โครงงาน สุขภาพ นักเรียน ด้าน ส่งเสริมสุขภาพ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ รายงานฉบับสมบูรณ์กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะหะมะรูขอเล หะยีอาแต


ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2480-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
   วัตถุประสงค์โครงการ »
   กิจกรรม/การดำเนินงาน »
   กลุ่มเป้าหมาย »
   ผลลัพธ์ที่ได้ »
   การประเมินผล »
   ปัญหาและอุปสรรค »
   ข้อเสนอแนะ »
   เอกสารประกอบอื่นๆ »


ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลมีนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี โครงการส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลยุทธ์หนึ่งในการสร้างหลักประกันสุขภาพพื้นฐานโดยมีโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น และเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสุขภาพอนามัยที่อาศัยความสัมพันธุ์เชิงสร้างสรรค์ระหว่างนักเรียนกับครอบครัว และชุมชน จึงเป็นกลยุทธ์การบูรณการงานโภชนาการ การออกกำลังกาย การเจริญพันธุ์ สุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคและส่งเสริมอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสุขภาพแบบองค์รวม อีกทั้งเป็นกระบวนการเรียนรู้ สร้างค่านิยม เสริมทักษะนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัย ศูนย์เครือข่ายสถานศึกษามะรือโบออก เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลสุขภาพของนักเรียน โดยสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงในการจัดการศึกษาของโรงเรียน หากนักเรียนมีสุขภาพอนามัยต่ำกว่ามาตรฐาน ย่อมทำให้การพัฒนาของนักเรียนไม่ประสบผลสำเร็จ จึงได้จัดมีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้เรียนรู้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนในการดูแล ป้องกัน และรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ
  2. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีภูมิคุ้มกันโรค ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
  3. เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนการ
  4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง
  5. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
  6. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีสุขภาพดีทุกคน
  2. โรงเรียนปลอดยาเสพติด
  3. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนรู้จักเลือกรับประทานที่มีคุณค่าและปลอดภัย
  4. บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีอัตราการเจ็บป่วยที่เกิดจากการแพร่พันธุ์ของโรคลดลง
  5. นักเรียนรู้จักการจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง มีสุขภาพนิสัยและพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดที่ดีตั้งแต่วัยเรียน
  6. นักเรียนมีความมั่นคงในตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น


วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

วันที่ 18 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมปรึกษาหารือผู้บริหารโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษามะรือโบออก และผู้เกี่ยวข้อง
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  3. ประสานกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง
  4. จัดทำเอกสารประกอบการอบรม
  5. ดำเนินการจัดกิจกรรมประกอบด้วย 6 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 อบรมมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 2 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมที่ 3 ต้นไม้พูดได้ กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันกลุ่มเสี่ยงและเฝ้าระวังยาเสพติด กิจกรรมที่ 5 การเรียนรู้เป็นฐานเกี่ยวกับยาเสพติด กิจกรรมที่ 6 ต้นกล้าพันธุ์ใหม่
  6. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้เรียนรู้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนในการดูแล ป้องกัน และรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ 2.ให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีภูมิคุ้มกันโรค ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ 3.ให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนการ 4.ส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง 5.ส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน 6.ให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

110 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ :

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้เรียนรู้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนในการดูแล ป้องกัน และรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ
ตัวชี้วัด : บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
110.00 110.00
2 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีภูมิคุ้มกันโรค ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด : บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนร้อยละ 80 มีภูมิคุ้มกันโรค ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
110.00 110.00
3 เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนการ
ตัวชี้วัด : บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการบรโภคอาหาร
110.00 110.00
4 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด : สถานศึกษาปลอดยาเสพติด
110.00 110.00
5 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : อาคารสถานที่และบริเวณโรงเรียนสะอาด
110.00 110.00
6 เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพจิตดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
110.00 110.00

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้เรียนรู้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนในการดูแล ป้องกัน และรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ (2) เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีภูมิคุ้มกันโรค ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ (3) เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีความรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนการ (4) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (5) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน (6) เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะหะมะรูขอเล หะยีอาแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......


vertical_align_topไปบนสุด