การแทรกสอดของคลื่น ตัวอย่าง

����á�ʹ�繻�ҡ���ó����Դ���������ͤ����ͧ��ǹ����͹��躹��ǡ�ҧ���ǡѹ�Ҿ��ѹ ������Դ�����Ѿ��ҡ�������ѹ�ͧ���蹷���ͧ��з���Դ��ë�͹�Ѻ�ѹ ����á�ʹ�ѹ�ͧ������ 2 Ẻ ��� Ẻ����� (Constructive interference) ��С���á�ʹẺ�ѡ��ҧ (Destructive interference)

การแทรกสอดของคลื่น ตัวอย่าง

คลิปวีดิทัศน์, คลื่นกล และ เสียง

จุดประสงค์ เพื่อศึกษาและอธิบายสมบัตการแทรกสอดของคลื่นน้ำ

วิธีทดลอง

  1. ติดตั้งชุดถาดคลื่นแล้วจัดปุ่มกำเนิดคลื่นอันกลางและปุ่มด้านข้างอันใดอันหนึ่งให้แตะผิวน้ำ
  2. ทำให้เกิดเคลื่อนต่อเนื่องวงกลมสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการแผ่ออกไป สังเกตและบันทึกภาพที่เกิดขึ้นบนแผ่นกระดาษที่เป็นฉาก ทั้งที่เป็นแนวแถบมืดและแนวแถบสว่างในบริเวณหน้าคลื่นวงกลมทั้งสองกระบวนพบกัน

รูป การจัดชุดถาดคลื่นเพื่อศึกษาสมบัติการแทรกสอดของคลื่นน้ำ

วีดิทัศน์การทดลอง

คำถามชวนคิด

  • จากภาพคลื่นต่อเนื่องวงกลมที่ปรากฏบนแผ่นกระดาษที่เป็นฉากจะมีตำแหน่งที่เป็นแถบมืด แถบมืดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร
  • แนวแถบมืดและแนวแถบสว่างในบริเวณหน้าคลื่นวงกลมทั้งสองขบวนพบกันมีลักษณะอย่างไร มีการเปลี่ยนตำแหน่งหรือไม่

Comments

comments

 การแทรกสอดของคลื่น(Interference)  

           การแทรกสอด เกิดขึ้นจากการที่คลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์(ส่งคลื่นที่มีความถี่คงที่ ความยาวคลื่นและอัตราเร็วคลื่นคงที่)  ตั้งแต่สองแหล่งกำเนิดขึ้นไปเดินทางมาพบกันจะเกิดการแทรกสอดหรือเกิดการรวมกันของคลื่น  แบ่งได้ 2 แบบ คือ
1.ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบเสริมกัน จะมีค่าแอมพลิจูดมาก เรียกตำแหน่งนี้ว่าปฏิบัพ(Antinode : A)
2.ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบหักล้างกันจะมีค่าแอมพลิจูดน้อยเกือบเป็นศูนย์ เรียกตำแหน่งนี้ว่า บัพ(node : N)

           เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อ เนื่องสองขบวน  เกิดแนวการแทรกสอด โดยที่แนวกลางระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่นเป็นแนวการแทรกสอดแบบเสริม ให้ชื่อว่าแนวปฏิบัพกลาง A0 

การแทรกสอดของคลื่น ตัวอย่าง

รูปแสดงแนวการแทรกสอดของคลื่น เมื่อส่งคลื่นเฟสตรงกัน

การแทรกสอดของคลื่น ตัวอย่าง

ภาพเคลื่อนไหวแสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์

1.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบเสริมกัน(แนวปฏิบัพ)

2.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง(แนวบัพ) 


            เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีเฟสตรงกันข้ามเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่น ต่อเนื่องสองขบวน เกิดแนวการแทรกสอด โดยที่แนวกลางระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่นเป็นแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง ให้ชื่อว่าแนวบัพกลาง N0

1.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบเสริมกัน(แนวปฏิบัพ) จะสลับสูตรกับเฟสตรง


2.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง(แนวบัพ) จะสลับสูตรกับเฟสตรงกัน



การแทรกสอดของคลื่น ตัวอย่าง

http://kruweerajit1.blogspot.com/p/tre.html