แบบประเมินความเครียด st5 กรมสุขภาพจิต

  • Dataset
  • Groups
  • Activity Stream

แบบประเมินความเครียด (ST5)

Source: https://catalog.dmh.go.th/dataset/cfaa8527-dda2-4ecf-a22a-2ec9ae037173
ลงทะเบียนวันที่: September 30, 2021


แบบประเมินความเครียด (ST5)

Data and Resources

  • แบบประเมินความเครียด (ST5) 70 downloads

    • More information
    • Go to resource

  • ST5
  • ฆ่าตัวตาย
  • บริการสาธารณสุข
  • สาธารณสุข
  • สุขภาพ
  • สุขภาพจิต
  • แบบประเมินความเครียด

Additional Info

FieldValue* ประเภทชุดข้อมูลข้อมูลประเภทอื่นๆยินยอมให้นำชื่อชุดข้อมูลไปใช้ที่ GD-Catalogยินยอม* ชื่อผู้ติดต่อสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ* อีเมลผู้ติดต่อ[email protected]* วัตถุประสงค์
  • พันธกิจหน่วยงาน
  • อื่นๆ
บริการประชาชน* หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูลปีค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด)* ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ไม่มี* แหล่งที่มาพันธกิจหน่วยงาน* รูปแบบการเก็บข้อมูล
  • Database
  • HTML
* หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐข้อมูลสาธารณะ* LicenseOpen Data Commonเงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูลผู้สนับสนุนหรือผู้ร่วมดำเนินการหน่วยงานของรัฐหน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูลURL ข้อมูลเพิ่มเติมhttps://dmh.go.th/covid19/test/qtest5/ภาษาที่ใช้ไทยวันที่เริ่มต้นสร้างJanuary 1, 2021วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดJanuary 1, 2021ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูงข้อมูลอ้างอิงไม่ใช่CreatedSeptember 30, 2021Last UpdatedSeptember 30, 2021

ความเครียดนั้นเกิดขึ้นได้กับทุกคน สาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียดมีหลายอย่างเช่น รายได้ที่ไม่พอเพียง หนี้สิน ภัยพิบัติต่างๆ ที่ทำให้เกิดความสูญเสีย ความเจ็บป่วยเป็นต้น ความเครียดมีทั้งประโยชน์ และโทษหากมากเกินไปจะเกิดผลเสียต่อร่างกายและจิตใจของท่านได้ ขอให้ท่านลองประเมินตนเองโดยให้คะแนน 0-3 ที่ตรงกับความรู้สึกของท่าน

ทำแบบประเมิน >> คลิกที่นี่ <<

Download PDF >> คลิ๊กที่นี่ <<

คะแนนชีวัดความเครียดจากแบบประเมินความเครียด ST5

คะแนน 0 หมายถึง แทบไม่มี

คะแนน 1 หมายถึง เป็นบางครั้ง

คะแนน 2 หมายถึง บ่อยครั้ง

คะแนน 3 หมายถึง เป็นประจำ


ความเครียดคืออะไร…?

ความเครียดเกิดขึ้นเมื่อบุคคลอยู่ในสภาวะกดดัน จนไม่สามารถจะแก้ปัญหากับสถานการณ์นั้นๆ ได้ โดยสามารถสังเกตได้ ดังนี้

  • ด้านร่างกาย
    มักเจ็บป่วยบ่อยๆ ปวดหัว ไมเกรน ปวดท้อง เป็นไข้ ภูมิแพ้ ปวดหลัง ปวดไหล่ อ่อนเพลีย ใจสั่น นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูง ทำให้ต้องลาป่วย ขาดงาน
  • ด้านจิตใจ
    วิตกกังวล คิดมาก ฟุ้งซ่าน หลงลืมง่าย หงุดหงิด โกรธง่าย ไม่มีสมาธิ ใจน้อย ซึมเศร้า หวาดระแวง ทำให้ไม่มีความสุข สีหน้าเศร้ามอง
  • ด้านพฤติกรรม
    มักสูบบุหรี่จัด กินเหล้ามาก ส่งผลให้ทะเลาะกับคนใกล้ชิดในครอบครัว รวมถึงมีผลกระทบต่อหน้าที่การงานด้วย

แบบประเมินความเครียด st5 กรมสุขภาพจิต


แล้วจะทำอย่างไรให้ชีวิตเป็นสุข…?

จากสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศในปัจจุบันที่บีบคั้น ทำให้คนเกิดความเครียดและเป็นทุกข์ ซึ่งความเครียดอาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การย้ายบ้าน การเปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วย การหย่าร้าง ภาวะว่างงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนและครอบครัว เป็นต้น

โดยเฉพาะบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานเป็นวัยที่จะต้องรับผิดชอบและเผชิญกับปัญหาเหล่านี้อยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นโอกาสในการเกิดความเครียดในวัยำางานจึงมีอัตราที่สูงขึ้นตามมาด้วย ความเครียดที่เป็นอันตราย คือ ความเครียดในระดับสูงที่คงอยู่เป็นเวลานานจะส่งผลเสียต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม ครอบครัว การทำงาน และสังคมได้ ดังนั้น เราจึงควรรู้จักการผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี เพื่อให้การดำเนินงานชีวิตของเราเป็นสุข