๒ การใช้คาถาม เป็นวิธีการต้ังคาถามไปยังกลุ่มลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดความสนใจ ในการคน้ หาคาตอบจากโฆษณา ตัวอยา่ งเชน่ ภาพท่ี ๖.๒.๓ ภาพโฆษณาท่ใี ช้คาถามเปน็ สว่ นพาดหัวโฆษณา ๑.๓ การให้สัญญาหรือรับรองคุณภาพ เป็นวิธีการใช้ถ้อยคาเพื่อสร้างความม่ันใจเพ่ือให้เกิด ความพึงพอใจและประโยชน์ทจี่ ะไดร้ บั จากสนิ ค้านน้ั ๆ ตวั อย่างเชน่ ภาพที่ ๖.๒.๔ ภาพโฆษณาทใี่ ชก้ ารรบั รองคณุ ภาพเปน็ ส่วนพาดหวั โฆษณา ชดุ การเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๓ ๑.๔ การบอกวธิ กี ารใช้สินคา้ หรอื บรกิ าร เพ่ือใหล้ ูกคา้ เกิดความเขา้ ใจในสนิ ค้าหรือบริการ ตวั อยา่ งเช่น ตม้ ผดั แกงทอดหอมอร่อยในพริบตาคคู่ รวั รสดี ใช้ดมใช้ทาในหลอดเดยี วกัน (ยาดมตราโป๊ยเซียน) คดิ จะเคยี้ ว เคีย้ วคิทแคท (คทิ แคท) ยาหมอ่ งตราถว้ ยทอง ทาถู ทาถู เปดิ ปบุ้ ติดปั้บ (โทรทศั นฮ์ ติ าชิ) ปวดหัวเปน็ ไข้ไช้ซาร่า (ยาแกป้ วดแก้ไข)้ ๑.๕ การเจาะจงถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เป็นวิธีการที่เลือกระบุกลุ่มลูกค้ามี่จะเลือกใช้สินค้าหรือ บรกิ ารตัวอย่างเชน่ คนไทยหัวใจลกู ท่งุ (เครอื่ งดมื่ ลกู ทุ่ง) เบนซ์ ศักดิ์ศรีแหง่ ผ้นู า ใกลห้ มอนิตยสารสาหรบั คนรักสุขภาพ โดโซะ อร่อยถูกใจคนทุกวัย ลูกผชู้ ายตวั จรงิ กระทงิ แดง (เคร่อื งดื่มกระทิงแดง) ตอบรับไลฟส์ ไตลช์ ีวิตทมี่ รี ะดบั กบั นสิ สนั X-Trail ใหม่ ๒. การเขียนข้อความในสว่ นเน้อื หาโฆษณา ส่วนเน้ือหาโฆษณาจะเป็นส่วนท่ีช่วยสร้างความน่าเช่ือถือและความมั่นใจในสินค้าและบริการ การเขียนข้อความต้องชัดเจน อ่านง่าย สามารถชักจูงหรือโน้มน้าวใจลูกค้าได้ การเขียนในส่วนเน้ือหาโฆษณา มีหลายวิธกี ารดังน้ี ๒.๑ การเขียนข้อความเนื้อหาโฆษณาแบบขายตรง เป็นวิธีการนาเสนอสินค้าโดยตรงเพื่อเน้น ให้ลกู คา้ ซ้อื สินคา้ ทีน่ าเสนอ ตัวอย่างเช่น ภาพท่ี ๖.๒.๕ ภาพโฆษณาทใี่ ชข้ ้อความเน้ือหาโฆษณาแบบขายตรง ชุดการเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๔ ๒.๒ การเขียนข้อความเนื้อหาโฆษณาแบบกล่าวอ้างเกียรติภูมิ เป็นการนาเสนอถึงความสาเร็จ โดยการกล่าวอ้างถึงรางวัล การรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับสินค้า เช่น มาตรฐานการรับรอง จากองค์การอาหารและยา (อย.) หรือมาตรฐานการรับรองจากกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก. ) เป็นต้น ตวั อย่างเช่น ภาพท่ี ๖.๒.๖ ภาพโฆษณาทใ่ี ชข้ ้อความแบบกล่าวอา้ งเกียรตภิ มู ิ ๒.๓ การเขียนข้อความเนื้อหาโฆษณาแบบกล่าวอ้างประจักษ์พยาน เป็นวิธีการนาเสนอสินค้า โดยการกล่าวอ้างอิงบุคคล หรือคาพูดของบุคคล หรือการกล่าวอ้างเอกสารอ้างอิงเพื่อยืนยันคุณภาพหรือข้อดี ของสนิ คา้ และบริการ ตวั อย่างเชน่ ภาพที่ ๖.๒.๗ ภาพโฆษณาท่ีใชข้ ้อความเนอ้ื หาโฆษณาแบบกลา่ วอา้ งประจักษ์พยาน ๒.๔ การเขียนข้อความเนื้อหาโฆษณาแบบเร้าอารมณ์ เป็นวิธีการนาเสนอสินค้าเพ่ือให้ลูกค้า เกิดอารมณ์หรือความรู้สึกคล้อยตามเน้ือหาของโฆษณา มักจะใช้วิธีการเขียนเชิงสร้างสรรค์ มีการเลือกใช้คา ทท่ี าใหเ้ กิดภาพ จินตนาการหรอื เกดิ อารมณค์ วามรูส้ กึ คล้อยตาม ตัวอยา่ งเช่น ภาพที่ ๖.๒.๘ ภาพโฆษณาท่ใี ช้ขอ้ ความเนอื้ หาโฆษณาแบบเรา้ อารมณ์ ชดุ การเรยี นรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๕ ๒.๕ การเขียนข้อความเนื้อหาโฆษณาแบบใช้ภาพและบรรยายใต้ภาพ เป็นการใช้ภาพในการสร้าง ความสนใจหรอื แสดงลกั ษณะของสนิ ค้าและบริการโดยมีการบรรยายประกอบภาพ ตวั อยา่ งเช่น ภาพที่ ๖.๒.๘ ภาพโฆษณาที่ใช้ขอ้ ความเนื้อหาโฆษณาแบบใชภ้ าพและบรรยายใต้ภาพ ๓. การเขยี นข้อความปิดท้ายโฆษณา ส่วนท้ายโฆษณาเป็นส่วนสาคัญที่จะสรุปเนื้อหาโฆษณาเพ่ือให้ลูกค้าประทับใจและกระตุ้นให้เกิด การตดั สนิ ใจซ้ือสนิ ค้าหรือบรกิ าร ขอ้ ความปิดท้ายจะนิยมใช้คาขวัญซึ่งเป็นข้อความส้ัน ๆ มีถ้อยคาสัมผัสคล้อง จองเพือ่ ความไพเราะและจดจาง่าย ดงั นี้ ๓.๑ คาขวัญที่โฆษณาสินค้าโดยตรง เป็นการสรุปคุณสมบัติหรือลักษณะสาคัญของสินค้าหรือบริการ โดยตรง ตวั อย่างเชน่ นมตรามะลใิ หมส่ ดเสมอ ขาวข้น หวานมัน ไวตามลิ ค์ ใหโ้ ปรตนี อม่ิ สบายทอ้ ง นมสดหนองโพ นมโคแท้ มริ ินด้า ซา่ สุดใจ ข้าวมาบญุ ครอง สะอาดทกุ ถุง หงุ ขน้ึ หมอ้ หอม อรอ่ ย น่มุ ...เหลอื เชื่อ (ขา้ วหงส์ทอง) Good Year อีกขดี ขนั้ แหง่ ความลา้ หน้าทางเทคโนโลยี ๓.๒ คาขวัญท่ีใช้ช่ือสินคา้ สถาบัน หรอื บรษิ ัท เป็นการสร้างความน่าเชื่อถือหรือความมั่นใจในคุณภาพ สนิ ค้าทเ่ี ปน็ ทีย่ อมรบั ของลูกคา้ เพอื่ ใหเ้ กดิ การตดั สินใจได้งา่ ยขึน้ ตัวอยา่ งเชน่ รีเจนซ่ี = รเี จนซี่ บรั่นดีไทย SHARP กา้ วล้าไปในอนาคต SAMSUNG สัมผัสท่ลี ึก...ถงึ พลงั สร้างสรรค์ Sanyo เสริมความสุขทุกครอบครัว โตชิบา...นาส่ิงท่ีดสี ู่ชวี ติ คุ้มคา่ ทกุ นาที ดทู วี ีสชี ่อง ๓ ชดุ การเรียนรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๖ ช่อง ๕ นาคณุ ค่าสูส่ ังคมไทย Dtac งา่ ยสาหรบั คณุ One-๒-call งา่ ยยิ่งกวา่ นบั ๑-๒-๓ บางจาก ผ้นู าด้านพลงั งานทดแทน เอสโซ่พลงั เสอื เพื่อคุณ ธนาคารนครหลวงไทย ใสใ่ จดูแลคุณ บลจ.ทหารไทย ค่ชู ีวติ การลงทุน มาทดสอบความรู้กันหนอ่ ยนะคะ https://h5p.org/node/454932 กจิ กรรมท่ี ๖.๒.๑ ใหน้ กั ศึกษาวเิ คราะห์โฆษณาสินคา้ จากสือ่ สิ่งพมิ พ์ตามใบงานที่ ๖.๒.๑ กจิ กรรมที่ ๖.๒.๒ ให้นักศึกษาศึกษารายละเอียดของสินค้า ๑ ประเภทแล้วนาข้อมูลมาเขียนโฆษณาสินค้า ให้มีองค์ประกอบของการโฆษณาครบท้ัง ๕ ประกอบโดยคานึงถึงการใช้ภาษาในการ โน้มน้าวใจและเหมาะสมกับองค์ประกอบแต่ละสว่ นตามใบงานท่ี ๖.๒.๒ ชดุ การเรียนรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๗ ทบทวนความรกู้ ารเขียนจดหมายธุรกิจ โฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ http://bit.ly/thaiact64 ชดุ การเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๘ เอกสารอา้ งองิ เชอรา ซเี คียว จากดั . (๒๕๕๖) “เจ้าแรกในประเทศไทย ปทู บั กระเบ้ืองไดโ้ ดยไม่ต้องทุบ.” บ้านและสวน. ๓๗ (๔๓๘), ๗9. เชฟโรเล็ท. (๒๕๕๘) “Chevrolet Spin.”ยานยนต์. ๒๕ (๑๕), ๑๒. ทพิ ยประกันภัย.(๒๕๕๖) “โฆษณาทิพยประกันภัย.” อนสุ าร อสท. ๕๔ (๒), ๔๕. นครชัยแอร์. (๒๕๕๖) “โฆษณานครชัยแอร์.” อนสุ าร อสท. ๕๔ (๒), ๑๕๐. นวภรณ์ อุ่นเรือน. (๒๕๔๗). ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ..กรงุ เทพฯ : จติ รวฒั น์. สุภัค มหาวรากร. (๒๕๔๗). ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอมพนั ธ์. แอมเวย์.(๒๕๕๓) “แผ่นซบั มันบนใบหนา้ อาร์ทิสทรี.” Amway แคตตาลอ็ กผลติ ภัณฑ์, ๑(๑),๘๔. ไออารพ์ ีจี.(๒๕๕๖) “ชัน้ วางของ Queen.” บา้ นและสวน. ๓๗ (๔๓๘), ๒๔9. โฮมมารท์ . (๒๕๕๖) “ตราช้าง Excella กระเบ้ืองหลงั คาเซรามิคแท้ทดี่ ีท่สี ุด.” บ้านและสวน. ๓๗ (๔๓๘), ๒๖. Banner on line. (๒๕๕๗). ตวั อยา่ งงาน Hilight สินคา้ . สบื คน้ เมอ่ื ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๘, จาก http://www.bannerline.net. ชดุ การเรยี นรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๒๙ ใบกิจกรรมที่ ๖.๒.๑ การวิเคราะหโ์ ฆษณาสนิ ค้าจากส่ือส่งิ พิมพ์ ................................................. คาสั่ง ให้นักศึกษาตัดโฆษณาจากสื่อส่ิงพิมพ์โดยเลือกโฆษณาที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์นามาวิเคราะห์ องคป์ ระกอบและรูปแบบการใช้ภาษาตามแบบฟอร์มท่ีกาหนดโดยการคัดลอกข้อความ แต่ละส่วนของโฆษณา ลงในช่องว่างทก่ี าหนด ๑. ชอื่ สินคา้ ............................................................................................................................. ............... ๒. พาดหวั โฆษณา ................................................................................................... ........................................................ รปู แบบพาดหวั โฆษณา ............................................................................................................................. .............................. ๓. พาดหัวรอง ..................................................................................................................................... ...................... ๔. เนอื้ หาโฆษณา ............................................................................................ ............................................................... รปู แบบการใช้ภาษาในเน้ือหาโฆษณา ............................................................................................................................. .............................. ส่วนทา้ ยโฆษณา ............................................................................................................................. .............................. ๕. รปู ภาพประกอบการโฆษณา มี ไม่มี ๖. ข้อความคาขวญั โฆษณา ............................................................................................................................. .............................. ๗. จดุ เดน่ ของโฆษณาน้คี ือ ........................................................................................................................................................... จุดดอ้ ยของโฆษณานีค้ ือ ............................................................................................................................. .............................. ชุดการเรยี นรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๐ ใบกจิ กรรมที่ ๖.๒.๒ การเขยี นโฆษณาสนิ ค้า ................................................. คาสั่ง ใหน้ กั ศึกษาศึกษารายละเอยี ดของสินค้า ๑ ชนิดแลว้ นามาเขยี นโฆษณาตามหัวขอ้ ทีก่ าหนด ๑. พาดหัวโฆษณา ............................................................................................................................. .................... ๒. พาดหัวรอง ................................................................................................. ................................................ ๓. เน้ือหาโฆษณา ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................... .................. ............................................................................................................... ................................... ............................................................................................................................. ..................... ๔. สว่ นท้ายโฆษณา .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................................................... ....... .......................................................................................................................... ........................ ๕. ข้อความคาขวัญโฆษณา ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ชุดการเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๑ แผนการเรยี น มอดูลที่ ๖.๓ การเขียนประชาสัมพันธ์ มอดลู ท่ี ๖.๓ โปรดอา่ นหัวข้อเรื่อง แนวคิดและจุดประสงค์การเรยี นของมอดลู ท่ี ๖.๓ แลว้ จงึ ศกึ ษารายละเอยี ดต่อไป หวั ข้อเรอ่ื ง ๖.๓.๑ ความหมายของการประชาสัมพนั ธ์ ๖.๓.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการประชาสมั พนั ธ์ ๖.๓.๓ หลกั การเขียนประชาสัมพนั ธ์ ๖.๓.๔ การใชภ้ าษาในการประชาสัมพันธ์ ๖.๓.๕ การเขียนประชาสมั พันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ แนวคดิ การประชาสัมพันธ์เป็นการแจ้งข่าวสาร และความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานของตนให้ประชาชนได้ ทราบเพื่อให้เกิดความเชื่อม่ัน และเกิดความศรัทธาต่อหน่วยงานในระยะยาว การประชาสัมพันธ์ที่ดีต้องเลือก รูปแบบในการประชาสัมพันธ์ให้เหมาะสมกับเน้ือหา และจะต้องนาเสนอข้อมูลที่เป็นจริง โดยใช้ภาษาที่สุภาพ ส่ือความหมายชัดเจน หากต้องใช้ภาพประกอบก็ควรเลือกภาพที่เหมาะสมเพื่อสร้างภาพลักษณ์ท่ีดี ตอ่ หน่วยงาน จุดประสงค์การเรียน ๑. เมื่อศกึ ษาหัวขอ้ เรื่องที่ ๖.๓.๑ “ความหมายของการประชาสมั พนั ธ์” แล้ว ผเู้ รยี นสามารถอธิบาย ความหมายของการประชาสมั พนั ธไ์ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๒. เมอ่ื ศกึ ษาหวั ข้อเร่ืองท่ี ๖.๓.๒ “วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์” แล้ว ผ้เู รยี นสามารถบอก วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพนั ธไ์ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๓. เม่อื ศึกษาหัวขอ้ เรอ่ื งที่ ๖.๓.๓ “หลกั การประชาสัมพนั ธ์” แลว้ ผเู้ รียนสามารถอธบิ ายหลกั การ ประชาสมั พันธ์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๔. เมอ่ื ศกึ ษาหวั ขอ้ เรอื่ งท่ี ๖.๓.๔ “การใชภ้ าษาในประชาสัมพนั ธ์” แลว้ ผ้เู รยี นสามารถบอก ลักษณะของภาษาในการประชาสมั พนั ธไ์ ด้อยา่ งถกู ต้อง ๕. เมื่อศกึ ษาหวั ข้อเร่ืองที่ ๖.๓.๕ “การประชาสัมพนั ธใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ” แลว้ ผเู้ รยี นสามารถ เขยี นประชาสมั พันธ์ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ชุดการเรยี นรายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๒ เนอ้ื หา ๖.๓.๑ ความหมายของการประชาสัมพนั ธ์ การประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ความรู้และข่าวสารของหน่วยงานแก่ประชาชน เพื่อถ่ายทอด เรอื่ งราวข่าวสาร เผยแพร่ความรู้ ข้อเทจ็ จริง รายงานเหตกุ ารณ์การจัดกจิ กรรมภายในองค์การโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อสร้างและรักษาไว้ซ่ึงความสัมพันธ์อันดีกับประชาชนทาให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และให้การ สนบั สนุนการดาเนนิ งานขององค์การรวมถงึ เป็นการสรา้ งภาพลักษณ์ที่ดใี ห้กับองคก์ ร ๖.๓.๒ วตั ถุประสงคข์ องการประชาสมั พนั ธ์ สุภัค มหาวรากร (๒๕๔๗ : ๑๗๑) และนวภรณ์ อุ่นเรือน (๒๕๔๗ : ๑๕๕) กล่าวถึง วัตถุประสงค์ ของการประชาสมั พนั ธ์ไว้ดงั น้ี ๑. เพื่อบอกกล่าว เผยแพร่ ให้ความรู้และแจ้งข่าวสารของหน่วยงานให้บุคคลท่ัวไปได้ทราบเพื่อสร้าง ความสัมพนั ธก์ ับประชาชนหรือกล่มุ เปา้ หมาย ๒. เพ่ือป้องกันและแก้ไขไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดต่อองค์กร สถาบัน หรือหน่วยงาน โดยการให้ความรู้ และสร้างทัศนคตทิ ี่ดตี อ่ องค์กร ๓. เพ่ือตรวจสอบกระแสประชามติของประชาชนต่อหน่วยงานอันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนา และแกไ้ ขปัญหาที่อาจเกดิ ขนึ้ ได้ ๔. เพอื่ สร้างความศรทั ธา ความนยิ มใหเ้ กิดข้ึนกบั องค์กร สถาบนั หรือหน่วยงานน้ัน ๆ ๕. เพ่ือรกั ษาช่ือเสียงเกียรตยิ ศขององค์กร สถาบนั หรือหนว่ ยงาน มิให้เสอ่ื มเสยี ๖. เพอื่ อานวยความสะดวกในการตดิ ตอ่ สือ่ สารระหว่างองค์กร สถาบัน หรือหน่วยงาน ให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ๖.๓.๓ หลกั การเขียนเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ การเขียนเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์มหี ลกั การดงั น้ี (สภุ ัค มหาวรากร. ๒๕๔๗ : ๑๗๑) ๑. นาเสนอข้อมูลท่ีเป็นความจริง ผู้เขียนต้องศึกษาข้อมูลทั้งหมดอย่างละเอียด เพื่อให้ได้ข้อความ ทตี่ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ งั้ ไวอ้ ย่างเปน็ จริง ๒. ใช้ภาษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ถูกต้องตามหลักภาษา เขยี นให้กระชับชดั เจนและตรงประเด็นมากทส่ี ุด ๓. หลีกเล่ยี งการใชส้ ถิตหิ รือตัวเลขต่าง ๆ เพราะอาจทาให้เกิดความสบั สน ควรเขยี นหรือยกตัวอย่างงา่ ย ๆ ๔. องคป์ ระกอบในข้อความประชาสัมพนั ธค์ วรสอดคล้องกันทัง้ ข้อความ และรปู ภาพประกอบ ๕. ไมเ่ ขียนโจมตหี รอื ยกย่องผหู้ น่ึงผู้ใดมากเกนิ ไป ๖. ควรเขียนเพื่อสรา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดโี ดยมุ่งให้เกดิ ความรสู้ กึ ผูกพนั และมสี ่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน กบั ประชาชน ๗. ในการประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการตลาด ควรนาเสนอเร่ืองราวที่สัมพันธ์กับกิจกรรมทางธุรกิจ อย่างใกล้ชดิ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ บู้ รโิ ภคยอมรบั และตอ้ งการสินค้าหรือบริการ ชดุ การเรียนรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๓ ๖.๓.๔ การใชภ้ าษาในการประชาสมั พนั ธ์ การประชาสัมพันธ์เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารหรือข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้นในหน่วยงานหรือองค์กร สู่ประชาชนผ่านสื่อมวลชนทั้งส่ือส่ิงพิมพ์ประเภท หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และแผ่นพับใบปลิว ต่าง ๆ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เช่นวิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ซ่ึงการประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือแต่ละประเภทจะมี รปู แบบในการนาเสนอท่ีแตกต่างกัน การใช้ภาษาในการประชาสัมพันธ์ต้องคานึงถึงความเหมาะสมกับรูปแบบ ของส่ือทนี่ าเสนอและหลักการใชภ้ าษาดงั น้ี ๑. ใชภ้ าษาทางการ หรอื กง่ึ ทางการ เพราะเปน็ การให้ขอ้ มลู ข่าวสารอยา่ งตรงไปตรงมา ๒. ใช้ภาษาที่สุภาพ หลกี เล่ยี งการใช้ศพั ทส์ แลง ๓. ใช้ภาษาท่ีส่อื ความหมายชัดเจน ๔. เขียนถอ้ ยคาตา่ ง ๆ ตรงไปตรงมาในสว่ นทเ่ี ปน็ ข้อเท็จจรงิ ๕. ไม่ควรเขียนข้อมูลอวดอ้างเกนิ ความจริง ๖. หากใช้ภาพประกอบควรเลอื กภาพท่ีเหมาะสมเพ่ือสรา้ งภาพลักษณ์ทด่ี ีให้หน่วยงาน ๖.๓.๕ ประเภทของงานเขยี นเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์เป็นการเขียนเพื่อนาเสนอเนื้อหาข้อมูลในเชิงสร้างสรรค์หรือเชิงบวก ต่อหนว่ ยงาน ซึง่ มีวิธกี ารเขยี นไดห้ ลายวิธีการดังนี้ ๑. การเขียนคาบรรยายภาพ เป็นการเขียนเพ่ือนาเสนอข้อมูลเชิงอธิบายเสริมรายละเอียดของภาพ โดยยึดหลักเสนอเกี่ยวกับใคร ทาอะไร ที่ไหน ทาไม อย่างไร เมื่อไร ส่วนใหญ่การเขียนมักนาเสนอกิจกรรม ท่ีหน่วยงานให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือสังคมในด้านต่าง ๆ ซ่ึงเป็นวิธีการที่สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับ หน่วยงานได้ดที ส่ี ุด ชดุ การเรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๔ ตวั อย่างการเขียนประชาสัมพันธใ์ นรปู แบบการเขยี นคาบรรยายภาพ สอศ.จับมือองค์กร Friends Cooperative Association มอบทุนเดก็ อาชีวะฝึกวิชาชีพทีญ่ ีป่ ุน่ นายวณิชย์ อว่ มศรี รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา เป็นประธานลงนามความร่วมมือกับ มร. เคอิชิ โอกาโน ประธานองค์กรเฟรน โคเปอร์เรทีฟ แอส โซซิเอชั่น ( Friends Cooperative Association : F.C.A) เพ่ือประสานความร่วมมือในการส่งนักศึกษาวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีและวิทยาลัยประมง สถาบัน อาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง รับทุนไปฝึกงานที่ประเทศ ญ่ีปุ่น ณ ห้องประชุม ๑ สานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ๒. การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ เป็นการเขียนข่าวสารซึ่งหน่วยงานจัดทาขึ้นเพ่ือจัดส่งไปยัง ส่ือมวลชนเพื่อกระจายขา่ วสารสูป่ ระชาชนโดยมุ่งเสนอข้อเทจ็ จริงทเี่ ที่ยงตรงกระชับรัดกุมชัดเจนและปราศจาก ข้อคดิ เห็นของผู้เขียน ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข่าวแจก มีหลักในการเขียนข่าวเช่นเดียวกับข่าว ทวั่ ไปคอื มงุ่ ตอบคาถามวา่ ใคร ทาอะไร ทไี่ หน เม่อื ใด ทาไมและอยา่ งไร ใชภ้ าษากึ่งทางการในการนาเสนอ สภุ ัค มหาวรากร (๒๕๔๗ : ๑๘๑) กลา่ วถึงลักษณะการเขียนขา่ วประชาสมั พนั ธ์ดังนี้ ๒.๑ นิยมเขียนแบบปิระมิดหัวกลับ โดยนาใจความสาคัญมาไว้ตอนต้น อาจมี ๒ - ๕ ย่อหน้า ตามความเหมาะสม การเขียนข่าวแบบปิระมิดหัวกลับทาให้สามารถตัดเนื้อหาส่วนท่ียาวเกินออกไปได้ โดยไมเ่ สยี สว่ นสาคัญของข่าว ๒.๒ ให้ความสาคัญกับการเขียนหัวข้อข่าวหรือหัวเร่ือง โดยใช้ข้อความส้ัน ๆ ดึงดูดความสนใจ ของผู้อา่ น ๒.๓ การนาเสนอขา่ วอาจเสนอลว่ งหนา้ ไดโ้ ดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม ๒.๔ เขยี นเฉพาะขอ้ เทจ็ จรงิ ไม่แทรกอารมณแ์ ละความร้สู กึ สว่ นตัวของผู้เขียน ๒.๕ ใชภ้ าษาทก่ี ะทัดรดั ส่อื ความหมายได้ชัดเจน ใชป้ ระโยคสนั้ ๆ ไม่ซบั ซ้อน ๒.๖ ไม่ควรใส่เคร่ืองหมายคาพูดเพื่อเน้นความสาคัญของข่าว ยกเว้นเป็นการยกคาพูด ของแหลง่ ขา่ วโดยตรงเท่านัน้ ๒.๗ หากมีภาพประกอบควรเก่ยี วข้องโดยตรงกบั ข่าวทสี่ ง่ ไป ๒.๘ ควรพิมพ์ข่าวเพียงหน้าเดียวเพ่อื ความสวยงามและสะดวกในการอา่ น ชุดการเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๕ ๒.๙ เมือ่ จบขา่ วใหร้ ะบุคาว่า “จบ” หรอื ทาเครือ่ งหมายเพ่ือแสดงว่าจบข่าวแล้ว เช่น # หรือ... เป็นตน้ ๒.๑๐ กรณีท่ีเป็นการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ส่งส่ือมวลชน ควรระบุแหล่งท่ีมาของข่าวหรือ ช่ือ นามสกุล หมายเลขโทรศพั ทท์ ่สี ามารถติดต่อได้ของผสู้ ่งข่าวไว้ท่ีมุมซ้ายด้านล่างใต้เครื่องหมายจบข่าว และระบุ วนั เดอื น ปีที่ส่งข่าวโดยระบุไว้ที่มุมขวาดา้ นล่างคู่กับแหล่งที่มาของขา่ ว รปู แบบการเขยี นข่าวประชาสมั พันธ์ส่งสื่อมวลชน ชือ่ /ตราหนว่ ยงาน ท่ตี ัง้ และหมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร หวั ข้อข่าวประชาสัมพนั ธ์ ........................................เนื้อหาขา่ วส่วนท่สี าคญั ท่ีสดุ ........................................................ ............................................................................................................................. .................................... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................... ............................................................................................................................. .................................... ................................................................................................................................................................. .........................................เนื้อหาขา่ วสว่ นทส่ี าคัญรองลงมา.............................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................... .........................................รายละเอยี ดเสริม (อาจไม่มีกไ็ ด้)……………………………………… ............................................................................................................................. .................................... ###### (เคร่ืองหมายจบข่าว) ช่อื -สกุล ผูส้ ง่ ข่าว วันเดือนปีทส่ี ่งขา่ ว ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ โทรศัพท.์ .............ตอ่ .............. ชดุ การเรยี นรายวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๖ ตัวอย่างข่าวประชาสัมพนั ธ์ กฟผ. เดินหน้าจบั มอื หอการคา้ ไทย เดินหน้าผลกั ดนั ธรุ กิจไทย ลดใช้พลงั งาน กฟผ. ลงนามความรว่ มมอื กบั หอการค้าไทย (หกท.) จัดทาโครงการสง่ เสริมการประหยัด พลงั งาน ผลกั ดันการใชพ้ ลงั งานอย่างมีประสิทธภิ าพในอาคารภาคธุรกิจอตุ สาหกรรม โดย กฟผ. ศกึ ษาการ ดาเนนิ งานในรปู แบบบริษทั จดั การพลงั งาน (ESCO) เพ่ือนารอ่ งเปล่ียนอปุ กรณป์ ระสิทธภิ าพสงู เบอร์ ๕ พร้อมส่งเสริมการจาหน่ายหลอด LED เบอร์ ๕ ใน ราคาพิเศษใหก้ บั กลุม่ สมาชิก คาดเกดิ องคก์ รธรุ กจิ ลด ใช้พลังงานตวั อยา่ งภายในกลางปี ๒๕๕๘ เม่ือวนั ที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๘ นายสุนชยั คานณู เศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. ลงนามความร่วมมือโครงการเพื่อส่งเสริมการประหยัดพลังงาน กับ นายสนั่น อังอุบลกุล ประธานคณะกรรมการพลงั งานและพลงั งานทดแทน หอการค้าไทย โดยมี นายณรงค์ชัย อคั รเศรณี รฐั มนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการกิจการสังคม กฟผ. และ นายสมศักดิ์ วิวัฒน ชาติ รองประธานคณะกรรมการการพลังงานและพลังงานทดแทน หอการค้าไทย ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธี ลงนาม และมผี ูบ้ ริหารระดบั สูงกระทรวงพลังงาน ผบู้ ริหาร กฟผ. ผู้บริหารหอการคา้ ไทย และสอ่ื มวลชน เข้า ร่วมงาน ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ ๑ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถ.วิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ นายสุนชัย คานูณเศรษฐ์ ผวู้ ่าการ กฟผ. กลา่ วถึงการดาเนนิ งานวา่ ตลอดระยะเวลากวา่ ๒๐ ปี ท่ีผา่ นมา กฟผ. ไดด้ าเนนิ โครงการการ จัดการด้านการใช้ไฟฟ้า เพ่ือรณรงค์ให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทุกภาคส่วนเกิดจิตสานึกในคุณค่าของพลังงาน ซึ่งจนถึง ปัจจุบัน สามารถลดปริมาณกาลังไฟฟ้าในระบบลงกว่า ๓,๖๐๐ เมกะวัตต์ลดการปล่อยก๊าซ คารบ์ อนไดออกไซดล์ งได้ ๑๒.๗ ล้านตนั ดงั นั้น เพอื่ ใหเ้ กิดการลดใช้พลังงานอยา่ งเปน็ รูปธรรมและต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะในภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมที่มีการใช้พลังงานถึงร้อยละ ๔๔ ของประเทศ กฟผ. จึงประสานงานไปยังหอการคา้ ไทย ซึง่ ทเปม่ี น็ าอ:งคกก์ารรไพฟันฟธ้ามฝิต่ารยกผนั ลมติ า,อ๒ย๕า่ ง๕ย๘าวนาน ในการจดั ทาโครงการสง่ เสรมิ การประหยัดพลงั งาน เพ่ือรณรงค์ใหเ้ กดิ การลดใช้พลังงานไฟฟา้ ในชว่ งฤดูรอ้ น และสรา้ งแนวร่วมในการแก้ไข ชดุ การเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหสั วชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๗ ๓. การเขียนบทความประชาสัมพันธ์ เป็นการเขียนความเรียงจากข้อเท็จจริง มุ่งเสนอสาระ และความคิดโดยมีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน อาจแทรกข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นของผู้เขียน เพ่ือกระตุ้น ผอู้ า่ นคดิ โดยท่วั ไปมักเสนอชื่อหนว่ ยงานของตนเป็นการประชาสมั พนั ธ์ โดยระบุว่า “ด้วยความปรารถนาดีจาก .....” หรอื ใช้ตราเครอ่ื งหมายการคา้ ประกอบ เปน็ ต้น ตัวอยา่ งบทความประชาสัมพันธ์ ที่มา : การไฟฟ้าฝา่ ยผลิต, ๒๕๕๘ ชดุ การเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ รหัสวิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๘ ๔. การเขียนบทสัมภาษณ์เพ่อื การประชาสัมพันธ์ เปน็ การประชาสมั พนั ธ์หน่วยงานโดยใช้การพูดคุย มีการตั้ง คาถามเพ่ือขอคาตอบจากผู้สัมภาษณ์ บางคร้ังอาจมีลักษณะการเรียบเรียงคาพูดของคนเดียวแบบ เล่าเรื่อง ควรมีการตั้งชื่อเร่ืองและภาพประกอบท่ีน่าสนใจจุดประสงค์ของการเขียนชนิดนี้เพ่ือแนะนาบุคคล เพื่อถ่ายทอดข้อมูลเก่ียวกับองค์กร เพื่อสร้างความน่าเช่ือถือและความรู้สึกที่ดีต่อเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง เพื่อเสนอ ความคดิ เห็นหรอื ทศั นะทว่ั ไป และเพื่อสร้างความสมั พันธ์รวมถึงบรรยากาศที่ดีภายในองค์กร ตัวอย่างบทความสัมภาษณ์ ทมี่ า : สกปู้ พเิ ศษ, ๒๕๕๓ ชุดการเรยี นรายวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๓๙ ๕. การเขียนประกาศเพื่อการประชาสัมพันธ์ เป็นการเขียนท่ีมุ่งแจ้งข่าวสารทั่วไป นโยบาย หรือโครงการใหม่ และกรณีมีโอกาสพิเศษที่ต้องแก้ไขความเข้าใจผิดจากหน่วยงานสู่ประชาชน ต้องใช้ภาษา ท่ีเป็นทางการ กระชับ รัดกุม และใช้ถ้อยคาที่มีน้าหนักเพ่ือสื่อสารให้ตรงเป้าหมายในระยะเวลาส้ัน ๆ รูปแบบ การเขยี นมที ้ังประกาศทีเ่ ปน็ ทางการและประกาศทไ่ี ม่เป็นทางการ ตวั อยา่ งประกาศท่เี ป็นทางการ ชุดการเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑

๔๐ ตัวอย่างประกาศท่ไี ม่เปน็ ทางการ ทม่ี า : สถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร,2556 ๖. การเขียนคาขวัญ เป็นการใช้ถ้อยคาที่ส้ัน และกระชับความยาวไม่เกิน ๑๕-๒๐ คา มีเสียงสัมผัส คล้องจองกัน เพ่ือสื่อความหมายอย่างชัดเจนและมีพลัง โดยมีจุดหมายเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงาน หรือกระตุ้นทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อาจเป็นคาขวัญประจาหน่วยงาน องค์กร หรือคาขวญั รณรงค์โครงการ หรอื กิจกรรมใดกิจกรรมหนึง่ ๖.๑ คาขวัญประจาหน่วยงาน องคก์ ร สถาบัน เชน่ หนึ่งวสิ ยั ทศั น์ หนงึ่ อัตลกั ษณ์ หนึ่งประชาคม (คาขวัญอาเซียน) กรุงเทพ ฯ ดุจเทพสร้าง เมอื งศนู ยก์ ลางการปกครอง วดั วงั งามเรืองรอง เมืองหลวงของประเทศไทย (คาขวัญกรุงเพมหานคร) เพือ่ นคูค่ ิด มิตรคบู่ ้าน (ธนาคารกรุงเทพฯ) ๖.๒ คาขวญั รณรงค์ โครงการหรือกจิ กรรม เช่น ร่วมพิทักษ์ ร่วมรกั ษท์ ะเลไทย (คาขวญั วนั ส่งิ แวดล้อมไทย) ขับรถถกู กฎ ชว่ ยลดอุบัติเหตุ (คาขวญั รณรงคก์ ารใช้รถใชถ้ นน) สามคั คี มคี วามรู้ คูป่ ญั ญา คงรักษาความเปน็ ไทย ใสใ่ จเทคโนโลยี (คาขวัญวนั เดก็ ) ชดุ การเรียนรายวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี รหสั วิชา ๓๐๐๐๐ -๑๑๐๑