ความพอประมาณมีความหมายตรงกับหลักธรรมข้อใด

��ѡ 3 ��ǧ 2 ���͹�

 �繺���ػ�ͧ���ɰ�Ԩ����§ ����ͧ ��� ��ػ������������� �ѧ���仹��

 3 ��ǧ ��� �ҧ��¡�ҧ ��Сͺ仴��� �ѧ���
           ��ǧ��� 1 ��� �ͻ���ҳ ���¶֧ �ͻ���ҳ㹷ء���ҧ �����ʹ�����ҡ������ҹ��¨��Թ��µ�ͧ�����´��¹���ͧ ���ͼ����������ʹ��͹
           ��ǧ��� 2 ��� ���˵ؼ� ���¶֧ ��õѴ�Թ�����ǡѺ�дѺ�ͧ��������§��� �е�ͧ������ҧ���˵ؼ��¾Ԩ�óҨҡ�˵ػѨ��·������Ǣ�ͧ ��ʹ���ӹ֧�֧�ŷ��Ҵ��Ҩ��Դ��鹨ҡ��á�зӹ��� ���ҧ�ͺ�ͺ
           ��ǧ��� 3 ��� �����Ԥ����ѹ����㹵���ͧ ���¶֧ �������������������Ѻ�š�з���С������¹�ŧ��ҹ��õ�ҧ� �����Դ����¤ӹ֧�֧���������ͧʶҹ��ó��ҧ� ���Ҵ��Ҩ��Դ����͹Ҥ������������


  2 ���͹� ��������ɰ�Ԩ����§ ����
            ���͹䢷�� 1 ���͹䢤������ ��� �դ����ͺ�������ǡѺ �Ԫҡ�õ�ҧ�������Ǣ�ͧ���ҧ�ͺ��ҹ �����ͺ�ͺ���йӤ����������ҹ���ҾԨ�ó����������§�ѹ ���ͻ�Сͺ��� �ҧἹ ��Ф������Ѵ���ѧ㹢�鹵͹��Ժѵ� �س������Сͺ���� �դ������˹ѡ㹤س���� �դ��������ѵ���ب�Ե ����դ���ʹ�� �դ������� ��ʵԻѭ��㹡�ô��Թ���Ե
            ���͹䢷�� 2 ���͹䢤س���� ��� �դ������˹ѡ㹤س���� �դ��������ѵ���ب�Ե����դ���ʹ�� �դ������� ��ʵԻѭ��㹡�ô��Թ���Ե


  “���ɰ�Ԩ����§��ԧ� ��� ��ѡ��ô��Թ���Ե����ԧ�����ش ��ͺ�ǤԴ�ͧ��ѡ��Ѫ������鹤�����蹤���Ф�������׹�ͧ��þѲ�� �ѹ�դس�ѡɳз���Ӥѭ ��� ����ö����ء����㹷ء�дѺ ��ʹ���������Ӥѭ�Ѻ����Ҥ�������§ ����Сͺ���� �����ͻ���ҳ �������˵��ռ� �����Ԥ����ѹ����㹵�� ��������͹䢢ͧ��õѴ�Թ���С�ô��Թ�Ԩ��������ͧ��������͹䢤������������͹䢤س����”


  “�ҡ�ء�������㨡�ͺ�ǤԴ �س�ѡɳ� �ӹ�����ͧ���ɰ�Ԩ����§���ҧ����Ѵ���� ��Ч��¢��㹡�ù�任���ء�������Ƿҧ��Ժѵ� ��Шй�����ŷ��Ҵ��Ҩ����Ѻ ��� ��þѲ�ҷ��������������׹ ������Ѻ��͡������¹�ŧ㹷ء��ҹ ��駴�ҹ���ɰ�Ԩ �ѧ�� ����Ǵ���� ����������෤�����”

�����: http://���ɰ�Ԩ����§.net/

หลักการที่นำมาใช้  คือ  ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการวางแผนการทำงาน  และใช้หลักการมีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักและร่วมกันแก้ไขปัญหา

 หลักธรรมที่นำมาใช้  คือ สัปปุริสธรรม ๗ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

  ๑) สัปปุริสธรรม ๗  คือ  ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี

ได้แก่ รู้เหตุ  รู้ผล  รู้ตน  รู้ประมาณ  รู้กาล  รู้ชุมชน  รู้บุคคล 

-  รู้เหตุ  คือ รู้หลักความจริง รู้หลักการ รู้หลักเกณฑ์  รู้จักพิจารณาหาต้นตอของสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง  เพื่อลงมือแก้ไขให้ถูกตามเหตุนั้น  เช่น  ปัญหาห้องน้ำของร.ร.มีกลิ่นรบกวน  เกิดจากสาเหตุหลักคือ  สภาพของบ่อเกรอะที่ใช้งานมานาน  การไม่ช่วยกันรักษาความสะอาดหลังการใช้ห้องน้ำ เป็นต้น

-  รู้ผล คือ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำ  จึงต้องเลือกวิธีการปฏิบัติให้เกิดผลของการเปลี่ยนแปลง  เช่น การรณรงค์ให้เพื่อนนักเรียนในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องน้ำหลังการใช้  การทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้ราดและล้างห้องน้ำเพื่อดับกลิ่นอันไม่พึงประสงค์

 -  รู้ตน คือ รู้ภาวะ  รู้ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรมแล้วประพฤติให้เหมาะสมและรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป  ใช้หลักธรรมนี้สอนให้นักเรียนเตือนตนเองในสิ่งที่จะกระทำ  ว่าเรามีความรู้เพียงพอหรือไม่กับสิ่งที่จะทำ  ถ้ายังรู้ไม่พอ  จะหาความรู้เพิ่มเติมได้จากใคร  อย่างไร  และการจะทำงานให้สำเร็จนั้นต้องอาศัยคุณธรรมอะไรบ้าง 

-  รู้ประมาณ คือ ความพอดี  เป็นการรู้จักประมาณในการใช้สิ่งต่าง ๆ เช่น การใช้เวลาสำหรับการเรียนและการทำกิจกรรม   การใช้เงินงบประมาณที่ได้รับมาให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากที่สุด  โดยคำนึงถึงหลักเหตุผลในการตัดสินใจ 

-  รู้จักกาล คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะต้องใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ  กระทำหน้าที่การงาน เช่น ให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทันเวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา ใช้หลักธรรมนี้เตือนนักเรียนให้กลับบ้านตรงเวลา  เล่นให้เหมาะสมกับเวลา   ทำงานให้ทันเวลา

-  รู้ชุมชน คือ รู้ที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหา จะต้องทำกิริยา  จะต้องช่วยเหลืออย่างไร  ใช้หลักธรรมข้อนี้กระตุ้นนักเรียนให้รู้ว่าควรช่วยเหลืองานอะไรในชุมชนบ้าง

-  รู้บุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า โดยอัธยาศัย ความสามารถ และคุณธรรม  และรู้ที่จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นๆ ด้วยดี รู้ว่าควรเมื่อจะต้องประสานงานกับใคร  ขอความร่วมมือจากใคร  ต้องใช้คำพูดและวิธีการอย่างไร  จึงได้ได้การมีส่วนร่วมของบุคคลหลายๆ ฝ่าย  เพื่อให้งานสำเร็จ

  ๒) แนวพระราชดำริหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

หลักปรัชญาความพอเพียงเป็นหลักคิด และหลักปฏิบัติ ในการดำเนินชีวิต เพื่อนำไปสู่ความ

พอเพียง  เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ของคนไทย  สังคมไทย  เพื่อให้ก้าวทันยุคโลกาภิวัตน์  ซึ่งประกอบด้วยหลัก  ๓  ห่วง  และ  ๒ เงื่อนไข ได้แก่
  (๑)  หลักความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น  ความพอประมาณด้านการใช้เวลา  ใช้หลักธรรมนี้เตือนใจนักเรียนให้รู้จัก  แบ่งเวลาในการเล่น  การเรียน  การทำงานในหน้าที่ 

(๒) หลักความมีเหตุผล  หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป

อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง  ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ  เช่น การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อดับกลิ่นรบกวนของห้องน้ำ  ต้องให้หลักเหตุผลตามหลักวิชา  ในการเลือกสูตรการทำน้ำหมักให้เหมาะกับคุณสมบัติเรื่องการดับกลิ่นห้องน้ำและคราบสกปรกต่างๆ ในห้องน้ำ  จึงใช้มะกรูด มะนาว และมะปรี๊ด เป็นส่วนประกอบสำคัญ

  (๓) หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว  หมายถึง ความมีสติ  ไม่ประมาท  การใช้ปัญญาในการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยน แปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น  ใช้หลักธรรมนี้เตือนใจนักเรียนให้รู้จักสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองในการวางแผนการทำงาน  เช่น  การเลือกบริเวณที่ตั้งถังน้ำหมักชีวภาพในบริเวณที่น้ำท่วมไม่ถึง  เนื่องจากเราใช้ถังน้ำหมักขนาด ๒๐๐ ลิตร  จำนวน ๒ ถัง  ซึ่งเคลื่อนย้ายลำบาก  จึงต้องเลือกตั้งไว้ในบริเวณที่สูง  เพื่อป้องกันปัญหาอุทกภัยที่อาจเกิดขึ้นได้  เนื่องจากพื้นที่ของโรงเรียนเป็นที่ราบลุ่มต่ำ  การสร้างทีมเยาวชนจิตอาสาชีวภาพดับกลิ่นให้ประกอบด้วยนักเรียนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย  เพื่อการดำเนินงานต่อไปในอนาคต  จะได้มีการส่งต่องานระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง  เพื่อความยั่งยืนในการดำเนินงาน

  (๔) เงื่อนไขความรู้  คือ ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 

ใช้เงื่อนไขความรู้เป็นตัวนำในการตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ไขปัญหา  ว่าควรใช้น้ำหมักชีวภาพสูตรใดจึงจะเหมาะสมกับเวลาและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นมากที่สุด
  (๕) เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม  มีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต  ใช้เงื่อนไขนี้เตือนนักเรียนให้อดทนเพียรพยายามทำงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ  รู้จักใช้สติปัญญาในการคิดก่อนตัดสินใจก่อนทำกิจกรรมต่าง ๆ 

๔.๔ ประเมินผลการดำเนินงาน

  ผลการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงงาน  ดังนี้

๑.  ห้องน้ำไม่มีกลิ่นรบกวน

๒.  นักเรียนแกนนำจิตอาสาและครูที่ปรึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพ

๓.  นักเรียนโรงเรียนลาซาลจันทบุรี (มารดาพิทักษ์) เกิดจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาดของห้องน้ำภายในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น

๔.  สามารถพัฒนา “การทำน้ำหมักชีวภาพ”  เป็นฐานการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  เพื่อให้ความรู้แก่คณะผู้มาศึกษาดูงานการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

๔.๕  การประเมินตนเอง

ความคิดเห็นและความรู้สึกของประธานกลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน

“ข้าพเจ้ารู้สึกภูมิใจในตนเองที่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหากลิ่นของห้องน้ำที่ส่งกลิ่นรบกวนได้  สามารถนำทีมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ห้องน้ำของเพื่อน ๆ และน้องๆ ให้ดีขึ้นได้  และตั้งใจจะดำเนินโครงงานต่อไปเรื่อยๆ อย่างดีที่สุด”จากการที่ได้ทำโครงงานในครั้งนี้ได้เรียนรู้กระบวนการในการแก้ปัญหาต่างๆ และได้รู้จักการทำงานที่เป็นจิตอาสาโดยแท้จริง

ความพอประมาณ มีความหมายตรงกับข้อใด *

ความพอประมาณ (Moderation) หมายถึง ความพอดีที่ไม่ น้อยและไม่มากเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และเมื่อพิจารณา วัฒนธรรมและประเพณีที่มีอยู่ในสังคมไทย จะเห็นได้ว่า ความพอประมาณ เป็น แนวปฏิบัติที่มีมานาน สังเกตได้จากลักษณะการด ารงชีวิตของคนไทย ที่เรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ หรือฟุ่มเฟือยจนเกินกว่าศักยภาพของตน อีกทั้ง รู้จัก ...

ข้อใดเป็นความหมายของหลักธรรม สันตุฏฐี

คำว่าสันโดษ มาจากคำภาษาบาลีว่า สันตุฏฐี หมายถึง ความยินดี ความพอใจ ด้วยวัตถุปัจจัยซึ่งเกิด จากภายนอก รวมถึง การมีความสุข ความพอใจ ซึ่งเกิดจากภายใน ลักษณะของความสันโดษคือ มีความยินดี ตามมี ยินดีตามได้ ยินดีตามกำลัง สันโดษมีประโยชน์ต่อบรรพชิตในฐานะที่ดำรงพระวินัย ในฐานะที่เป็น อริยวงศ์ 4 และในฐานะที่เป็นนาถกรณธรรม ซึ่ง ...

การดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับหลักการข้อใด ในพระพุทธศาสนา

ถ้าคนไทยปฏิบัติตามระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ก็จะส่งผลให้เกิดภาวะ “เศรษฐกิจงอกงาม ธรรมงอกเงย คนก็มีความสุข” ไม่เบียดเบียนใครให้เดือดร้อน ไม่มุ่งทำลายทรัพยากรธรรมชาติ และฝึกให้มนุษย์ตระหนักรู้ ถึงศักยภาพในความสามารถที่พึ่งพาตนเองได้ สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” คือ “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”

ข้อใดเป็นความหมายของหลักธรรม “สันตุฏฐี ปะระมัง ธะนัง” ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ความจริงคำพระราชทานว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” ก็คือการตีความพุทธภาษิตให้เข้ากับภาษาสมัยใหม่ ตามที่มีพุทธภาษิตที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า “สันตุฏฐี ปะระมัง ธะนัง” แปลว่า “ความพอเพียงเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง” ทรัพย์ในที่นี้ หาใช่เป็นเงินทองอย่างที่คนส่วนใหญ่เข้าใจไม่ แต่เป็นอริยทรัพย์ คือทรัพย์อันประเสริฐ เพราะฉะนั้น เศรษฐกิจพอ ...