ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

สำหรับใครที่มีคนสูงวัยใกล้ตัว วิทยุ AM/FM นั้นมีประโยชน์ไม่น้อย เพราะคนรุ่นนี้จะคุ้นเคยกับวิทยุเหล่านี้ ดีกว่าการดูวิดีโอยูทูป เพราะเป็นการจัดรายการสด มีดีเจ สามารถโทรไปขอเพลง พูดคุยได้ มีทั้งสาระ น่ารู้ ธรรมะ ช่วยคลายเหงาได้ แต่วิทยุเหล่านี้ก็มีคุณสมบัติหลายอย่างที่ควรรู้ ก่อนจะซื้อหาไปให้คนแก่ใกล้ตัว โดยเฉพาะรุ่น ปู่ ย่า ตา ยาย ที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไปแล้ว ได้ไว้ใช้งาน

อ่านเพิ่มเติม..


ใส่ข้อความ ภาพลายเส้น บนวิดีโอ ในแอป Clipchamp ใน Windows 11

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

บทความนี้จะมาแนะนำการจัดการกับข้อความ พิมพ์ข้อความ ใส่ภาพลายเส้น สำหรับการตัดต่อวิดีโอด้วยแอป Clipchamp - Video Editor ใน Windows 11 การใช้ข้อความหรือลายเส้นมีจุดประสงค์เพื่ออธิบายขยายความให้เข้าใจเนื้อหาในวิดีโอ หรือ ทำให้วิดีโอดูน่าสนใจมากขึ้น เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีในการตัดต่อวิดีโอ

Menu bar เป็นที่รวมคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรม Dreamweaver ที่ใช้ในการจัดการกับไฟล์เว็บเพจ ประกอบด้วยเมนูแสดงดังภาพ

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

Menu bar ประกอบด้วยเมนูย่อย ดังนี้

1 File เป็นเมนูคาสั่งสำหรับจัดการกับไฟล์เว็บเพจ เช่น สร้างเว็บเพจใหม่ บันทึกเว็บเพจ เปิดเว็บเพจ แสดงเว็บเพจผ่านบราวเซอร์ หรือออกจากโปรแกรม เป็นต้น

2 Edit เป็นเมนูคำสั่งสำหรับการแก้ไข เช่น คัดลอง ตัด วาง ค้นหา รวมถึงการ ตั้งค่าการทำงาน (Preference) ต่าง ๆ เป็นต้น
3 View เป็นเมนูคำสั่งสำหรับปรับเปลี่ยนมุมมองของเว็บเพจขณะทำงาน เป็นต้น
4 Insert เป็นเมนูคำสั่งสำหรับแทรกวัตถุต่าง ๆ เช่น รูปภาพ เสียง ตาราง ฟอร์มต่าง ๆ ลงบนเว็บเพจ เป็นต้น
5 Modify เป็นเมนูคำสั่งสำหรับแก้ไขวัตถุต่าง ๆ บนเว็บเพจ เช่น การแก้ไข รูปแบบตัวอักษร การแก้ไขรูปภาพ การจัดการตาราง หรือการกำหนดคุณสมบัติของเว็บเพจ เป็นต้น
6 Format เป็นเมนูคำสั่งสำหรับเปลี่ยนรูปแบบโดยรวมของข้อความบนเว็บเพจ เช่น การจัดรูปแบบข้อความ การสร้างหัวข้อรายการ เป็นต้น
7 Command เป็นเมนูคำสั่งสำหรับจัดการกับชุดคำสั่งต่าง ๆ บนเว็บเพจที่ทำงานอยู่
8 Site เป็นเมนูคำสั่งสำหรับจัดการกับ Site เช่น สร้าง Site หรือแก้ไข Site ที่ทางาน รวมถึงการตรวจสอบลิงค์ต่าง ๆ ใน Site เป็นต้น
9 Window เป็นเมนูที่ใช้ในการเปิดหรือปิดพาเนลที่ทำงานอยู่
10 Help เป็นเมนูที่ใช้ในการขอความช่วยเหลือผ่านเว็บไซต์ Adobe

  1. Tool bar

Toolbar เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้รวมปุ่มคำสั่งที่จำเป็นต้องใช้งานเป็นประจำสามารถ เปิด/ปิดการใช้งานได้ Toolbars ประกอบด้วยแถบเครื่องมือดังนี้

2.1 Document Toolbar เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยปุ่มคาสั่งในการ กำหนดมุมมองการแสดงเว็บเพจ การแสดงความละเอียดของหน้าเว็บเพจ การโอน ย้ายไฟล์ หรือการกำหนดคำอธิบายเว็บเพจ เป็นต้น แสดงดังภาพ

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

2.2 Standard Toolbar เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยปุ่มคำสั่งพื้นฐาน ที่ใช้ในการจัดการไฟล์ เช่น การสร้างไฟล์ บันทึกไฟล์ เปิดไฟล์ คัดลอกย้าย หรือวางเนื้อหาตลอดจนการยกเลิกหรือทำซ้าคาสั่งด้วย แสดงดังภาพ

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

2.3 Style Rendering Toolbar เป็นทูลบาร์ที่ออกแบบมาเพื่อให้แสดงการทำงานของหน้าเว็บเพจที่ใช้ Style Sheet บนมีเดียประเภทต่าง ๆ เช่น บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ บนเครื่องพิมพ์ บนโปรเจ็คเตอร์ บนทีวี การเพิ่ม/ลดขนาดตัวอักษร ตลอดจนการแสดงสีของสถานการณ์เชื่อมโยง แสดงดังภาพ

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

  1. Application bar

เป็นแถบประยุกต์ ประกอบด้วยแถบเครื่องมือแสดงดังภาพ

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

3.1. สำหรับเลือกรูปแบบการแสดงพื้นที่สำหรับสร้างหน้าเว็บเพจ เช่น Code Split หรือ Design เป็นต้น

3.2. สำหรับค้นหา และติดตั้งโปรแกรมเสริม

3.3. สำหรับบริหารจัดการไซต์ เช่นสร้างไซต์ใหม่

  1. Workspace switcher

เป็นปุ่มสำหรับเปลี่ยนมุมมองพื้นที่ทำงาน (Workspace) โดยสามารถเลือกได้ว่าต้องการใช้งานรูปแบบในลักษณะใด ซึ่งใน Adobe Dreamweaver CS6 มีให้เลือกใช้ 11 แบบ แสดงดังภาพ

รู้จักส่วนประกอบโปรแกรม Microsoft Word 2013 และทราบถึงรูปร่างและการแบ่งสัดส่วนการทำงานของโปรแกรม Microsoft Word 2013

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

รู้จักส่วนประกอบหลักของโปรแกรม Microsoft word 2013 

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงส่วนประกอบหลักของโปรแกรม Microsoft word 2013 การแบ่งพื้นที่การใช้งานของโปรแกรม รูปร่างของโปรแกรม รู้ถึงความสามารถเบื้องต้นในแต่ละส่วน โดยอธิบายได้จากวีดีโอด้านล่างนี้ ถ้าพร้อมแล้วรับชมวีดีโอได้เลยครับ แล้วอย่าลืมทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้านล่างด้วยนะครับ 

ส่วนประกอบหน้าจอโปรแกรม Microsoft word 2013

ก่อนที่จะทำงานกับโปรแกรม Microsoft word 2013 จะต้องรู้จักส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมก่อน เพื่อที่จะกล่าวถึงในเนื้อหาทั้งหมดได้ง่าย

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

1    ไฟล์ (File)
ศูนย์รวมคำสั่งสำหรับจัดการไฟล์ เช่น เปิด (Open) สร้างไฟล์ใหม่ (New) บันทึก (Save)  เป็นต้น

2    แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access Toolbar)
แถบเก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ โดยโปรแกรม กำหนดค่าเริ่มต้นให้ แต่สามารถเพิ่มเติมได้

3    แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)
แถบแสดงชื่อและประเภทของไฟล์

4    ริบบอน (Ribbon)
แถบกลุ่มคำสั่งซึ่งประกอบด้วยคำสั่งต่าง ๆ โดยจะเก็บรวบรวมคำสั่งไว้เป็นหมวดหมู่ ดังนี้

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

แทรก     เป็นหมวดคำสั่งในการแทรกหรือเพิ่มข้อมูล คุณลักษณะต่างๆ เช่น แทรกตาราง แทรกรูปภาพ เป็นต้น

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

เค้าโครงหน้ากระดาษ    เป็นหมวดคำสั่งในการออกแบบหน้ากระดาษ เช่น กำหนดระยะขอบ ออกแบบสีของกระดาษ เป็นต้น

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

การอ้างอิง       เป็นหมวดคำสั่งสำหรับการอ้างอิงข้อมูลในอ้างอิงข้อมูลในเอกสาร เช่น เชิงอรรถ สารบัญ เป็นต้น

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

การส่งจดหมาย           เป็นหมวดคำสั่งสำหรับสร้างจดหมายเวียนของจดหมายฉลาก

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

ตรวจทาน        เป็นหมวดคำสั่งสำหรับการตรวจทานเอกสาร

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

มุมมอง       เป็นหมวดคำสั่งสำหรับการตรวจทานเอกสาร

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

5    แถบควบคุมวินโดวส์ (Windows Controls)
ปุ่มจัดการหน้าต่างโปรแกรม ใช้สำหรับ ย่อ ขยาย และปิด

6    แถบเลื่อน (Scrollbar)
ฃแถบสำหรับเลื่อนหน้าจอ

7    แถบสถานะ (Status Bar)
แถบแสดงข้อมูลเกี่ยวกับไฟล์ เช่น จำนวนหน้า จำนวนคำ และภาษาที่ใช้พิมพ์

8    แถบมุมมองเอกสาร (View Shortcuts)
ปุ่มกำหนดมุมมองการแสดงผลของเอกสาร

9    แถบย่อ/ขยายเอกสาร (Zoom Controls)
ปุ่มปับขนาดการแสดงผลของเอกสาร ย่อหรือขยาย คลิกรูป หรือเครื่องหมาย + หมายถึง ขยายเอกสาร คลิกรูป หรือเครื่องหมาย –  หมายถึง ย่อเอกสาร

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง
<<<<< click or scan here >>>>>>
ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมมีอะไรบ้าง

ในหัวข้อนี้เราได้ทำการแยกส่วนต่างๆ ของ Microsoft word 2013 ไว้เป็น 3 ส่วนหลัก เริ่มจากส่วนแถบเมนูด่วนซึ่งจะเป็นแถบด้านบนโดยเราสามารถจัดการกับเอกสารของเราได้ โดยอาศัยคำสั่งจากในส่วนนี้ ส่วนต่อมาเป็นพื้นที่ทำงานซึ่งจะแสดงเป็นหน้ากระดาษจำลอง และส่วนสุดท้ายคือส่วนแถบสถานะที่ทำให้เราทราบว่าในขณะนี้ เราได้จัดการกับไฟล์ที่ชื่อว่าอะไรอยู่