ประโยชน์ของ gps มีอะไรบ้าง

GPS (Global Positioning System) ��� �к��кص��˹觺�����š ��觷ӧҹ�����Ѻ��������͡���˹觷����� 24 �ǧ �������GPS �繴�����������ǧ⤨��дѺ��ҧ (Medium Earth Orbit) ����дѺ�����٧����ҳ 20,200 �������� �ҡ��鹼���š �·���ǤԴ㹡�þѲ���к�GPS ������鹵����� �.�. 1957 ����͹ѡ�Է����ʵ��ͧ���Ѱ����ԡ� ����㹻� �.�. 1960 ����������ͺ��ҹ�ѹ��ԧ �㹡ͧ�Ѿ�������Ѱ����ԡ� �����˵ط����������� GPS ��ѹ���ҧ������¨��֧�ء�ѹ����Դ�ҡ�˵ء�ó�㹻� �.�. 1983 �������ͧ�Թ����¹�����Ź� ����ǺԹ��� 007 �ͧ������� �Թ��Ѵ�ŧ����㹹�ҹ��Ңͧ���Ҿ����µ ��ж١�ԧ�� �������� 269 �����ª��Ե������ ��иҹҸԺ���ù�Ŵ� ��᡹���С����� ����;Ѳ���к��վ������������ ��͹حҵ����ЪҪ��������ҹ�� ����� GPS ��١�Ѳ����ԧ�ҳԪ��͡�ҡ������㹡�÷�����§���ҧ������ҹ��

ประโยชน์ของ gps มีอะไรบ้าง

����к� GPS �зӧҹ�Ǻ���Ѻ������� GPS �����кص��˹觺���鹼���š �µ������ͧ�Ѻ�ѭ�ҳ GPS �е�ͧ�����żŤ���ᵡ��ҧ�ͧ����㹡���Ѻ�ѭ�ҳ��º�Ѻ���Ҩ�ԧ ������ö�����кص��˹觺�����š�����ҧ�Ѵਹ

GPS �ա������� ���ú�ҧ
- GPS ��������ҹ�ѹ����㹻Ѩ�غѹ�������� 2 ���������¡ѹ��� GPS Navigator (�ػ�ó�����к��ӷҧ) ��� GPS Tracking System (�ػ�ó�����к��Դ���ö �Ҿ��й������ѵ������§)

- GPS Navigator (�ػ�ó�����к��ӷҧ) �� GPS ��������ҹ�ö¹�����价��͡Ἱ������Թ�ҧ���¡�û�͹�����Ţͧ�������ŧ�����ͧ�ӷҧ GPS

- GPS Tracking System (�ػ�ó�����к��Դ���ö �Ҿ��й������ѵ������§) ����� GPS �������ö�Դ�������Թ�ҧ ��к͡�ԡѴ��е��˹觢ͧ ����ͧ GPS ����� ���������ö�����͡���ա 2 Ẻ���¡ѹ��� �ػ�ó�Դ���öẺ Offline ����ö��Ǩ�ͺ����ѵԡ���Թ�ҧ�� ���������ö��Ǩ�ͺ���˹觷������ͧ����ͧ GPS �� ���Ẻ����ͧ�ػ�ó�Դ���öẺ��� Offline ��觨зӧҹ�����Ѻ��Ͷ���������ö���дٻ���ѵԡ���Թ�ҧ�������駵��˹觻Ѩ�غѹ�ͧ�ػ�ó� GPS �������ա����

ดาว เทียม GPS เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรต่ำอยู่ที่ระดับความสูง 11,000 ไมล์จากระดับพื้นผิวโลก ใช้ในการยืนยันตำแหน่งโดยอาศัยพิกัดจากดาวเทียม 3-4 ดวง  ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกเป็นเวลา 12 ชั่วโมงต่อหนึ่งรอบที่ความเร็ว 4 กิโลเมตร/วินาที การโคจรแต่ละรอบนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง โดยทำมุม 55 องศา โดยทั้งระบบจะต้องมีดาวเทียม 24 ดวงหรือมากกว่าเพื่อให้สามารถยืนยันตำแหน่งได้ครอบคลุมทุกจุกบนผิวโลก โดยในปัจจุบันจะเป็นดาวเทียม GPS Block-II

ประโยชน์ของ gps มีอะไรบ้าง

Delta IV rocket launching the first GPS IIF satellite, May 2010
(Photo courtesy of United Launch Alliance)

ประโยชน์ของ gps มีอะไรบ้าง

GPS Constellation
(Courtesy of US NEC for PNT)
20,200km Altitudes, 55 degree inclination

ประโยชน์ของ gps มีอะไรบ้าง

GPS Block II/IIA satellite

ระบบบอกพิกัดดาวเทียมอื่นๆที่คล้ายคลึงกับระบบ GPS ในปัจจุบันบันมีหลายระบบ ไดแก

  1. 1.              GLONASS (Global Navigation Satellite System)เป็นระบบของรัสเซีย ที่พัฒนาเพื่อ แข่งขันกับสหรัฐอเมริกาแต่ระบบนี้ยังใช้งานไดไมสมบูรณ์ ใช้งานได้เฉพาะในรัสเซีย ยุโรปและแคนาดา
  2. 2.              Galileoเป็นระบบที่พัฒนาโดยสหภาพยุโรปร่วมกับจีน อิสราเอล อินเดีย โมร็อกโก ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต้และยูเครน แล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2553
  3. 3.              Beidouเป็นระบบที่กำลังพัฒนาโดยประเทศจีน โดยให้บริการเฉพาะบางพื้นที่แต่ในอนาคตมีแผนที่จะพัฒนาโดยให้ครอบคลุมทั่วโลกโดยจะใช้ชื่อว่า COMPASS
  4. 4.              QZSSระบบ ดาวเทียมของญี่ปุ่น ทำหน้าที่หลากหลาย ช่วยเสริมการหาตำแหน่งด้วย GPS โดยเน้นพื้นที่ประเทศญี่ปุ่น ที่มีอาคารสูงบดบังสัญญาณ GPS สำหรับ QZSS ถูกออกแบบให้มีวงโคจรเป็นเลข 8 โดยเต็มระบบจะประกอบด้วยดาวเทียม 3-4 ดวง

การทำงานของ GPS

ดาว เทียมทุกดวงที่โคจรอยู่บนท้องฟ้าจะมีการส่งสัญญาณGPS มาที่พื้นดินเพื่อที่จะบอกพิกัดตัวเองต่อสถานีควบคุม ข้อจำกัดคือดาวเทียมไม่สามารถใช้พลังงานสูงมากนักเนื่องจากพลังงานทั้งหมด ไดจากพลังงานแสงอาทิตย์ดังนั้นกำลังส่งของสัญญาณ GPS จึงมีขนาดเล็กมากนี้คือสาเหตุที่สำคัญที่ทำให้

1.เครื่องรับ GPS ตองมีความไวสูงมากๆ เพื่อให้สามารถที่จะรับสัญญาณ GPS จากดาวเทียมซึ่งโคจรอยู่และรับสัญญาณGPS ที่ภาคพื้นดินซึ่งมีขนาดสัญญาณที่เล็กมากๆ

2.จากผลของข้อ ที่1ทำให้เครื่องรับ GPS จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้าในส่วนภาครับเป็นจำนวนมากโดยส่วนนี้จะทำหน้าที่ ทั้งกรองสัญญาณที่รบกวนออกจากสัญญาณ GPS แล้วทำการขยายสัญญาณและนำไปถอดรหัสที่ส่วนของดิจิตอล ดังนั้นโดยทั่วไปเครื่องรับจึงมีอุปกรณ์จำนวนมากเราจึงเรียกมันว่าซิป เซต(Chipset)

3.จากข้อที่ 2 ภาคที่เป็นระบบดิจิตอลจะมี MCU เป็นหัวใจสำคัญในการคำนวณและถอดรหัสต่างๆ โดยปกติจะเป็น MCU ที่มีความสามารถในการคำนวณอย่างมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ MCU แบบ 32 บิต

4.หากสัญญาณ GPS ที่เครื่องรับและเครื่องส่งไม่ตรงกัน (Synchronize) งานนี้เราจะไม

สามารถถอดรหัสไดเลย ดังนั้น GPS หากต้องการบอกพิกัดไดจึงห้ามเปิดเครื่องจำเป็นต้องเปิดเครื่อง

ตลอดเวลา

5.เนื่อง จากสัญญาณGPS ที่ตกกระทบภาคพื้นดินมีขนาดเล็กมาก ดังนั้นมันจึงง่ายต่อการถูกรบกวน การที่จะให้สัญญาณที่แรงและดีที่สุดคืออย่าให้มีสิ่งกีดขวาง เครื่องรับ GPS บางประเภทจึงมีเสาอากาศแบบภายนอกโดยติดตั้งในที่โล่งแจ้งจึงทำให้เป็นที่มา ของคำว่า “ไม่เห็นท้องฟ้าก็จะรับสัญญาณ GPS ไม่ได้”

 

GPS มีกี่ประเภท?

GPS (Global Positioning System) มีใช้ในหลายวัตถุประสงค์ทางธุรกิจแต่ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมี 2 ประเภท คือ GPS Navigator (อุปกรณ์และระบบนำทาง) และ GPS Tracking System (อุปกรณ์และระบบติดตามรถ ยาพาหะนะหรือสัตว์เลี้ยง) โดยมีการทำงานที่แตกต่างกันดังนี้

  1. 1.              GPS NAVIGATOR (อุปกรณ์และระบบนำทาง)

เป็น อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อบอกตำแหน่งที่เราจะเดินทางไป ใช้การบอกตำแหน่งรถของเราร่วมกับแผนที่ในการเดินทาง ผู้ใช้งานโดยส่วนมากเป็นเจ้าของรถที่ต้องการเดินทางไปในที่ต่างๆที่ไม่คุ้น เคย เมื่อสิ้นสุดการเดินทางก็บรรลุวัตถุประสงค์แผนที่ที่ใช้ในระบบนำทางในรถยนต์ ที่ใช้กันโดยทั่วไปที่เป็นมาตรฐานอย่างไม่เป็นทางการ (de facto standard) มาจากสองบริษัทได้แก่แผนที่จากบริษัท แนฟเทค (NavTeq)และจากบริษัท เทเลแอตลาส (Tele Atlas)นอกจากสองบริษัทหลังนี้แล้ว ยังมีแผนที่จากบริษัทอื่นๆอีก แต่ไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากมีข้อจำกัดจากฟอร์แมตของแผนที่ที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบริษัท และบริษัทขนาดเล็กไม่สามารถสนับสนุนพื้นที่ครอบคลุมประเทศในทวีปต่างๆ ทำให้บริษัทขนาดใหญ่มีข้อได้เปรียบ ตลอดทั้ง ขั้นตอนที่ทำให้การประมวลผลแผนที่ๆจะใช้กับซอฟต์แวร์ระบบนำทางมีปัญหาในการ ทำแผนที่เพื่อให้ใช้กับกับซอฟต์แวร์นั้นๆ ดังนั้นบริษัททำระบบนำร่องส่วนใหญ่จะใช้แผนที่ของบริษัทหนึ่งบริษัทใด หรือสองบริษัทนี้ เพื่อความรวดเร็วในการประมวลผล เนื่องจากข้อมูลของแผนที่แต่ละประเทศมีขนาดข้อมูลมหาศาลและใช้เนื้อที่ในการ เก็บขนาดใหญ่ ทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลทุกอย่างที่เพื่อใช้ในซอฟต์แวร์ของระบบนำร่องได้จึง ได้มีการนำข้อมูลแผนที่นั้นมาทำการจัดเรียงใหม่เพื่อความเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในเรื่องขนาดของแผนที่ๆต้องนำไปใช้ ตลอดจนความรวดเร็วในการเข้าอ่านและประมวลผลข้อมูล

  • 2.               GPS TRACKING SYSTEM (อุปกรณ์และระบบติดตามรถหรือยานพาหนะ)

เป็น อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อติดตามรถโดยจะเก็บตำแหน่งการเดินทางตลอดเวลา เพื่อนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการยานพาหนะในเชิงการค้าพาณิชย์ รวมทั้งสิ่งของที่อยู่ในยานพาหนะผู้ใช้งานจะเป็นเจ้าของธุรกิจที่มีรถใช้ใน ภารกิจต่างๆ โดยจะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการการขนส่งในกลุ่มธุรกิจขนส่งสินค้า ธุรกิจบริการ ธุรกิจขนส่งผู้โดยสาร และรถสาธารณะต่างๆ โดยมากจะใช้ร่วมกับ software การรายงานประมวลและวิเคราะห์หาความคุ้มค่าสูงสุดในการใช้รถรวมถึงการป้องกัน การสูญเสียจากการขนส่งในทุกขั้นตอน มีการส่งข้อมูลภาพและข้อมูลอื่นผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอด 24 ชั่วโมง

ตัว อุปกรณ์ติดตามรถ GPS Tracking มีอยู่หลากหลายแบบ แต่เราสามารถแบ่งตามประเภทการใช้งานได้เป็น 3 แบบใหญ่ๆ คือ แบบ Offline, แบบกึ่ง Offline และแบบ Online มาดูกันดีกว่า ว่าอุปกรณ์ติดตามรถแต่ละแบบแตกต่างกันอย่างไร

GPS ใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง

ติดตามการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งของต่างๆ สำรวจเส้นทางและทำแผนที่ ใช้จีพีเอสในการควมคุมเครื่องจักรกล เช่น เครื่องจักรในการเกษตรกรรม เครื่องจักรที่ใช้บริเวณการขนส่งท่าเรือ ใช้จีพีเอสกับการจราจรและการขนส่ง ใช้ในการแก้ปัญหาการจราจร ปรับปรุงความปลอดภัย เพิ่มประสิทธิภาพในการคมนาคม ขนส่ง และใช้ในการประกันรถยนต์

ทำไมต้องใช้ GPS

เนื่องจาก GPS ติดตามรถ สามารถทราบตำแหน่ง และความเร็วของยานพาหนะในปัจจุบัน ทำให้เตือนผู้ขับขี่เมื่อมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการประสบอุบัติเหตุ รวมถึงมีระบบแจ้งเตือนอัตโนมัติให้ผู้ขับขี่ และผู้ควบคุมทราบในทันที ที่มีปัจจัยเสี่ยงตามเงื่อนไข เช่น วิ่งความเร็วเกินที่กำหนด หรือ วิ่งออกนอกเส้นทางที่วางแผนไว้ เป็นต้น

ผู้ใช้เครื่องรับสัญญาณ GPS สามารถใช้ประโยชน์เพื่อกิจการใดได้บ้าง

กิจกรรมสันทนาการ เช่นการกำหนดจุดกิจกรรม จุดรวมกลุ่ม การวัดความเร็วการแข่งขัน การเดินป่า การบันทึกเส้นทาง จุด check point หรือใช้กับเครื่องบิน, รถบังคับวิทยุระบบควบคุมที่สามารถติดตามได้ การค้าขาย การเดินเรือสินค้า การบอกพิกัดร้านค้า หรือตำแหน่งระบุจากรูปภาพ การโฆษณาเชื้อเชิญโดยระบุตำแหน่งพื้นที่ได้อย่างชัดเจน

ระบบติดตามรถ GPS Tracking คืออะไร มีประโยชน์อย่างไรบ้าง

GPS Tracking ช่วยให้ติดตามเส้นทางของยานพาหนะได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ ติดตามเส้นทางการเดินรถขนส่งในธุรกิจ ขนส่งและโลจิสติกส์ เพื่อมั่นใจได้ว่า รถทุกคัน เดินทางตามเส้นทางที่กำหนด ไม่ออกนอกเส้นทาง และเดินทางถึงจุดหมายตามเวลาที่กำหนด ช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้ความเร็วที่ไม่เหมาะสม ลดเวลาการทำงาน ในช่วงที่การจราจร ...