แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ doc

แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ doc

❝ เกณฑ์การประเมินห้องเรียนคุณภาพ ❞

แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ doc


แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ

โรงเรียน.....................................................................สพท.เลย เขต ๒

ด้านกายภาพ(คุณภาพห้องเรียน)

สภาพของสื่อและอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

สภาพของแหล่งเรียนรู้ (ห้องสมุด)

สภาพของแหล่งเรียนรู้ (ห้องปฎิบัติการ)

พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของครู

ครูออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพ

ครูจัดการเรียนรู้ตามหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ครูมีการประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ครูนำเสนอรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ(Rubrics)

ครูมีการนำICTมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้

ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อICT

ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้ICTในกระบวนการเรียนรู้

ครูมีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในชั้นเรียน

ครูมีการส่งเสริม การป้องกันปัญหานักเรียนด้วยการเสริมสร้างวินัยเชิงบวก

ครูมีการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล

ครูนำผลการประเมินการเรียนการสอนไปพัฒนาหรือปรับแผนการจัดการเรียนรู้

ครูศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล

ครูใช้และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียน

แบบประเมินห้องเรียนคุณภาพ

โรงเรียน.....................................................................สพท. เลย เขต ๒


นางสาวกนกวรรณ ตามีปลูก

ผู้รับการประเมิน

โรงเรียนวัดบ้านแจ่ม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูนเขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

แบบรายงานการดำเนินการห้องเรียนคุณภาพ


1. ข้อมลทั่วไป
1.1 โรงเรียนวัดบ้านแจ่ม

1.2 เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกษาอำเภอเมือง 4

1.3 ชื่อ นางสาวกนกวรรณ สกุล ตามีปลูก

ตำแหน่ง (......) ข้าราชการ (.....) พนักราชการ (✓) อัตราจ้าง (......) อื่นๆ โปรดระบุ.................

1.4 รายละเอียดระดับชั้นเรียนที่จะดำเนินการประเมินห้องเรียนคุณภาพ

1.4.1 (✓) ประจำชั้นประถมศกษาปีที่ 1
1.4.2 (......) ร่วมประจำชั้น .................................กลุ่มสาระการเรียนรู้...............................................
1.4.3 (......) ห้องเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ......................................................................................

2. ผลการดำเนินการห้องเรียนคุณภาพ
2.1 ด้านที่ 1 ด้านการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมการเรียนรู้

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
1.1 ความสะอาด การพิจารณา 1. สังเกต

และการจัดสภาพ  1. มีความสะอาด และความเป็นระเบียบ 2. สัมภาษณ์
ห้องเรียนที่มี  2. มีป้ายชื่อชั้นเรียนกำกบทั้งภาษาไทยและภาษาองกฤษ 3. สอบถาม


บรรยากาศที่ดี  3. มีป้ายชื่อครูประจำชั้น 4. ประเมินตามสภาพจริง
(5 คะแนน)  4. มีป้ายทำเนียบรูปและชื่อ-สกุลของนักเรียน
 5. มีสัญลักษณ์ของชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย์
 6. มีป้ายข้อตกลงของห้องเรียน
ระดับคะแนน

ระดับ 1  ปฏิบัติได้น้อยกว่า 3 รายการ
ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 3 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 4 รายการ

ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 5 รายการ
ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
1. มีความสะอาด และความเป็นระเบียบ

2. มีป้ายชื่อชั้นเรียนกำกับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

3. มีป้ายชื่อครูประจำชั้น

4. มีป้ายทำเนียบรูปและชื่อ-สกุลของนักเรียน

5. มีสัญลักษณ์ของชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย์

6. มีป้ายข้อตกลงของห้องเรียน

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

1.2 การจัด การพิจารณา 1. สังเกต
บรรยากาศห้องเรียน  1. มีสื่อ ICT ที่พร้อมใช้งาน 2. สัมภาษณ์
ที่เออและส่งเสริม  2. มีมุมส่งเสริมการเรียนรู้ 3. สอบถาม
ื้
การเรียนรู้  3. มีป้ายนิเทศที่สอดคล้องกับการเรียนการสอนและ 4. ตรวจสอบเอกสาร
(5 คะแนน) สถานการณ์ปัจจุบัน หลักฐาน
 4. มีการจัดตกแต่งห้องเรียนให้สวยงาม ใช้สีสันเหมาะสม 5. ประเมินตามสภาพจริง
ื้
และเออต่อการเรียนรู้
 5. นักเรียนได้ใช้สื่อในมุมต่างๆอย่างคุ้มค่า
ระดับคะแนน

ระดับ 1 ปฏิบัติได้น้อยกว่า 2 รายการ
ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ
ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ
ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

1. มีสื่อ ICT ที่พร้อมใช้งาน

2. มีมุมส่งเสริมการเรียนรู้

3. มีป้ายนิเทศที่สอดคล้องกับการเรียนการสอนและสถานการณ์ปัจจุบัน

ื้
4. มีการจัดตกแต่งห้องเรียนให้สวยงาม ใช้สีสันเหมาะสม และเออต่อการเรียนรู้

5. นักเรียนได้ใช้สื่อในมุมต่างๆอย่างคุ้มค่า

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

1.3 ห้องเรียนมีแสง การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สังเกต
สว่างเพียงพออากาศ  1. มีไฟฟ้า และแสงสว่างเพียงพอ 2. สัมภาษณ์
ถ่ายเทสะดวกและ 3. สอบถาม
 2. มีอากาศถ่ายเทสะดวก
มีความปลอดภัย  3. ไม่มีกลิ่นรบกวน 5. สภาพจริงเชิงประจักษ์
สำหรับนักเรียน  4. ไม่มีเสียงรบกวน
(5 คะแนน)  5. ระบบไฟฟามีความปลอดภัยสำหรับนักเรียน

ระดับคะแนน
ระดับ 1 ปฏิบัติได้น้อยกว่า 2 รายการ
ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ

ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ
ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
1. มีไฟฟ้า และแสงสว่างเพียงพอ

2. มีอากาศถ่ายเทสะดวก

3. ไม่มีกลิ่นรบกวน

4. ไม่มีเสียงรบกวน


5. ระบบไฟฟามีความปลอดภัยสำหรับนักเรียน

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
1.4 การแสดงผล การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สังเกต


งานของนักเรียน  1. มีกล่อง/แฟมเก็บผลงานนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. สัมภาษณ์
เป็นปัจจุบัน  2. มีป้ายนิเทศ/บอร์ดแสดงผลงาน 3. สอบถาม
(5 คะแนน)  3. มีตู้/ชั้นเก็บชิ้นงานหรือวางแสดงผลงาน 4. ตรวจสอบเอกสาร

 4. ผลงานนักเรียนมีความหลากหลาย หลักฐาน
 5. ผลงานนักเรียนได้รับการประเมินและตรวจจากครู 5. สภาพจริงเชิงประจักษ์

เพื่อนหรือผู้เกี่ยวข้อง
ระดับคะแนน
ระดับ 1 ปฏิบัติได้น้อยกว่า 2 รายการ
ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ

ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ
ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
1. มีกล่อง/แฟมเก็บผลงานนักเรียนเป็นรายบุคคล

2. มีป้ายนิเทศ/บอร์ดแสดงผลงาน

3. มีตู้/ชั้นเก็บชิ้นงานหรือวางแสดงผลงาน

4. ผลงานนักเรียนมีความหลากหลาย

ื่
5. ผลงานนักเรียนได้รับการประเมินและตรวจจากครู เพอนหรือผู้เกี่ยวข้อง

2.2 ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพของครู

ประเด็น

การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
2.1 ครูรู้จัก การพิจารณาและระดับคะแนน
นักเรียน ระดับ 1  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 1. สังเกต สนทนา ซักถาม

เป็นรายบุคคล แต่ไม่มีบันทึกข้อมูล ครูและนักเรียน
(5 คะแนน) ระดับ 2  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2. ศึกษาเอกสาร เช่น
มีบันทึกข้อมูลเป็นรายบุคคล ออกแบบและจัดกิจกรรมการ - บันทึกข้อมูลรายบุคคล
เรียนรู้สำหรับผู้เรียนเหมือนกันทั้งห้อง - ระเบียนสะสม
ระดับ 3  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล - บันทึกการวิเคราะห์ข้อมูล

มีบันทึกข้อมูลเป็นรายบุคคล มีการวิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน - แผนการจัดการเรียนรู้
นำข้อมูลไปออกแบบการเรียนรู้เหมือนกันทั้งห้อง - วิจัยชั้นเรียน
ระดับ 4  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล - รายงานการศึกษา

มีบันทึกข้อมูลเป็นรายบุคคล มีการวิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน นักเรียนเป็นรายบุคคล
นำข้อมูลไปออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนเป็นราย - แผนการพัฒนาผู้เรียน
กลุ่ม เป็นรายกลุ่ม/รายบุคคล
ระดับ 5  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นต้น

มีหลักฐานการวิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน นำผลการวิเคราะห์
ข้อมูลไปใช้ในการออกแบบการเรียนรู้เป็นรายบุคคลกำหนด
เป้าหมายผลสัมฤทธิ์

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

้ แบบบันทึกสุขภาพนักเรียน
บันทึกขอมูลรายบุคคล

บันทึกการเยี่ยมบ้าน บันทึกการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคล บันทึกการคัดกรองนักเรียนยากจน

บันทึกสุขภาพอนามัย บันทึกการประเมินสมรรถนะ

สำคัญของนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคลล

รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.2 ครูมีการใช้ การพิจารณาและระดับคะแนน

จิตวิทยา ระดับ 1  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตรแต่ไม่เปิด 1. สังเกต สนทนา ซักถาม
การเรียนรู้ และ โอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด ครูและนักเรียน
การเสริมแรง ระดับ 2  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาส 2. ศึกษาเอกสาร เช่น

ทางบวก (5 คะแนน) ให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ - บันทึกข้อมูลรายบุคคล
ระดับ 3  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาส - ระเบียนสะสม
ให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด รับฟงอย่างเข้าใจและให้เกียรติ - บันทึกการวิเคราะห์

ใช้คำถามให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการ ข้อมูล

กระทำบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน - แผนการจัดการเรียนรู้
ระดับ 4  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาส - วิจัยชั้นเรียน
ให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ - รายงานการศึกษา

ใช้คำถามให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการ นักเรียนเป็นรายบุคคล
กระทำบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียนใช้คำถามให้ผู้เรียน - แผนการพัฒนาผู้เรียน
ประเมินและเลือกทางเลือก กำหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดีกับ เป็นรายกลุ่ม/รายบุคคล
ตนเองโดยสร้างข้อตกลงร่วมกัน เป็นต้น
ระดับ 5  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาส

ให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกนึกคิด รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ
ใช้คำถามให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการกระทำ
บนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียนใช้คำถามให้ผู้เรียนประเมินและ

เลือกทางเลือก กำหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดีกับตนเองโดยสร้าง
ข้อตกลงร่วมกันครูเสริมแรงให้เกิดการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจน
เกิดผลดีต่อตนเองและสังคม มีความภาคภูมิใจและยึดถือปฏิบัติ
อย่างยั่งยืน

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

บันทึกกิจกรรมโฮมรูม บันทึกการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคล บัตรสะสมคะแนนเด็กดีชั้น ป1

การประกวดผลงานในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
2.3 ครูใช้ ICT การพิจารณา

เพื่อการสอนและ  1. ครูให้นักเรียนทุกคน ใช้สื่อ ICT เพื่อฝึกปฏิบัติตาม 1. สังเกต สนทนา ซักถาม
กิจกรรมการเรียนรู้และตามความต้องการ
สนับสนุนการสอน ครูและนักเรียน
(5 คะแนน)  2. ครูใช้โปรแกรมคอมพวเตอร์ขั้นพื้นฐานในกระบวนการ 2. ศึกษาเอกสาร เช่น

จัดการเรียนการเรียนรู้ได้ - เอกสาร
 3. ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อ ICT - ภาพถ่าย
 4. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ - แผนการจัดการเรียนรู้
ื่
นักเรียนใช้สื่อ ICT เพอการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
 5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ ICT
ระดับคะแนน
ระดับ 1  ปฏิบัติได้ 1 รายการ

ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ
ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ
ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
ื่
1. ครูให้นักเรียนทุกคน ใช้สื่อ ICT เพอฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้และตามความต้องการ

2. ครูใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานในกระบวนการจัดการเรียนการเรียนรู้ได้

3. ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อ ICT

4. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้สื่อ ICT เพอการเรียนรู้
ื่

5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ ICT

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
2.4 ครูมีหน่วย การพิจารณาและระดับคะแนน

การเรียนรู้ที่ ระดับ 1  ครูไม่มีหน่วยการเรียนรู้ สอนโดยใช้ประสบการณ์ 1. การวิเคราะห์หลักสูตร
สอดคล้องกับ ระดับ 2  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ แต่ไม่ครบตามโครงสร้าง 2. หน่วยการเรียนรู้อิง
มาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรและไม่เป็นปัจจุบัน มีการวิเคราะห์ความสอดคล้อง มาตรฐาน

ตัวชี้วัด สมรรถนะ กับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะ 3. แผนการจัดการเรียนรู้
สำคัญและ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรบ้าง ฯลฯ
คุณลักษณะ ระดับ 3  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ ที่ครบตามโครงสร้าง
อันพึงประสงค์ หลักสูตร นำมาจากตำราอื่น ๆ โดยไม่ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้อง
ตามหลักสูตร กับบริบทของโรงเรียน

แกนกลาง ระดับ 4 ครูมีหน่วยการเรียนรู้ ที่ครบตามโครงสร้างหลักสูตร
(5 คะแนน) โดยปรับมาจากตำราอื่น ๆ วิเคราะห์เทียบเคียงกับหลักสูตร
แกนกลาง ความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพงประสงค์ตามหลักสูตร

ระดับ 5  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเองครบตาม
โครงสร้างหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.5 ครูจัดทำและ การพิจารณาและระดับคะแนน
ใช้แผนการจัด ี การตรวจสอบหลักฐานหน่วย
ระดับ 1  ครูไม่มแผนการจัดการเรียนรู้ แต่สอนโดยใช้
การเรียนรู้ตาม ประสบการณ์ การเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้ ระดับ 2  ครูมีและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แต่ไม่ แผนการจัดการเรียนรู้ตาม

(5 คะแนน) สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้และบันทึก
ระดับ 3  ครูใช้แผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสาร หลังการจัดการเรียนรู้
ตำราอื่น ๆ โดยไม่ปรับให้สอดคล้องกบหน่วยการเรียนรู้

ระดับ 4  ครูมีและใช้แผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสาร

ตำราอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริม
พัฒนาการของผู้เรียนตามระดับความสามารถ และปรับปรุง
พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

ระดับ 5  ครูจัดทำและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนา
ขึ้นเองด้วยการวิเคราะห์จากหน่วยการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริม
พัฒนาการของผู้เรียนตามระดับความสามารถและมีการนำผล
การใช้แผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.6 ครูจัดการเรียน การพิจารณาและระดับคะแนน
การสอนที่เน้น ระดับ 1  ครูไม่มีการวางแผนและเตรียมการสอน และบรรยากาศ 1. สังเกตการสอนใน
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ไม่เน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน สอนโดยใช้ประสบการณ์ ห้องเรียน
(5 คะแนน) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยไม่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน 2. สัมภาษณ์ครูและนักเรียน

ระดับ 2  ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
และเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน สอนตามลำดับที่กำหนดในแผน ในห้องเรียน
ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ผลงาน/ชิ้นงานของ
โดยสร้างบรรยากาศและเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน นักเรียนที่เป็นผลงานจาก

ระดับ 3  ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ การจัดการเรียนรู้ ฯลฯ
และเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน สอนตามลำดับที่กำหนดในแผน
ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริม
กระบวนการคิดจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสร้างบรรยากาศ

เน้นการมีส่วนร่วมและส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียน
ระดับ 4  ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ
และเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน สอนตามลำดับที่กำหนดในแผน
ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริม

กระบวนการคิด รูปแบบกิจกรรมมีความหลากหลายและบูรณาการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสร้างบรรยากาศ เน้นการมีส่วนร่วม

ส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียน และรูปแบบกิจกรรม
มีความหลากหลาย
ระดับ 5 ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ
และเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน สอนตามลำดับที่กำหนด
ในแผน ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้

ส่งเสริมกระบวนการคิด รูปแบบกิจกรรมมีความหลากหลาย
และบูรณาการให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมความสุขจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้โดยสร้างบรรยากาศเน้นการมีส่วนร่วมส่งเสริม
กระบวนการคิดของผู้เรียน มีการบูรณาการรูปแบบกิจกรรมม ี

ความหลากหลาย

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ และเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.7 ครูมีการวัดผล การพิจารณาและระดับคะแนน
และประเมินผล ระดับ 1  ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 1. การตรวจสอบหลักฐาน/
ที่เป็นไปตาม แต่ไม่มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน ร่องรอย
หลักการและ ระดับ 2  ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการ - หน่วยการเรียนรู้

กระบวนการ และเครื่องมือที่หลากหลายและมีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ - แผนการจัดการเรียนรู้
ของการวัดผล ชิ้นงาน ผู้เรียนครอบคลุมตามมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด /จุดประสงค์ - ผลงาน/ชิ้นงานนักเรียน
และประเมินผล การเรียนรู้ - บันทึกผลการประเมิน
ตามหลักสูตร ระดับ 3  ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการ ของครู
(5 คะแนน) และเครื่องมือที่หลากหลาย มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน - เครื่องมือวัดและประเมินผล

ผู้เรียนครอบคลุมมาตรฐาน/ตัวชี้วัด /จุดประสงค์การเรียนรู้ - เกณฑ์การประเมิน
นำผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนและ ชิ้นงาน/ผลงาน/ภาระงาน

สะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพฒนา ของนักเรียน

ระดับ 4  ครูมีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์
และเครื่องมือที่หลากหลาย มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน นักเรียน ครูและผู้ปกครอง
ครอบคลุมมาตรฐาน/ตัวชี้วัด /จุดประสงค์การเรียนรู้ นำผลการ 3. สังเกตการจัดการเรียนรู้
ประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน สะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพอ การวัดและประเมินผล
ื่
การพัฒนา จัดกลุ่มผู้เรียนและออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่าง การเรียนรู้ในห้องเรียน
เหมาะสม
ระดับ 5  ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการ

และเครื่องมือที่หลากหลาย มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
ครอบคลุมมาตรฐาน/ตัวชี้วัด /จุดประสงค์การเรียนรู้ มีการนำผล
การประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนและสะท้อนผลสู่
ผู้เรียนเพื่อการพัฒนามีการนำผลการประเมินมาจัดกลุ่มผู้เรียนและ

ออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง มีการ
รายงานผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อใช้ผลการพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.8 ครูเข้าร่วม การพิจารณา
ชุมชนการเรียนรู้  1. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการนำ 1. เอกสาร หลักฐาน
ทางวิชาชีพ (PLC) ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล มาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้

มีผลงานการวิจัย นักเรียน ทางวิชาชีพ (PLC)
ในชั้นเรียน  2. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการพัฒนา 2. Time Line ของกลุ่ม
(5 คะแนน) นวัตกรรมการแก้ไขปัญหานักเรียนร่วมกัน เพื่อนำนวัตกรรมที่ ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ

พัฒนาขึ้นไปใช้แก้ไขปัญหานักเรียนในห้องเรียนของตนเอง (PLC)

 3. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการ 3. Time Line ของครูผู้สอน
ในการนำนวัตกรรมไปใช้
แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนานวัตกรรมไปใช้แก้ไข พัฒนานักเรียนในห้องเรียน
ปัญหานักเรียนในห้องเรียนของตนเอง ของตนเอง ตามแนวทางของ
 4. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการ กลุ่มชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ

จัดทำและรายงานวิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้และพัฒนา (PLC)
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามที่ตกลงร่วมกัน 4.เอกสาร บันทึกแผน
 5. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการนำ การจัดการเรียนรู้ รายงาน

ผลการวิจัยในชั้นเรียนไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) วิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้
ในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และการพัฒนานวัตกรรม
ระดับคะแนน การจัดการเรียนรู้ที่เกิดกับ
ระดับ 1  ปฏิบัติได้ 1 รายการ นักเรียนในห้องเรียน

ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ
ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ

ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
1. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการนำข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล มาใช้ในการวิเคราะห์

ปัญหานักเรียน

2. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการพัฒนานวัตกรรมการแก้ไขปัญหานักเรียนร่วมกัน เพื่อนำ
นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นไปใช้แก้ไขปัญหานักเรียนในห้องเรียนของตนเอง

2564

3. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนานวัตกรรมไปใช้
แก้ไขปัญหานักเรียนในห้องเรียนของตนเอง

4. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการจัดทำและรายงานวิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้และ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามที่ตกลงร่วมกัน

5. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการนำผลการวิจัยในชั้นเรียนไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(Show & Share) ในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

2.9 ครูศึกษาและ การพิจารณา
พัฒนาตนเอง  1. ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ID Plan 1. ID Plan
(5 คะแนน)  2. ครูมีปฏิทินการทำงานของตนเอง 2. ปฏิทินการทำงาน
 3. ครูมีบันทึกขอตกลงเพอพัฒนางาน (MOU) ต่อผู้บริหาร 3. บันทึกข้อตกลงเพื่อ

ื่
โรงเรียน พัฒนางาน (MOU)
 4. ครูมีการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนงานของตนเอง 4. แผนงานของตนเอง
กับแผนงานของโรงเรียน 5. แผนงานโรงเรียน

 5. ครูวางแผนพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ 6. สังเกต สนทนา ซักถาม
นักเรียน ครู นักเรียน และสังเกต
ระดับคะแนน สภาพแวดล้อม อื่น ๆ
ระดับ 1  ปฏิบัติได้ 1 รายการ

ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ
ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ
ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ

ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
1. ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ID Plan

2. ครูมีปฏิทินการทำงานของตนเอง


ื่
3. ครูมีบันทึกข้อตกลงเพอพฒนางาน (MOU) ต่อผู้บริหารโรงเรียน

4. ครูมีการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนงานของตนเองกับแผนงานของโรงเรียน

5. ครูวางแผนพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน

2.3 ด้านที่ 3 ด้านคุณภาพผู้เรียน
ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชาการของนักเรียน (50 คะแนน)

3.1.1 การพิจารณาและระดับคะแนน

ความสามารถ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00 1. ผลการประเมินการอ่าน

ในการอ่าน มีผลการประเมินการอ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ของนักเรียนในห้องเรียน
ตามเกณฑ์ของ ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 2. สภาพจริงเชิงประจักษ์
แต่ละระดับชั้น มีผลการประเมินการอ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ของนักเรียนในห้องเรียน

(5 คะแนน) ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 ที่นักเรียนเป็นรายบุคคล
มีผลการประเมินการอ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป มีความสามารถในด้าน
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนร้อยละ 80.00-89.99 การอ่าน

มีผลการประเมินการอ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนร้อยละ 90.00
มีผลการประเมินการอ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
- ผลการประเมินการอ่านของนักเรียนในห้องเรียน

ผลการประเมินการอ่านรู้เรื่องของ ผลการประเมินการอ่านออกเสียง

นักเรียนในห้องเรียน ของนักเรียนในห้องเรียน

0% 0% 0% ดีมาก 0% 0% ดีมาก

ดี 29% ดี
100% 71%
พอใช้ พอใช้
ปรับปรุง ปรับปรุง

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.2 ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00

ความสามารถในการ มีผลการประเมินการเขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป 1. ผลการประเมินการเขียน
ของนักเรียนในห้องเรียน
เขียนตามเกณฑ์ของ ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99
แต่ละระดับชั้น มีผลการประเมินการเขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป 2. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ของนักเรียนในห้องเรียนที่
(5 คะแนน) ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99
มีผลการประเมินการเขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป นักเรียนเป็นรายบุคคลมี
ความสามารถ
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนร้อยละ 80.00-89.99 ในด้าน
มีผลการประเมินการเขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป การเขียน
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนร้อยละ 90.00 มีผลการประเมิน

การเขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
- ผลการประเมินการเขียนของนักเรียนในห้องเรียน

ผลการประเมินการเขียนของนักเรียน

ในห้องเรียน

0% 0% ปรับปรุง
38% พอใช้
62% ดี
ดีมาก

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.3 การพิจารณาและระดับคะแนน

ความสามารถใน ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00 1. ผลการประเมินการ
การสื่อสารภาษาไทย ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของ สื่อสารภาษาไทย ทั้งการฟัง

ตามเกณฑ์ของแต่ละ หลักสูตรในแต่ละระดับชั้น พูด อ่านและการเขียนของ
ระดับชั้น ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 นักเรียนในห้องเรียน
(5 คะแนน) ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของ 2. การตรวจสอบเอกสาร

หลักสูตรในแต่ละระดับชั้น - บันทึกผลหลังการจัด
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 การเรียนรู้

ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของ - ผลงาน/ชิ้นงานของ

หลักสูตรในแต่ละระดับชั้น นักเรียนที่เป็นผลงานจาก
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนร้อยละ 80.00-89.99 การจัดการเรียนรู้

ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของ 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
หลักสูตรในแต่ละระดับชั้น ของนักเรียนในห้องเรียนที่
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนร้อยละ 90.00 ขึ้นไป นักเรียนเป็นรายบุคคลมี
ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของ ความสามารถในการสื่อสาร
หลักสูตรในแต่ละระดับชั้น ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด

อ่าน และการเขียน

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย
เกรด0

เกรด1
เกรด1.5
0 % 0% เกรด2
0% 11%
45% 11% เกรด2.5
22% เกรด3
11% เกรด3.5
เกรด4

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.4 การพิจารณาและระดับคะแนน

ความสามารถ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00 1. ผลการประเมินการ

ในการสื่อสาร ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน สื่อสารภาษาอังกฤษ ทั้งการ
ภาษาอังกฤษตาม การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ฟัง พูด อ่านและการเขียน
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99
เกณฑ์ของ ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน ของนักเรียนในห้องเรียน
แต่ละระดับชั้น 2. การตรวจสอบเอกสาร
(5 คะแนน) การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร - บันทึกผลหลังการจัด
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99

ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน การเรียนรู้
- ผลงาน/ชิ้นงานของ
การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร นักเรียนที่เป็นผลงานจาก
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนร้อยละ 80.00-89.99

ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน การจัดการเรียนรู้
3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ของนักเรียนในห้องเรียนที่
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนร้อยละ 90.00 ขึ้นไป นักเรียนเป็นรายบุคคลมี
ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน
ความสามารถในการสื่อสาร
การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง พูด

อ่านและการเขียน

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษ
เกรด0
เกรด1
เกรด1.5

22% 0% 11% เกรด2
11% 11% เกรด2.5
23% เกรด3
22% 0% เกรด3.5

เกรด4

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.5 การพิจารณาและระดับคะแนน

ความสามารถ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00 1. ผลการประเมินการคด

ในการคิดคำนวณ ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดคำนวณตามมาตรฐานการเรียนรู้ คำนวณของนักเรียนใน
ตามเกณฑ์ของ และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ห้องเรียนตามมาตรฐาน

แต่ละระดับชั้น ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี
(5 คะแนน) ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดคำนวณตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตร

และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร 2. การตรวจสอบเอกสาร
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 - บันทึกผลหลังการจัด
ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดคำนวณตามมาตรฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้

และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร - ผลงาน/ชิ้นงานของ
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนร้อยละ 80.00-89.99 นักเรียนที่เป็นผลงานจาก

ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคำนวณตามมาตรฐานการ การจัดการเรียนรู้
เรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ระดับ 5 จำนวนนักเรียนร้อยละ 90.00 ขึ้นไป ของนักเรียนในห้องเรียน
ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดคำนวณตามมาตรฐานการเรียนรู้ ที่นักเรียนเป็นรายบุคคล
และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร มีความสามารถในการคิด

คำนวณของนักเรียนใน
ห้องเรียนตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี

ของหลักสูตร

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์
เกรด0
เกรด1
เกรด1.5
0 0 0 %
%
0%
%
25% เกรด2
38% เกรด2.5
12%
25% เกรด3
เกรด3.5
เกรด4

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.6 การพิจารณาและระดับคะแนน 1. ผลการประเมินความ

ความสามารถ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60.00 สามารถของนักเรียนใน

ในการคิดวิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ ห้องเรียนในด้านการคิด
คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้น วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ
ของหลักสูตร อภิปรายแลกเปลี่ยน
อภิปราย
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 ความคิดเห็น และแก้ปัญหา
แลกเปลี่ยน ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ ตามจุดเน้นของหลักสูตร
ความคิดเห็น อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้น 2. การตรวจสอบเอกสาร

และแก้ปัญหา ของหลักสูตร - บันทึกผลหลังการจัด
(5 คะแนน) ระดับ 3  จำนวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 การเรียนรู้
ผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ - ผลงาน/ชิ้นงานของ

อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้น นักเรียนที่เป็นผลงานจาก
ของหลักสูตร การจัดการเรียนรู้
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการ 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
คิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ของนักเรียนในห้องเรียนที่
ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้นของหลักสูตร นักเรียนเป็นรายบุคคลมี

ร้อยละ 80.00-89.99 ความสามารถในด้านการคิด
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการคิด วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ
วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น อภิปรายแลกเปลี่ยน ความ

และแก้ปัญหา ตามจุดเน้นของหลักสูตร ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป คิดเห็น และแก้ปัญหาตาม
จุดเน้นของหลักสูตร

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

ความสามาถในการคิดวิเคราะห์คิด
วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นและแก้ปัญหา

ก าลังพัฒนา
0%
%
0 0 %
ปานกลาง
ดี
100%
ดีเลิศ

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.7 การพิจารณาและระดับคะแนน

ความสามารถใน ระดับ 1  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน 1. การประเมิน
การสร้างนวัตกรรม ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการ ความสามารถของ
(5 คะแนน) ทำงานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณมาใช้ใน นักเรียนในห้องเรียน

การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ น้อยกว่าร้อยละ 60.00 ในด้านการรวบรวม
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ได้ด้วยตนเอง
ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการ และการทำงานเป็นทีม

ทำงานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณมาใช้ใน รวมถึงการสร้างสรรค์สิ่ง
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ร้อยละ 60.00-69.99 ใหม่ๆ ได้ และการร่วม
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน กิจกรรมต่าง ๆ เช่น
ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการ กิจกรรมสะเต็มศกษา


ทำงานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณมาใช้ใน
การทำโครงงาน
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ร้อยละ 70.00-79.99 2. การตรวจสอบเอกสาร
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน - บันทึกผลหลังการจัด
ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการ การเรียนรู้

ทำงานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณมาใช้ใน
- ผลงาน/ชิ้นงาน
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ร้อยละ 80.00-89.99 ของนักเรียนที่เป็นผลงาน
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน จากการจัดการเรียนรู้
ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการ 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์

ทำงานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณมาใช้ใน

การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
ความสามาถในการสร้างนวัตกรรม

ก าลังพัฒนา
0 0 % ปานกลาง
%
0%

ดี
ดีเลิศ
100% ยอดเยี่ยม

ประเด็น

การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.8 การพิจารณาและระดับคะแนน 1. ผลการประเมินความ
ความสามารถใน ระดับ 1  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน สามารถของนักเรียนใน
การใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่าง ห้องเรียนในด้านความ

และการสื่อสาร เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถในการใช้เทคโนโลยี
(5 คะแนน) และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร น้อยกว่าร้อยละ 60.00 และการสื่อสารได้อย่าง
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน เหมาะสม ปลอดภัย

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ
และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ร้อยละ 60.00-69.99 ตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน 2. การตรวจสอบเอกสาร

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่าง - บันทึกผลหลังการจัด
เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้

และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ร้อยละ 70.00-79.99 - ผลงาน/ชิ้นงานของ
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน นักเรียนที่เป็นผลงานจาก

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่าง การจัดการเรียนรู้
เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์

และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ร้อยละ 80.00-89.99 ของนักเรียนในห้องเรียนที่
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน นักเรียนเป็นรายบุคคลมี

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่าง ความสามารถในในการใช้
เหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ เทคโนโลยีและการสื่อสารได้
และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป อย่างเหมาะสม ปลอดภัย

มีประสิทธิภาพ ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
ความสามาถในการใช้เทคโนโลยีและ
การสื่อสาร

ก าลังพัฒนา
0 0% 10%
0%
%
ปานกลาง

ดี
90%
ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.1.9 ผลสัมฤทธิ์ การพิจารณาและระดับคะแนน
ทางการเรียนจาก ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 3 ใช้ผลสัมฤทธิ์
การวัดผลปลายปี ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ น้อยกว่าร้อยละ 50.00 ทางการเรียนจากการวัดผล
ของแต่ละชั้น ปลายปีของแต่ละชั้นในปี
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผล
(5 คะแนน) การสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การศึกษาที่ผ่านมา
ร้อยละ 50.00-59.99
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผล
การสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

ร้อยละ 60.00-69.99
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผล
การสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

ร้อยละ 70.00-79.99
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผล
การสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการวัดผลปลายปีของแต่ละชั้นในปีการศึกษาที่ผ่านมา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการวัดผลปลายปี
เกรด0

เกรด1
เกรด1.5
0%
0% 11% % เกรด2
%
0%
0 0
44%
เกรด2.5
45% เกรด3
เกรด3.5
เกรด4

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.1.10 ความรู้ การพิจารณาและระดับคะแนน

ทักษะพื้นฐาน ระดับ 1  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ 1. ผลการประเมิน
ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน
และเจตคติที่ดี ความรู้ ทักษะพื้นฐานใน
ต่องานอาชีพ ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ การจัดการ เจตคติที่ดีพร้อม
น้อยกว่าร้อยละ 60.00
ที่จะศึกษาต่อใน
(5 คะแนน) ระดับ 2  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ ระดับชั้นที่สูงขึ้น การ

ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน ทางานหรืองานอาชีพ
2. การตรวจสอบเอกสาร
ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ
ร้อยละ 60.00-69.99 - บันทึกผลหลังการ
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ จัดการเรียนรู้
ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน - ผลงาน/ชิ้นงานของ
ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ นักเรียนที่เป็นผลงาน

ร้อยละ 70.00-79.99 จากการจัดการเรียนรู้
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ 3. เครื่องมือวัดและ
ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน ประเมินความสามารถ
และทักษะตามจุดเน้นการ
ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ
ร้อยละ 80.00-99.99 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ “ด้านทักษะชีวิต” ของสพฐ.
ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน 4. สภาพจริงเชิงประจักษ์

ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพ

ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
ความสามาถในการสร้างนวัตกรรม

0% ก าลังพัฒนา
%
%
0 0
ปานกลาง
ดี
100% ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน)

3.2.1 การมี การพิจารณาและระดับคะแนน

คุณลักษณะและ การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ
ค่านิยมที่ดีตามท ี่ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตาม นักเรียนในด้านคุณลักษณะ

สถานศึกษากำหนด ที่สถานศึกษากำหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม และค่านิยมที่ดีตามที่
สถานศึกษากำหนด
โดยไม่ขัดกับ อันดีงามของสังคม น้อยกว่าร้อยละ 60.00
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตาม 2. สรุปรายงานผลการจัด
กฎหมายและ ที่สถานศึกษากำหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล

วัฒนธรรมอันดีงาม อันดีงามของสังคม ร้อยละ 60.00-69.99 เกิดกับนักเรียนคุณลักษณะ
ของสังคม ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตาม และค่านิยมที่ดีตามที่


(5 คะแนน) ที่สถานศึกษากำหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม สถานศึกษากำหนด
อันดีงามของสังคม ร้อยละ 70.00-79.99 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตาม ของนักเรียนในห้องเรียน

ที่สถานศึกษากำหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม เป็นรายบุคคลมีคุณลักษณะ

อันดีงามของสังคม ร้อยละ 80.00-89.99 และค่านิยมที่ดีตามที่
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี สถานศึกษากำหนด
ตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม ฯลฯ
อันดีงามของสังคม ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถาศึกษาก าหนด
โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม

0% 11%
0% ก าลังพัฒนา
ปานกลาง

ดี
89%
ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.2.2 การอนุรักษ์ การพิจารณาและระดับคะแนน
ทรัพยากรธรรมชาติ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการอนุรักษ์ 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ
และสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น้อยกว่าร้อยละ 60.00 นักเรียนในด้านการปฏิบัติ
(5 คะแนน) ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการอนุรักษ ์ ตนที่ดีในการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 60.00-69.99 ทรัพยากรธรรมชาติและ
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการอนุรักษ ์ สิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 70.00-79.99
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการอนุรักษ ์ 2. สรุปรายงานผลการจัด

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80.00-89.99 โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการอนุรักษ เกิดกับนักเรียนในการปฏิบัติ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป ตนที่ดีในการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม
3. สภาพจริงเชิงประจักษ์

ของนักเรียนเป็นรายบุคคลมี
การปฏิบัติตนที่ดีในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมทั้งในและ

นอกห้องเรียน ฯลฯ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ก าลังพัฒนา
0% 11% ปานกลาง
0%

ดี

89% ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.2.3 ความภูมิใจ การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ
ในท้องถิ่นและ ระดับ 1 จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ นักเรียนในด้านการปฏิบัติ
ความเป็นไทย ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย น้อยกว่าร้อยละ 60.00 ตนที่ดีที่แสดงถึงความภูมิใจ
(5 คะแนน) ระดับ 2 จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ ในท้องถิ่นและความเป็นไทย

ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 60.00-69.99
ระดับ 3 จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ 2. สรุปรายงานผลการจัด
ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 70.00-79.99 โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล
ระดับ 4 จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ เกิดกับนักเรียนในด้านการ

ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 80.00-89.99 ปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ
ระดับ 5 จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความ
ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป เป็นไทย

3. สภาพจริงเชิงประจักษ์

ของนักเรียนเป็นรายบุคคล

มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึง
ความภูมิใจในทองถิ่นและ

ความเป็นไทย

4. สมุดบันทึกความดี

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

0% 11%
0% ก าลังพัฒนา
ปานกลาง

ดี
89%
ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย

3.2.4 การยอมรับ การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ
เหตุผลความคิดเห็น ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ นักเรียนในด้านการปฏิบัติ
ของผู้อื่น และม ี ยอมรับเหตุผล ความคดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ตนที่ดีที่แสดงถึงการยอมรับ

มนุษยสัมพันธ์ที่ดี น้อยกว่าร้อยละ 60.00 เหตุผล ความคิดเห็นของผู้ผ

(5 คะแนน) ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ
ยอมรับเหตุผล ความคดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี อื่นและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

ร้อยละ 60.00-69.99 2. สรุปรายงานผลการจัด
ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล


ยอมรับเหตุผล ความคดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เกิดกับนักเรียนในด้านการ
ร้อยละ 70.00-79.99 ปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ ยอมรับเหตุผล ความคดเห็น


ยอมรับเหตุผล ความคดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ของผู้อื่น และมมนุษย

ร้อยละ 80.00-89.99
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการ สัมพันธ์ที่ดี

ยอมรับเหตุผล ความคดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป ของนักเรียนเป็นรายบุคคลมี
การปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึง
การยอมรับเหตุผล ความ

คิดเห็นของผู้อื่น และมี
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
การยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษย

สัมพันธ์ที่ดี

0% 11% 0% ก าลังพัฒนา
ปานกลาง

89% ดี
ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม

ประเด็น
การพิจารณา รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
3.2.5 การมีวิธี การพิจารณาและระดับคะแนน 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ

รักษาสุขภาพของ ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา นักเรียนในด้านการปฏิบัติ

ตนเองให้แข็งแรง สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดี ตนที่ดีที่แสดงถึงวิธีการ
รักษาอารมณ์ และ อยู่เสมอ น้อยกว่าร้อยละ 60.00 ปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา
ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา สุขภาพของตนเองให้
สุขภาพจิตให้ดีอยู่ สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดี แข็งแรง และผลที่เกิดกับ

เสมอ อยู่เสมอ ร้อยละ 60.00-69.99 นักเรียนในการรักษาอารมณ์
(5 คะแนน) ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ
สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดี 2. สรุปรายงานผลการจัด

อยู่เสมอ ร้อยละ 70.00-79.99 โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา เกิดกับนักเรียนในด้านการ
สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดี ปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึง

อยู่เสมอ ร้อยละ 80.00-89.99 วิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการ
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา รักษาสุขภาพของตนเองให้
สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดี แข็งแรง และผลที่เกิดกับ
อยู่เสมอ ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป นักเรียนในการรักษาอารมณ์

และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ
3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ของนักเรียนเป็นรายบุคคลมี
การปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึง

วิธีการปฏิบัติตนที่ดีในการ
รักษาสุขภาพของตนเองให้
แข็งแรง และผลที่เกิดกับ
นักเรียนในการรักษาอารมณ์

และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
การมีวิธีรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษา
อารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ

0% 11% ก าลังพัฒนา
0%

ปานกลาง

89% ดี

ดีเลิศ

ประเด็น รายการพิจารณาให้คะแนน หลักฐาน/ร่องรอย
การพิจารณา
3.2.6 การรู้และม ี ระดับ 1  จำนวนนักเรียนมีการรู้และมีวิธีการป้องกันตนเอง 1. สรุปรายงานผลที่เกิดกับ

วิธีการป้องกันตนเอง จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก น้อยกว่าร้อยละ 60.00 นักเรียนในการการรู้และมี
จากการล่อลวง ระดับ 2  จำนวนนักเรียนมีการรู้และมีวิธีการป้องกันตนเอง วิธีการป้องกันตนเองจาก
ข่มเหง รังแก จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก ร้อยละ 60.00-69.99 การล่อลวง ข่มเหง รังแก

(5 คะแนน) ระดับ 3  จำนวนนักเรียนมีการรู้และมีวิธีการป้องกันตนเอง 2. สรุปรายงานผลการจัด
จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก ร้อยละ 70.00-79.99 โครงการ/กิจกรรมที่เป็นผล
ระดับ 4  จำนวนนักเรียนมีการรู้และมีวิธีการป้องกันตนเอง เกิดกับนักเรียนในด้านการรู้
จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก ร้อยละ 80.00-89.99 และมีวิธีการป้องกันตนเอง
ระดับ 5  จำนวนนักเรียนมีการรู้และมีวิธีการป้องกันตนเอง จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก

จากการล่อลวง ข่มเหง รังแก ร้อยละ 90.00 ขึ้นไป 3. สภาพจริงเชิงประจักษ์
ของนักเรียนเป็นรายบุคคลมี
การรู้และมีวิธีการป้องกัน

ตนเองจากการล่อลวง
ข่มเหง รังแก

หลักฐาน/ร่องรอย ประกอบการพิจารณา มีดังนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
การรู้และมีวิธีป้องกันตนเองจากการล่อลวง ข่มเหง รังแก

0% 11% ก าลังพัฒนา
0%
ปานกลาง
ดี

89%
ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม