อาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข เทคนิค

ส วั ส ดิ์ ตั น ติ สุ ข

ศิ ล ปิ น แ ห่ ง ช า ติ

“ ทำ ง า น จิ ต ร ก ร ร ม อ ย่ า ท า สี จ ง ร ะ บ า ย สี ”

อาจารย์
สวัสดิ์ ตันติสุข

เ ป็ น ศิ ล ปิ น แ ห่ ง ช า ติ ส า ข า ทั ศ น ศิ ล ป์
( จิ ต ร ก ร ร ม ) ป ร ะ จำ ปี พ . ศ . 2 5 3 4 ร า ช บั ณ ฑิ ต

สำ นั ก ศิ ล ป ก ร ร ม ป ร ะ เ ภ ท วิจิ ต ร ศิ ล ป์ ส า ข า
จิ ต ร ก ร ร ม ผู้ บุ ก เ บิ ก ศิ ล ป ะ ส มั ย ใ ห ม่ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ

มี ผ ล ง า น จิ ต ก ร ร ม ดี เ ด่ น เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ ข อ ง
ว ง ก า ร ศิ ล ป ะ ทั้ ง ใ น อ ดี ต แ ล ะ ปั จ จุ บั น ไ ด้

ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ ล ง า น ศิ ล ป ะ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เ ป็ น เ ว ล า
ย า ว น า น ก ว่ า 6 5 ปี ก า ร บุ ก เ บิ ก ง า น จิ ต ร ก ร ร ม ที่
สำ คั ญ คื อ ไ ด้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ ล ง า น จ า ก แ บ บ ที่ เ ป็ น

รู ป ธ ร ร ม เ ข้ า สู่ แ บ บ น า ม ธ ร ร ม ทำ ใ ห้ ศิ ล ปิ น ไ ท ย
ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ใ น ว ง ก า ร ศิ ล ป ะ น า น า ช า ติ

ประวัติ อาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข
อาจารย์ -เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2468 ธนบุรี
สวัสดิ์ ตันติสุข -เสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2552
การศึกษา
- โรงเรียนวัดรางบัว
- โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
- โรงเรียนเพาะช่าง
- คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
- Academy of Fine Arts, Rome, Italy
ปัจจุบัน
- ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม (วิจิตรศิลป์ จิตรกรรม) 2535
- ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) 2534

ผลงาน

In the Street, Italy. 1957, 21x28 cm. ink on paper Front, Nude. 1958, 21x27 cm. ink on paper

ผลงาน

กัวลาลัมเปอร์ เทคนิคสีน้ำ ขนาด 57 คูณ 46 ซม. พ.ศ.2532 นครปฐม เทคนิคสีน้ำมัน ขนาด 37 คูณ 50 ซม. พ.ศ. 2524

ผลงาน

Klonglarn Waterfall. 1995, 90x120 cm. oil on canvas Landscape Ruins. 38x50 cm. oil on board

ผลงาน

Watercolor Painting 2000. 2000, 50x35 cm. Hotel Room, Vietnam. 1998, 38x28 cm.
watercolor on paper watercolor on paper

ผลงาน

Montezakel. 1960, 50x38 cm. watercolor on paper Thammasart. 1992, 37x25 cm. ink and watercolor on paper

ผลงาน

Saint Paul Chapel Munich. 1960, Golden Shower. 2007, 70x90 cm. ดอกไม้ เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบขนาด 62 คูณ
26x37 cm. oil on canvas 49 ซม.พ.ศ. 2502

watercolor on paper

รางวัลและเกียรติคุณ

รางวัลที่ 3 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 1
รางวัลที่ 2 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 2
รางวัลที่ 2 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 3
รางวัลที่ 2 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 4
รางวัลที่ 1 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 5
รางวัลที่ 2 ประเภทวาดเส้น การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 5
รางวัลที่ 1 ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6
ศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทจิตรกรรม จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2498
เหรียญทอง การประกวดภาพเขียน ณ เมืองเรเวนนา อิตาลี พ.ศ. 2502

-รางวัลที่ 1 การประกวดภาพเขียน ณ มหาวิทยาลัยแห่งโรม อิตาลี พ.ศ. 2503
- รางวัลที่ 1 ประเภทสีน้ำ การประกวดภาพเขียนขององค์การส่งเสริมการท่อง
เที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2504
- รางวัลที่ 2 การแสดงศิลปะนานาชาติ กรุงไซง่อน เวียดนามใต้ พ.ศ. 2505
- รางวัลงานมหกรรมศิลปะ ณ เมืองคานส์ ฝรั่งเศส พ.ศ. 2512
- ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร 2527
- ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี 2534
- ราชบัณฑิต ประเภทวิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม ประจำปี 2535

เครื่องราช พ.ศ. 2543 – เครื่องอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎ
อิสริยาภรณ์
ไทย ชั้นสูงสุดมหาวชิรมงกุฎ

พ.ศ.2548 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้าง

เผือก ชั้นสูงสุดมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก

พ.ศ. 2517 – เหรียญจักรพรรดิมาลา

พ.ศ. 2544 – เหรียญดุษมาลา เข็มศิลปะวิทยา สาขาวิชา

วิจิตรศิลป์

พ.ศ. 2522 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่9 ชั้นที่4

พ.ศ. 2544 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประเภท

วิจิตรศิลป์

Thyoaun!k

นางสาวกัญญรัตน์ กันยอง ม.5/5 เลขที่ 8 นางสาวอัญชิสา ปาละก้อน ม.5/5 เลขที่ 7

สวัสดิ์ ตันติสุข
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) พุทธศักราช ๒๕๓๔

อาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข เทคนิค

เกิด ๒๔ เมษายน ๒๔๖๘ ที่กรุงเทพมหานคร (ถึงแก่กรรม ๔ สิงหาคม ๒๕๕๒) ครอบครัว สมรสกับนางปราณี ศรีวิภาต (สถานะปัจจุบันหย่า) มีบุตร ๑ คน การศึกษา อนุปริญญาคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร การทำงาน เริ่มรับราชการที่กรมศิลปากร และอดีตผู้อำนวยการวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร

การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ของประเทศ มีผลงานจิตรกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรับ ของวงการศิลปะทั้งในอดีตและปัจจุบัน ได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนานกว่า ๕๐ ปี การบุกเบิกงานจิตรกรรมที่สำคัญคือได้สร้างสรรค์ผลงานจากแบบที่เป็นรูปธรรมเข้าสู่แบบนามธรรมซึ่งมีผลต่อ พัฒนาการด้านจิตรกรรมของศิลปินรุ่นหลังเป็นอย่างมาก ทำให้ศิลปินไทยประสบความสำเร็จในวงการศิลปะ นานาชาติ และยังได้อุทิศตนให้กับการสอนและการเผยแพร่ศิลปะไทยร่วมสมัยให้แก่นักศึกษาในสถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป ได้ร่วมแสดงผลงานในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ศิลปะนานาชาติ และการแสดงศิลปะอื่นๆ มากมายจนถึงปัจจุบัน ผลงานศิลปะและวิชาการทางศิลปะเป็นประโยชน์ต่อสังคมในทางสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ได้รับรางวัลและเกียรติคุณจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติและนานาชาติ เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมของการแสดง ศิลปกรรมแห่งชาติ ดำรงชีวิต สร้างสรรค์ศิลปะ และประกอบกิจการงานด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่อนุชน รุ่นหลัง