ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

Portfolio 10 หน้าต้องมีอะไรบ้าง น้องหลายคนคงจะยังไม่ทราบว่าจริงไๆแล้ว Portfolio ที่เรียกว่า 10 หน้าทำกันอย่างไร วันนี้พี่อะตอมมีเทคนิคสรุปจบในรูปเดียว

 

โดยองค์ประกอบทั่วไปจะมี
.
1. ประวัติส่วนตัว
2. ประวัติการศึกษา
3. ผลงานที่ผ่านมา
4. กิจกรรมที่น่าสนใจ
5. งานอดิเรกที่เกี่ยวข้อง
กับสาขาวิชา
6. เกียรติบัตร
.
เท่านี้ก็โฟกัสการทำพอร์ตง่ายขึ้น
หรือบางคณะเขากำหนดมาให้เลยว่าในพอร์ตจะต้องมีอะไรบ้าง
เราก็เตรียมพอร์ตตามระเบียบการเลยจ้าา !!

.
เข้ากลุ่มแนะแนวทำ Portfolio (กลุ่มใหญ่ที่สุด) >> : http://bit.ly/2UBsm83
.
เด็กโชว์พอร์ต – Community ทำพอร์ตที่ใหญ่ที่สุด
ดูคลิปสอนทำ Portfolio : http://bit.ly/2yHwQ3b

กดแชร์ ไว้อ่านอีกรอบ

  •  
  •  
  •  
  •  
  •  
  •  
  •  

                จะสังเกตเห็นได้ว่า Portfolio หรือ แฟ้มสะสมผลงาน นั้นมีความสำคัญอย่างมากในการศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย ดังนั้นการทำแฟ้มสะสมผลงานให้ออกมาดูดี น่าสนใจ ก็เป็นเรื่องสำคัญ แต่การเลือกใช้แฟ้มที่ช่วยให้ Portfolio ของน้อง ๆ ดูดีขึ้น ก็ถือเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้ามเช่นกัน เพราะการเลือกใช้แฟ้มที่จะช่วยให้ Portfolio ของน้องดูดีนั้น ต้องเป็นแฟ้มที่แข็งแรง ทนทาน และมีคุณภาพ เหมือนกับแฟ้มตราช้าง รุ่น PF01 แฟ้มเอกสารที่มีปกแฟ้มผลิตจากพลาสติก PP คุณภาพดีหนา 400 ไมครอน มีวิวบายเดอร์พร้อมกระดาษสอด สามารถออกแบบหน้าปกได้ ลิ้นแฟ้มทำจากพลาสติก แข็งแรง ทนทาน ใช้งานก็ง่าย ภายในแฟ้มบรรจุซองอเนกประสงค์จำนวน 10 ซอง สามารถเติมซองได้ มีแถบ Dura Strib หนาพิเศษ ทนทานไม่ยืด มีคุณสมบัติลดแสงสะท้อนถนอมสายตา สามารถหาซื้อได้แล้ววันนี้ที่ร้านค้าชั้นนำทั่วประเทศ

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

Portfolioมีอะไรบ้าง

องค์ประกอบของ Portfolio ที่ใช้ในการยื่นเข้า
มหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง?

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

                Portfolio หรือ แฟ้มสะสมผลงาน ถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยที่เราต้องเข้าเรียนนั้นได้รู้จักเรามากขึ้น เกี่ยวกับข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับตัวเรา เช่น ชื่ออะไร ที่อยู่ปัจจุบัน เรียนอยู่ที่ไหน เคยทำอะไรมาบ้าง เกรดเฉลี่ยเท่าไหร่ ถนัดอะไร เพื่อที่อาจารย์หรือคนสัมภาษณ์จะสามารถประเมินตัวเราแบบคร่าว ๆได้ ดังนั้นแฟ้มเล่มเล็ก ๆ นี่แหละจะเป็นส่วนสำคัญมากที่จะช่วยให้เราได้เข้าไปเรียนในคณะและในมหาวิทยาลัยที่เราใฝ่ฝันไว้ได้

                สำหรับ Portfolio ที่ดีนั้น ไม่ควรมีแต่ตัวหนังสือบรรยายอยู่อย่างเดียว เพราะอาจจะทำให้ Portfolio ของน้อง ๆ ไม่โดนใจคณะกรรมการของมหาวิทยาลัยได้ ส่วนกิจกรรมไหนที่เคยทำ หรือกิจกรรมไหนที่เคยเข้าร่วม หากมีภาพเหล่านั้นก็ควรใส่ลงด้วย แล้วเขียนคำอธิบายใต้ภาพว่างานนี้คือกิจกรรมอะไร เพื่อช่วยให้ Portfolio ของเรามีความน่าสนใจมากขึ้น เพื่อให้น้อง ๆ ได้รู้ว่า Portfolioมีอะไรบ้าง วันนี้เรามาลองดูกันซิว่าใน Portfolio หรือ แฟ้มสะสมผลงาน 1 แฟ้ม จะมีองค์ประกอบหลัก ๆ ที่ใช้ในการยื่นสอบเข้ามหาวิทยาลัยอะไรบ้าง

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

1. หน้าปก

First Impression หรือ ความประทับใจแรก เป็นสิ่งที่สร้าง “แต้มต่อ” ให้กับตัวเราเป็นอย่างมากในรอบการสัมภาษณ์ หน้าปกถือเป็นหน้าตาด่านแรกของเรา หากใครที่ไม่ค่อยมีไอเดียบรรเจิด ก็อย่าคิดมาก เน้นทำแบบสะอาด ๆ มีระเบียบก็น่าสนใจไม่น้อย และควรเลือกแฟ้มที่สามารถเปลี่ยนแผ่นหน้าปกได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก และแฟ้มที่ใช้ต้องมีคุณภาพ ไม่ทำให้ตัวหนังสือหลุดลอก

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

2. ประวัติส่วนตัว

ในส่วนนี้จะเป็นหน้าที่จะบอกถึงตัวตนของเราได้เป็นอย่างดี สามารถใส่ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเราได้เต็มที่ ถ้าให้ดีแนะนำให้ทำเป็น 2 ภาษาไปด้วยเลย จะสามารถทำให้แฟ้มของเราดูน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเนื้อหาที่ใส่ไปก็แนะนำตัวไปเลย ชื่อ นามสกุล วันเกิด นิสัย ความชอบ รวมถึงแนวคิด และความคาดหวังในอนาคตของเรา ซึ่งจากหน้านี้แหละกรรมการจะรู้ว่าเราเป็นคนอย่างไร

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

3. ประวัติทางการศึกษา

ส่วนนี้จะแสดงศักยภาพในการเรียนของเรา โดยให้เขียนเรียงลำดับจากการศึกษาที่น้อยสุดมาจบที่ปัจจุบัน และอาจจะบอกไปด้วยก็ได้ว่า แต่ละระดับที่เราเรียนมานั้นได้เกรดเฉลี่ยรวมเท่าไหร่ แต่หากใครที่ไม่มั่นใจเว้นไว้ก็ไม่เป็นไร รายชื่อโรงเรียนก็เขียนให้ครบ ไม่ควรที่จะย่อ

ขั้น ตอน การ ทํา Portfolio

4.รางวัลและผลงานที่ได้รับ

สามารถเขียนเป็นลักษณะการเรียงลำดับ โดยกำหนดเป็นปี พ.ศ. ก็จะน่าสนใจไม่น้อย เช่น พ.ศ.2563 เรามีกิจกรรมอะไรบ้างที่เข้าร่วม หรือได้รับรางวัลอะไรมาบ้าง หากกิจกรรมที่เราเข้าร่วม มีรูปประกอบด้วยจะเพิ่มความน่าสนใจได้มากขึ้นไม่น้อย

ขั้นตอนการทํา Portfolio มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

ในการดําเนินงานนั้น อาจปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบางขั้นตอน แต่ก็มีขั้นตอนหลักๆ อยู่ 4 ขั้นตอน คือ 1. การรวบรวมผลงานหรือหลักฐาน 2. การคัดเลือกผลงาน 3. การแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก 4. การประเมินผลงาน

ขั้นตอนแรกของการทําแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) คือข้อใด

1. หน้าปก ควรออกแบบให้สะดุดุตา แบบเห็นปุ๊บแล้วคนหยิบขึ้นมาอ่านปั๊บเลย ถ้าหน้าตาดีก็ใส่รูปตัวเองลงไป present ตัวเองเต็มที่ เข้าใจง่าย สรุปเนื้อหาและมีรายละเอียดครบถ้วน คือ แฟ้มเป็นของใคร เรียนที่ไหน ผลงานที่เคยทำ รางวัลที่เคยได้รับ ฯลฯ

แฟ้มสะสมผลงานทำยังไง

ขั้นตอนการประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน มีขั้นตอนที่สำคัญ 10 ขั้นตอน คือ.
การวางแผนการจัดทำแฟ้มสะสมงาน.
การเก็บรวบรวมผลงาน.
การคัดเลือกงานหรือหลักฐาน.
การแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึกต่อผลงาน.
การตรวจสอบความสามารถของตนเอง.
การประเมินผลงาน.
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับแฟ้มสะสมงาน.
การปรับเปลี่ยนผลงาน.

Portfolio มีความสําคัญอย่างไร

แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) มีประโยชน์เพื่อใช้สะสมผลงานสะท้อนความคิดของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้มากขึ้น เพราะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา มากกว่าการสอนในชั้นเรียน และช่วยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการเรียนรู้ของตนเอง และมองเห็นความก้าวหน้าที่ของตนเองด้วย นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาให้ ...