หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยอยธุ ยา 1. พระราชพงศาวดาร เป็นบันทึกเกีย่ วกับพระราชกรณียกจิ ของ พระมหากษัตรยิ ใ์ นดา้ นต่างๆ เปน็ หลกั ฐานที่เปน็ หลักฐานทเ่ี ป็นลาย ลกั ษณ์อกั ษร อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. พระราชพงศาวดารที่ยงั ไมผ่ ่านกระบวนการ ชาระให้ขอ้ มลู ตามท่ี ผู้บันทกึ เดิมเขียนไว้ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ พระราชพงศาวดารความเกา่ จ.ศ. 113 เป็น หลกั ฐานช้นั ตน้ 2. พระราชพงศาวดารที่ผ่านการ กระบวนการชาระ คอื มีการตรวจสอบ แก้ไขในสมยั ธนบรุ ีและรัตนโกสนิ ทร์ ทา ใหเ้ นอ้ื ความและจุดประสงค์แตกตา่ งไป จากเดมิ เปน็ หลกั ฐานชัน้ รอง

หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ สมยั อยธุ ยา 2. จดหมายเหตุโหร เปน็ งานของโหรประจาราชสานัก บันทึกพระ ราชกรณียกจิ และเหตุการณ์สาคัญในบ้านเมืองตามลาดับวนั ทเ่ี กดิ เหตุการณ์ โดยสรปุ ส้ันๆ เป็น หลกั ฐานท่ีเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร เปน็ หลกั ฐานชั้นต้น

หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ สมยั อยุธยา 3. จดหมายเหตชุ าวต่างชาติ ส่วนใหญเ่ ปน็ เอกสารทช่ี าวยุโรปทเ่ี ดินทางเขา้ มา ในอาณาจักรอยุธยาเขยี นข้ึน เช่น จดหมายเหตฟุ านฟลีต ของเยเรเมียส ฟาน ฟลตี ชาวฮอลนั ดา เป็น หลักฐานทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อักษร เปน็ หลักฐานช้นั ต้น 4. วรรณกรรม สมัยอยธุ ยามวี รรณกรรมหลายเร่อื งที่ใหข้ อ้ มลู ทาง ประวตั ศิ าสตร์ เชน่ ลิลติ โองการแช่น้า ลิลติ ยวนพา่ ย เป็นหลักฐานที่ เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นหลักฐานชนั้ ต้น

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยอยุธยา 5. จารึก หมายถึง การเขียนรอยลกึ เป็นตัวอกั ษรลงบน แผ่นหนิ หรือโลหะ เชน่ จารึกเจดีย์ ศรีสองรกั ทเ่ี มืองด่าน ซ้าย จงั หวดั เลย เปน็ หลักฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เปน็ หลกั ฐานชน้ั ต้น 6. หลกั ฐานทางโบราณคดแี ละศิลปกรรม เช่น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถทุ ่สี รา้ งในสมยั อยุธยา ซ่ึงมจี านวนมาก หลักฐานท่ไี ม่เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เป็น หลกั ฐานชน้ั ต้น

หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ สมัยธนบรุ ี 1. พระราชพงศาวดาร เชน่ พระราชพงศาวดารกรุงธนบรุ ีฉบบั พนั จันทนุมาศ บางฉบับอยตู่ ่อเป็นสว่ นทา้ ยของพระราชพงศาวดารกรงุ ศรี อยธุ ยา เช่น ในฉบับกรงุ สยามฯ ฉบบั พระราชหตั ถเลขา หลกั ฐานที่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เป็นหลักฐานชนั้ ตน้ 2. เอกสารชาวตา่ งชาติ เช่น ชิงสือ่ ลู่ กล่าวถึงการติดตอ่ ระหว่างสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชกบั ราชสานกั ราชวงศช์ ิงของจีน มขี ้อมลู เกย่ี วกบั สมยั สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช หลกั ฐานทเ่ี ป็นลายลักษณ์ อกั ษร เปน็ หลกั ฐานชั้นตน้

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ สมัยธนบุรี 3. บนั ทึกจากเร่อื งบอกเลา่ เชน่ จดหมายเหตุความทรงจา กรมหลวงนรินทรเทวี กล่าวถึงเร่ืองราวกอ่ นเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยาครง้ั ที่ 2 และเหตกุ ารณ์สมัยธนบรุ ีจนถงึ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ หลกั ฐานที่เป็นลาย ลักษณอ์ กั ษร เป็นหลกั ฐานชน้ั ตน้

ขอขอบคณุ เน้อื หา https://kamolwannun.w ixsite.com/history http://www.satit.up.ac.th/BBC07 /AroundTheWorld/hist/24.htm ด.ช. พิศนันท์ บำรุงจิตร์

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานีของไทยมีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 - 18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเรื่องราวเหตุการณ์ในลักษณะ ตำนานพงศาวดาร ไปจนถึงหลักศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียงเหตุการณ์มากที่สุด ซึ่งเมืองอโยธยาหรืออโยธยาศรีรามเทพนคร หรือเมืองพระราม มีที่ตั้งอยู่บริเวณด้านตะวันออกของเกาะเมืองอยุธยา มีบ้านเมืองที่มีความเจริญทางการเมือง การปกครอง และมีวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองแห่งหนึ่ง มีการใช้กฎหมายในการปกครองบ้านเมือง 3 ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จ พระอัยการลักษณะทาส พระอัยการลักษณะกู้หนี้

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกู้เอกราชคืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงกอบกู้เอกราชได้ในปลายปีเดียวกันแล้วทรงสถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ โดยกวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรีอยุธยาไปยังกรุงธนบุรีเพื่อสร้างเมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยาไม่ได้ กลายเป็นเมืองร้าง ยังคงมีคนรักถิ่นฐานบ้านเดิมอาศัยอยู่และราษฎรที่หลบหนีไปได้กลับเข้ามาอยู่รวมกัน ต่อมาได้รับการยกย่อง เป็นเมืองจัตวาเรียก "เมืองกรุงเก่า"

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็นหัวเมืองจัตวาเช่นเดียวกับสมัยกรุงธนบุรี หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้จัดการปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคโดยการปกครองส่วนภูมิภาคนั้นโปรดให้จัดการปกครองแบบเทศาภิบาลขึ้นโดยให้รวมเมืองที่ใกล้เคียงกัน 3 - 4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรดให้จัดตั้งมณฑลกรุงเก่าขึ้น ประกอบด้วยหัวเมืองต่าง ๆ คือ กรุงเก่าหรืออยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี ต่อมาโปรดให้รวมเมืองอินทร์ และเมืองพรหมเข้ากับเมืองสิงห์บุรี ตั้งที่ว่าการมณฑลที่อยุธยา และต่อมาในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อจากมณฑลกรุงเก่าเป็นมณฑลอยุธยา ซึ่งจากการจัดตั้งมณฑลอยุธยามีผลให้อยุธยามีความสำคัญทางการบริหาร การปกครองมากขึ้นการสร้างสิ่งสาธารณูปโภคหลายอย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิกการปกครองระบบเทศาภิบาล ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึงเปลี่ยนฐานะเป็นจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีได้มีนโยบายบูรณะโบราณสถานภายในเมืองอยุธยาเพื่อเป็นการฉลองยี่สิบห้าพุทธศตวรรษประจวบกับในปี พ.ศ.2498นายกรัฐมนตรีประเทศพม่าเดินทางมาเยือนประเทศไทยและมอบเงินจำนวน200,000 บาท เพื่อปฏิสังขรณ์วัดและองค์พระมงคลบพิตร เป็นการเริ่มต้นการบูรณะโบราณสถานในอยุธยาอย่างจริงจัง ซึ่งต่อมากรมศิลปากรเป็นหน่วยงานสำคัญในการดำเนินการ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก มีมติให้ขึ้นทะเบียนนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเป็น " มรดกโลก " เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2534มีพื้นที่ครอบคลุมในบริเวณโบราณสถานเมืองอยุธยา

อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานีมาตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 1893 จนถึงวันที่ 7เมษายน 2310 เป็นเวลายาวนานถึง 417 ปี มีประวัติในการปกครอง การกอบกู้เอกราช วีรกรรมและด้านขนบธรรมเนียมประเพณีมากมาย เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธ์ธัญญาหารดังคำกล่าวว่า " ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว " ทั่วทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยายังมากมายไปด้วยวัดวาอาราม ปราสาทราชวังและปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุมากมายกรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ปกครองอาณาจักรสืบต่อกันมา 33 พระองค์ มีราชวงศ์ผลัดเปลี่ยนกันครองอาณาจักรรวม 5 ราชวงศ์

1. ราชวงศ์อู่ทอง              2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
3. ราชวงศ์สุโขทัย           4. ราชวงศ์ปราสาททอง
5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาลำดับพระนามปีที่ครองราชย์ (พ.ศ.)ราชวงศ์1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)1893 - 1912  (19 ปี)อู่ทอง2สมเด็จพระราเมศวร (โอรสพระเจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ครั้งที่ 11912 -1913 (1 ปี )อู่ทอง3สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว)1913 - 1931  (18 ปี)สุพรรณภูมิ4สมเด็จพระเจ้าทองลัน (โอรสขุนหลวงพะงั่ว)1931 - 1931 (7 วัน)สุพรรณภูมิ5พระราเมศวร 1931 -1938 ( 7 ปี)อู่ทองสมเด็จพระราชาธิราช (โอรสพระราเมศวร)1938 -1952 (14 ปี )6สมเด็จพระอินราชาธิราช (เจ้านครอินทร์) โอรสพระอนุชาของขุนหลวงพระงั่ว1952 - 1967 (16 ปี)สุพรรณภูมิ7สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) โอรสเจ้านครอินทร์1967 - 1991 (16 ปี)สุพรรณภูมิ8สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (โอรสเจ้าสามพระยา)1991 - 2031 (40 ปี)สุพรรณภูมิ9สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ)2031 - 2034 (3 ปี)สุพรรณถูมิ10สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (โอรสพระบรมไตรโลกนาถ)2034 - 2072 (38 ปี)สุพรรณภูมิ11สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (โอรสพระรามาธิบดีที่ 2)2072 -2076 (4 ปี)สุพรรณภูมิ12พระรัษฎาธิราช (โอรสพระบรมราชาธิราชที่ 4)2076 -2077 (1 ปี)สุพรรณภูมิ13สมเด็จพระไชยราชาธิราช (โอรสพระรามาธิบดีที่ 2)2077 - 2089 (12 ปี)สุพรรณภูมิ14พระแก้วฟ้า (พระยอดฟ้า) (โอรสไชยราชาธิราช)2089 - 2091 (2 ปี)สุพรรณภูมิ15สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเฑียรราชา)2091 - 2111 (20 ปี)สุพรรณภูมิ16สมเด็จพระมหินทราธิราช (โอรสพระมหาจักรพรรดิ)2111 - 2112 (1 ปี)สุพรรณภูมิ17สมเด็จพระมหาธรรมราชา2112 - 2133 (21 ปี)สุโขทัย18สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (โอรสพระมหาธรรมราชา)2133 - 2148 (15 ปี)สุโขทัย19สมเด็จพระเอกาทศรถ (โอรสพระมหาธรรมราชา)2148 -2153 (5 ปี)สุโขทัย20พระศรีเสาวภาคย์ (โอรสพระเอกาทศรถ)2153 - 2153 (1 ปี)สุโขทัย21สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (โอรสพระเอกาทศรถ)2153 - 2171 (17 ปี)สุโขทัย22สมเด็จพระเชษฐาธิราช (โอรสพระเจ้าทรงธรรม)2172 - 2172 (8 เดือน)สุโขทัย23พระอาทิตยวงศ์ (โอรสพระเจ้าทรงธรรม)2172 - 2199 (28วัน)สุโขทัย24สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ออกญากลาโหมสุริยวงค์)2172 - 2199 (27 ปี)ปราสาททอง25สมเด็จเจ้าฟ้าไชย (โอรสพระเจ้าปราสาททอง)2199 - 2199 (3 - 4 วัน)ปราสาททอง26พระศรีสุธรรมราชา (อนุชาพระเจ้าปราสาททอง)2199 - 2199 (3 เดือน)ปราสาททอง27สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (โอรสพระเจ้าปรารสาททอง)2199 - 2231 (32 ปี)ปราสาททอง28สมเด็จพระเพทราชา2231 - 2246 (15 ปี)บ้านพลูหลวง29สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ)2246 - 2275 (6 ปี)บ้านพลูหลวง30สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ (โอรสพระเจ้าเสือ)2275 - 2301 (24 ปี)บ้านพลูหลวง31สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (โอรสพระเจ้าเสือ)2275 - 2301 (26 ปี)บ้านพลูหลวง32สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)2301 - 2301 (2 เดือน)บ้านพลูหลวง33สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์(พระเจ้าเอกทัศน์) (โอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)2301 - 2310 (9 ปี)บ้านพลูหลวง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

Phra Nakhon Si Ayutthaya or Ayutthaya Province was the capital of Thailand. There were some evidences that it was the city situated on the plain of Chao Phraya River since Buddhist era 16-18, such as the sign of city, ancient remains, antiques, the annals, as well as the stone inscription, which is the contemporary evidence that most coincide with the incident (Ayothaya or Ayutthaya Kingdom was situated on the east of Ayutthaya isle). It was one of the prosperous cities in terms of politics, administration, and culture. In regard to administration, three administrative laws were enforced: Comprehensive Law, Slavery Law, Law of Obligation.

Ramathibodi I (Uthong) established Ayutthaya as the capital city in 1350 and it had been the center of Siam for 417 years. During those years, there were 33 Kings from 5 different dynasties: Uthong dynasty (3 Kings), Suphannaphum dynasty (13 Kings), Sukhothai dynasty (7 Kings), Prasat Thong dynasty (4 Kings), Ban Phlu Luang dynasty (6 Kings) to ruled over Ayutthaya. It lost independence to Myanmar twice. The first loss of independence was in 1569 and King Naresuan retrieved independence in 1584. The second loss of independence was in 1767 which King Taksin retrieved independence in the same year. Thon Buri was established to be the capital and people from Ayutthaya were relocated to Thon Buri to build the stable city. However, there were some people who remained settle in Ayutthaya and some who escaped to the forest came back to live around the city. They assembled and established themselves as the province called "Krung Kao" or The Old City.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

Phra Phutthayotfa Chulalok or Rama l founded Krung Kao as a provice as same as in Thon Buri period. Later, Chulalongkorn or Rama V initiated the administrative reform for both central and provincial region. In regard to provincial administration, he applied the "Tesaphiban Administrative System" (local government) by assembling the 3-4 neighboring cities to form as a "Monthon" (administrative subdivisions) that governed by a royal commissioner. In 1895, he establishd Monthon Krung Kao that comprised of cities i.e. Krung Kao or Ayutthaya, Ang Thong, Saraburi, Lop Buri, Phrom Buri, In Buri, and Sing Buri. Afterwards, he merged In Buri and Phrom Buri with Sing Buri and established Monthon administrative office. In 1926, Monthon Krung kao had changed to Monthon Ayutthaya. As a result, Ayutthaya became a center of administration. Creation of public utilities had great impact on the development of Ayutthaya.

Phra Phutthayotfa Chulalok or Rama l founded Krung Kao as a provice as same as in Thon Buri period. Later, Chulalongkorn or Rama V initiated the administrative reform for both central and provincial region. In regard to provincial administration, he applied the "Tesaphiban Administrative System" (local government) by assembling the 3-4 neighboring cities to form as a "Monthon" (administrative subdivisions) that governed by a royal commissioner. In 1895, he establishd Monthon Krung Kao that comprised of cities i.e. Krung Kao or Ayutthaya, Ang Thong, Saraburi, Lop Buri, Phrom Buri, In Buri, and Sing Buri. Afterwards, he merged In Buri and Phrom Buri with Sing Buri and established Monthon administrative office. In 1926, Monthon Krung kao had changed to Monthon Ayutthaya. As a result, Ayutthaya became a center of administration. Creation of public utilities had great impact on the development of Ayutthaya.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยามีอะไรบ้าง

During the time that Phraya Boran Ratchathanin (Porn Dechakhup) was the Intendant of Monthon Krung Kao, he preserved the ancient remains in many ways. He reconstructed the right hand and topknot of Phra Mongkhon Bophit, inspected the interior ancient palace, and constructed the Sanphet Prasat Palace at the former foundation for The Fortieth Anniversary Celebrations of King Rama V's Accession to the Throne in 1908, as well as established the Ayutthaya Museum in Chandrakasem Palace.

During the period that Field Marshal Plaek Pibulsongkram was the Prime Minister, there was the policy for ancient remains reconstruction in Ayutthaya to celebrate the 25th Buddhist century anniversary. Moreover, in 1955, the Prime Minister of Myanmar visited Thailand and granted 200,000 baht to reconstruct temples and Phra Mongkhon Bophit, which was the beginning of ancient remains reconstruction in Ayutthaya. Later, Fine Arts Department was the main agency to process the reconstruction. Afterwards, United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization or UNESCO resolved to register Phra Nakhon Si Ayutthaya, covered Ayutthaya Historical Park area, as the "World Heritage" on 13 December 1991.

Ayutthaya was the capital city for 417 years, from 3 April 1350 to 7 April 1767. There were history of administration, independence retrieval, bravery, and tradition and culture. It was the prosperous city with food and crops as the saying, "There are fish in the waters. There is rice in the fields". There were many temples, palaces, sacred places, and sacred objects in Ayutthaya.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี มีอะไรบ้าง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยกรุงธนบุรี 1. พระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ บางฉบับอยู่ต่อเป็นส่วนท้ายของพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เช่น ในฉบับกรุงสยามฯ ฉบับพระราชหัตถเลขา

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์มีอะไรบ้าง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ 1. หลักฐานชั้นต้น เช่น พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือประชุมพงศาวดาร ประชุม หมายรับสั่งสมัยรัตนโกสินทร์ จดหมายเหตุ กฎหมายตราสามดวง ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 และราชกิจจา นุเบกษา พระราชหัตถเลขา

หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาอาณาจักรอยุธยามีอะไรบ้าง

ในการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาจำเป็นต้องใช้หลักฐานต่าง ๆ เพื่ออธิบายความเข้าใจช่วงเวลาเหตุการณ์สำคัญสมัยอยุธยาได้ เช่น พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ วรรณกรรม หลักฐานทางโบราณคดี

หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยโบราณมีอะไรบ้าง

หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นอักษร แต่เป็นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ ร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ ในลักษณะของการบอกเล่าต่อๆกันมา เป็นนิทานหรือตำนาน ...