ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ กรมอนามัย

             เป็นการพัฒนาระบบที่สามารถน าไปใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในหน่วยงาน  โดยการน าไป ประยุกต์ให้เหมาะสมกับพื้นที่และความสอดคล้องของวัฒนธรรมชุมชนนั้นๆ ในการแก้ไขปัญหา โลหิตจางและ ภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์  ขณะคลอด  หญิงหลังคลอด ตลอดจนถึงทารกหลังคลอดที่กินนมแม่ หรืออาจ น าไปปรับใช้กับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น เบาหวาน  ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์

การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

ผู้แต่ง

  • นวพร วุฒิธรรม มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์, โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

บทคัดย่อ

           ภาวะโลหิตจางการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มที่สูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต        ของทารกในครรภ์ กล่าวคือการเจริญเติบโต ทางโครงสร้างและการพัฒนาการเกี่ยวกับระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกาย ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักน้อย ด้านหญิงตั้งครรภ์ คือ เสี่ยงต่อการตกเลือด บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด และภาวะทารกน้ำหนักน้อยตัวน้อยจากการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้อง พบว่า แนวทางการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ประกอบด้วย แนวทางการดูแล พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการตั้งเป้าหมายร่วมระหว่างพยาบาลกับกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ทั้ง 3 องค์ประกอบ สามารถปรับระดับความเข้มข้นของเลือด ดังนั้นการ ปฏิบัตินี้สามารถนำมาเป็นแนวทางในการป้องกันการตกเลือดหลัง ส่งผลให้ระดับความเข้มข้นของเลือดเพิ่มขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2559). สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก. นนทบุรี. องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

กนกวรรณ ฉันธนะมงคล. (2555). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมนรีเวช และศัลยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์จำกัด.

นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุลและคณะ. (บรรณาธิการ). (2556). คู่มือแนวทางการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. นนทบุรี. สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

นวพร วุฒิธรรม. (2559). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการเพิ่มระดับความเข้มข้นของเลือดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง : กรณีโรงพยาบาลกระทุ่มแบนในจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. 3(1), 27-39.

นวพร วุฒิธรรม. (2560). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวด้านโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกระทุ่มแบนในจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23(3), 405-415.

พิกุล อุทธิยา. (2557). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพยาบาลศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

รัตนา เพชรพรรณ และจินตนาวัชรสินธุ์. (2558). โปรแกรมการส่งเสริมโภชนาการต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกายน้อยในคลินิกเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 10(1), 129-144.

ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์. (2555). การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม 3. นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.

สราวุฒิ บุญสุข. (บรรณานุการ). (2557). แผนยุทธศาสตร์สุขภาพกระทรวงสาธารณสุขด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2557 (5 Flagship Projects). พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

สุจิตรา พรมทองบุญ. (2555). ผลของโปรแกรมการตั้งเป้าหมายร่วมต่อพฤติกรรมดูแลตนเองและค่าฮีมาโตคริตในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2560 จาก https://www.kb.psu.ac.th.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. (2557). การรายงานผลตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium DevelopmentGoals-MDGs) ฉบับที่ 3 ปี 2557. กรุงเทพฯ : สามเจริญพาณิชย์จำกัด.

American College of Obstetricians and Gynecologists. (ACOG). (2008). Anemia in pregnancy.Washington (District of Columbia: DC).

Amburgey, O.A., Ing, E., Badger, G.J., & Bernstein, I.M. (2009). Maternal hemoglobin concentration and its association with birth weight in newborns of mothers with preeclampsia. Journal Maternal Fetal Neonatal Medicine, 22(9), 740-4.

Blackburn, S. T. (2013). Maternal fetal & neonatal physiology : a clinical perspective. (4th ed.).Maryland Heights, MO : Elsevier Saunders.

Breymann, C., Bian, X.M., Blanco-Capito, L.R, Chong. C., Mahmud, G. & Rehman, R. (2011).Expert recommendations for the diagnosis and treatment of iron-deficiency anemia during pregnancy and the postpartum period in the Asia-Pacific region.Journal Perinatal Medicine, 39(2), 113-21.

Chowdhury, S., Rahman, M., & Mouriruddin, A.R.M. (2014). Anemia in pregnancy. Medicine Today, 26(1), 49-52.

Derricott, B. (2013). Pregnancy physiologic changes and laboratory values. [Online]. Retrieved November 20, 2017, from https://www.nursingceu.com/courses.

Evans, K., & John, E. (2013). The Immunoassay Handbook (4th ed.). [Online]. Retrieved December 20, 2017, from https:///www.sciencedirect.com.

Green, L.W. & Krueter, M. (2005). Health program planning : An educational and ecological Approach (4thed.). New York: McGraw-Hill.

Goudarzi, M., Yazdan-Nik A, & Bashardoost N. (2008). The relationship of the first/third trimester hematocrit level with the birth weight and preeclampsia. Iran Journal Nurse, 21(54), 41-9.

Hassan, et al. (2014). Anemia and iron deficiency in pregnant women in Zaria, Nigeria. Sub-Saharan African Journal of Medicine. (1), 36-9.

Khoigani,M.G, Goli, S. & Zadeh,A.H. (2012). The relationship of hemoglobin and hematocrit in the first and second half of pregnancy with pregnancy outcome Iran. Journal Nurse Midwifery Research, 17(2) Suppl1), S165-S170.

Kemmis, S. & McTaggart, R. (2003). Participatory action research: Communicative action in the public sphere, in N. Denzin and Y. Lincoln (Eds.). Handbook of Qualitative Research, 559-603.

King, I.M. (2000). Evidence-based nursing practice: Theories. Journal of Nursing Theory, 9(2), 4-9.

Kilpatrick, S.J. (2009). Anemia and pregnancy: Maternal-fetal medicine : Principles and practice. (6thed). Philldephia : Saunders.

Orem, D. E., Renpenning, K. M., & Taylor, S. G. (2003). Self care theory in nursing : Selected papers of Dorothea Orem. New York: Springer Pub.

Perry, S.E., Hockenberry, M.J., Lowdermilk, D.L. & Wilson, D. (2014). Maternal Child Nursing Care. (5thed). Canada: Mosby.

Pender N. J., Murdaugh, C. L., & Parsons, M. A. (2006). Health promotion in nursing practice. (5 th ed.). New Jersey: Pearson Education.

Sabina, S., et al. (2015). An Overview of Anemia in Pregnancy. Journal of innovation in pharmaceuticals and biological scinences, 2(2), 144-151.

WHO. (2013). Maternal and reproductive health. [Online]. Retrieved November 20, 2017, from https://www.who.int/gho/maternal_health/en/.

WHO. (2012). Anaemia Policy Brief. [Online]. Retrieved November 20, 2017, from https://www.who.int/nutrition/topics/.

WHO. (2012). Guideline: Daily iron and folic acid supplementation in pregnant women. Geneva 27. Switzerland.

Zhang, Q.,Ananth, C.V., L. Z.,& Smulian, J.C. (2009). Maternal anaemia and preterm birth: a prospective cohort study. Internaternal Journal Epidemiol, 38(5), 1380-