เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

���ͺ�����Ẻ俿���ҡ���Ҥ�Ѻ

������ҢѺö���֧�ش��ش�������ö����¹�� P ��ѹ�շ���ͧ��� ����ͧ�ҡ��ҹ R
����蹡ѹ������������� P �������ö����¹�� D ��ѹ������ͧ�ҡ��ҹ R>N>D

����ö����������� �ͺ�Թ���٧���ͤ��Ѻ����º�ä����֡�� ���ö�Ҩ���駴�꺴����������¹����� P>D ��������¹�����

����ҵ�ǡ�䡹���͡��������¹�Ҩй��¡��ҹФ�Ѻ����������������ع��Ѻ��ҹẺ�ѹ�շѹ�

รถเราเกียร์อะไร รู้ความต่างของระบบเกียร์ CVT และ ATF ก่อนเปลี่ยนน้ำมันเกียร์ มาทำความเข้าใจเรื่องระบบเกียร์ออโต้กันก่อน...

Posted by Alpha's Thailand on Thursday, October 25, 2018

ส่วนใหญ่มักเห็นในรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติที่ตกแต่งแนวสปอร์ต การใช้งานต้องเลื่อนคันเกียร์ไปตามขั้นเหมือนขั้นบันได ยุ่งยากกว่าเกียร์แบบเลื่อนตรง

ข้อดี คือสวยงาม เกียร์ไม่มีการเลื่อนไปตำแหน่งอื่น เนื่องจากขั้นบันไดเปรียบเสมือนตัวล็อกตำแหน่งเกียร์ไว้แล้ว

ข้อเสีย คือ หากใช้งานไม่คล่องจะต้องก้มลงไปมองบ่อยๆ อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุจากการละสายตาจากการมองหน้ารถได้

 

เกียร์ออกโต้ แบบลากตรง

 

เกียร์ออกโต้ รูปแบบการใช้งานไม่ซับซ้อน ใช้ง่าย แค่กดปุ่มที่คันเกียร์แล้วเลื่อนคันเกียร์ขึ้นลงในแนวตรงล็อกตำแหน่งเกียร์ตามต้องการได้เลย เป็นชุดเกียร์ที่เข้าง่าย ให้ความสะดวกสบาย แต่จะสร้างความลำบากให้กับการขับขี่ได้ คือ บางครั้งอาจมีการเข้าเกียร์ผิดตำแหน่ง เช่น อยากเข้าเกียร์ P ไป N แต่ดันถอยเลยไปลงที่ D อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้

**การใช้งานเกียร์ทั้ง 2 ไม่ต่างกันเท่าไหร่ ถ้าไม่เคยใช้เกียร์แบบขั้นบันไดมาก่อน ก็สามารถเรียนรู้การใช้งานได้ไม่ยาก

 

วิธีการดูแลเกียร์ออโต้ให้ใช้งานได้นาน…

1. ไม่ออกตัวกระชาก การออกตัวรถกระชากเกินไปจะทำให้เฟืองที่อยู่ภายในเกียร์เกิดความเสียหาย ทำให้เกียร์สึกหรอได้ไว

2. ไม่ใส่เกียร์ P ขณะจอดรถติดไฟแดง ป้องกันไว้ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน เพราะหากรถโดนชนท้ายในขณะเข้าเกียร์ P ตัวล็อกเฟืองเกียร์หรือเฟืองเกียร์อาจเสียหาย ส่งผลทำให้เกียร์พัง ดังนั้นหากจอดรถเวลารถติดแนะนำให้ใส่เกียร์ N ทิ้งไว้ครับ

3. ไม่ขับลากรอบ เพราะจะทำให้เกียร์ทำงานหนัก ส่งผลทำให้มีอายุการใช้งานที่น้อยลง

4. จอดรถให้สนิท ก่อนใส่เกียร์ถอย เพราะถ้าจอดรถไม่สนิทแล้วใส่เกียร์ถอย จะทำให้เฟืองเกียร์เกิดความเสียหาย

โดยทั่วไปรถยนต์เกียร์ออโต้จะมีเกียร์อยู่ทั้งหมด 4 ตำแหน่ง ได้แก่ P, R, N และ D ซึ่งแต่ละเกียร์มีวิธีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ดังต่อไปนี้

 


เกียร์ P – Park   ใช้สำหรับการจอดรถอยู่กับที่หรือจอดรถในบริเวณที่มีพื้นที่ลาดเอียง ไม่สามารถเข็นหรือขยับรถได้
เกียร์ R – Reverse  ใช้สำหรับการถอยหลัง
เกียร์ N – Neutral  ใช้สำหรับการจอดหรือหยุดรถชั่วคราวในพื้นที่ราบปกติ ซึ่งในตำแหน่งเกียร์ N รถจะสามารถถูกเข็นหรือขยับได้
เกียร์ D – Drive  ใช้สำหรับให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า หากต้องการเพิ่มความเร็วใช้เท้าขวากดคันเร่งเพิ่ม

 

วิธีการใช้เกียร์ 1 เกียร์ 2 และเกียร์ L ให้ถูกต้อง

 

เกียร์ 1 จะใช้ในการขับขึ้น-ลงเขาที่สูงชันมากๆ เมื่อลงเขาด้วยเกียร์ L จะเป็นการใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรกเพื่อลดการเหยียบเบรก

เกียร์ 2 ใช้เมื่อต้องการขับรถขึ้นเขาที่ค่อนข้างชัน หรือขับขึ้น-ลง ตามห้าง โดยรถจะเปลี่ยนเกียร์เองอัตโนมัติจากเกียร์ 1 จนถึงสูงสุดที่เกียร์ 2 และเปลี่ยนไปตามความเร็วรถตามลำดับ

เกียร์ออโต้หรือชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “เกียร์อัตโนมัติ” ที่ตอนนี้แทบจะเข้ามาทดแทนไปจน “เกือบ” จะสิ้นเชิงแล้วของเกียร์ธรรมดา เห็นได้จากที่รถหลายๆ รุ่นในไทย ไม่มีการผลิตรุ่นย่อยที่เป็นเกียร์ธรรมดาออกมา ซึ่งน่าจะเป็นการบอกถึงอนาคตของระบบส่งกำลังในรถที่ขายในบ้านเราได้เป็นอย่างดี ว่าถึงเวลาแล้วที่จะเข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่าน เมื่อรถส่วนมากบนถนนใช้เป็นเกียร์ออโต้ แล้วเกียร์ออโต้ที่ถูกใช้กับรถที่วิ่งบนถนนเมืองไทยเป็นส่วนใหญ่นั้นมีกี่แบบ กี่ประเภท Chobrod จะพาคุณไปรู้จักพร้อมๆ กัน

เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

3 ประเภทเกียร์ออโต้ที่คุณควรรู้จักก่อนซื้อรถ

ว่าด้วยอนุกรมในเรื่องระบบขับเคลื่อนของความเป็นเกียร์ธรรมดา ถ้าเป็นรถส่วนบุคคล ซื้อขับใช้งานเอง ไม่เน้นบรรทุกจุของหรือเน้นที่ราคาประหยัดเป็นหลัก แน่นอนว่าความสะดวกสบายย่อมสู้รถที่ใช้ “เกียร์ออโต้” ไม่ได้เลยด้วยปประการใด ยิ่งถ้าการตัดสินใจซื้อรถของแต่ละคน (หรือแต่ละครอบครัว) ไม่จำกัดจำเขียดเสียจริงจนเกินไปนัก ก็มักที่จะยอมจ่ายแพงกว่าเพื่อให้ได้มาซึ่งความสะดวกสบายจากประเภทเกียร์ออโต้แทบทั้งสิ้น กับรถหลายรุ่นหลายค่ายที่ขายอยู่ในปัจจุบัน เกียร์ออโต้ที่ถูกนำมาใช้กับตัวรถก็ยังแตกต่างประเภทยิบย่อยลงไปอีก และนี่คือ 4 ประเภทเกียร์ออโต้ที่คุณควรรู้จักก่อนตัดสินใจซื้อรถสักคัน มาดูกันว่าเกียร์ออโต้ มีอะไรบ้าง แต่ละประเภทมีข้อดี ข้อด้อยในการใช้งานอะไร อย่างไรบ้าง  

1.เกียร์ออโต้แบบ CVT

กับประเภทเกียร์ออโต้ที่ถูกนำมาใช้หลังจากยุคความนิยมของเกียร์อัตโนมัติเริ่มมีมากขึ้น และถือเป็นประเภทเกียร์ที่ถูกนำมาใช้มากที่สุดในรถยนต์นั่งยุคนี้ ยุคที่ผู้ใช้รถต่างถวิลหาความนุ่มนวลในการขับขี่ หมดไปซึ่งจังหวะกระชากตอนเร่งให้รู้สึก และนี่คือเกียร์ CVT ที่ย่อมาจากคำว่า “Continuously Variable Transmission” แค่ชื่อก็บอกแล้วถึงความต่อเนื่องในจังหวะการเปลี่ยนเกียร์ ที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราทดตามกำลังที่ถูกส่งมาจากเครื่องยนต์ โดยผ่านการทำงานร่วมของชุดพลูเลย์ 2 ตัวช่วยกัน ตัวหนึ่งต่อกับเครื่องยนต์ (Drive Pulley) อีกตัวพ่วงกับเพลาขับ (Driven Pulley) และพลูเลย์ทั้งสองนี้จะทำงานสอดคล้องไปด้วยกัน ผ่านตัวสายพาน ไปตามอัตราเร่งและรอบเครื่องที่ถูกส่งมาจากเครื่องยนต์

เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

เกียร์ CVT ผ่านการทำงานร่วมของชุดพลูเลย์ 2 ตัวเชื่อมกันด้วยสายพานหรือโซ่

ข้อดี

เกียร์ CVT ขึ้นชื่อเป็นอย่างมากในเรื่อง “ความนุ่มนวล” ในการขับขี่ ผสานการทำงานกันได้อย่างต่อเนื่องระหว่างพลูเลย์ได้เป็นอย่างดี เมื่ออัตราทดเปลี่ยนจะไม่รู้สึกถึงแรงกระชาก และความเร็วของตัวรถจะค่อยๆ ขึ้นไป “อย่างนุ่มนวล” เหมาะสำหรับรถยนต์นั่งที่เน้นในเรื่องของความสบาย และความต่อเนื่องที่ได้นี้ยังส่งผลดีในเรื่องของอัตราการบริโภคเชื้อเพลิงที่น้อยกว่าเกียร์ออโต้ประเภทอื่นๆ อีกด้วย ยิ่งขับทางไกลจะยิ่งเห็นผลได้อย่างชัดเจน  

ข้อเสีย

ผลจากความนุ่มนวลต่อเนื่องในการเปลี่ยนอัตราทด อาจจะไม่ค่อยถูกจริตนักกับขาซิ่ง ที่ต้องการอารมณ์การขับขี่เร้าใจ “กดคันเร่งปุ๊บก็มาปุ๊บ” เกียร์ CVT จะมีการตอบสนองช้ากว่าในเรื่องอัตราเร่งที่ต้องรอจังหวะรอบเพื่อเข้าที่ เร่งแล้วใช่ว่าจะมาในทันที เกียร์ CVT จะหน่วงกว่าหนึ่งจังหวะ ซึ่งการที่กดคันเร่งแบบจมมิดกับเกียร์ประเภทนี้ ก็ไม่ช่วยให้รถวิ่งได้เร็วกว่าแค่การค่อยๆ เหยียบ และยังจะยิ่งเป็นการทำให้ตัวเกียร์ “พัง” ก่อนเวลาอันควรอีกด้วย 

2. เกียร์ออโต้แบบ Torque Converter

กับระบบของเกียร์ออโต้ที่ถือเป็นรุ่นพี่ใหญ่ของเกียร์แต่ละประเภท ถูกแนะนำมาตั้งแต่ยุคที่มีเกียร์ออโต้ใหม่ๆ นานแค่ไหนก็ลองนึกภาพ ว่าคุณเริ่มรู้จักกับคำว่า “รถเกียร์ออโต้” เมื่อไรก็เมื่อนั้นแหละ เพราะว่าประเภทของเกียร์ออโต้ชนิดนี้ถูกเริ่มนำมาใช้ตั้งแต่ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สองเลยทีเดียว นานแค่ไหน ถามใจดู!

เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

“ทอร์คคอนเวอร์เตอร์” จะมีอุปกรณ์ที่เหมือนกังหันช่วยในการส่งแรงดันให้ของเหลว 

เกียร์ออโต้แบบ “ทอร์คคอนเวอร์เตอร์” นี้คือ เกียร์ออโต้ที่ระบบทำหน้าที่ “ตัดต่อกำลัง” จากเครื่องยนต์ไปสู่ระบบเกียร์ โดยการทำงานของระบบนี้จะใช้ของเหลว(น้ำมันเกียร์) เข้ามาช่วยในการทำงานเป็นหลัก เพื่อถ่ายทอดกำลังจากตัวเครื่องยนต์ไปสู่ระบบส่งกำลัง และยังช่วยทำหน้าที่ทดแทนการทำงานของคลัทช์อย่างที่มีอยู่ในเกียร์ธรรมดา ซึ่งจะมีอุปกรณ์ที่ลักษณะเหมือนกังหันเพื่อใช้ในการส่งแรงดันให้ของเหลว ผ่านตัวครีบจำนวนมาก โดยที่กังหันฝั่งหนึ่งจะติดอยู่กับเครื่องยนต์ เชื่อมเข้ากับเพลาข้อเหวี่ยง(Pump Impeller) อีกฝั่งจะติดอยู่กับเกียร์(Turbine) และกังหันทั้งสองจะถูกคั่นด้วยกังหันตัวเล็กตรงกลาง(Stator) ซึ่งอุปกรณ์ชิ้นนี้จะทำงานเฉพาะแค่ตอนที่รถออกตัวเท่านั้น

ข้อดี 

และถึงแม้จะเป็นระบบเก่ายุคโบราณของเกียร์อัตโนมัติ แต่ด้วยลักษณะการทำงานที่ไม่ซับซ้อนมากนักของระบบ ตัวอุปกรณ์เกียร์สามารถทนรับแรงบิดได้ดี จึงเหมาะมากกับรถที่ใช้เครื่องยนต์ประเภทแรงบิดสูงๆ อย่างเครื่องยนต์ดีเซล ส่วนเรื่องความนุ่มนวลในการขับขี่ก็ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ 

ข้อเสีย 

ส่วนข้อเสียคือ เกียร์ออโต้ประเภทนี้จะมีน้ำหนักมาก แถมตัวระบบเกียร์ยังทำให้ตัวรถต้องสูญเสียกำลังที่ผลิตมาได้จากเครื่องยนต์อีกด้วย แรงที่จะได้จริงๆ เมื่อลงสู่ล้อแล้วนั้น สมรรถนะที่ได้จะถือว่าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แม้จะมีแรงดันจากตัวเกียร์ช่วยอีกแรงแล้วก็ตาม อีกทั้งในเรื่องความประหยัดก็ยังสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากกว่าเกียร์ออโต้ประเภทอื่นอีกด้วย 

3. เกียร์ออโต้แบบคลัทช์คู่ DCT

Dual Clutch Transmission หรือที่เรียกย่อๆ ว่าเกียร์ออโต้แบบ DCT กับจุดเด่นในเรื่องของการตอบสนอง ที่การทำงานของระบบสามารถมอบอารมณ์ให้แบบเดียวกับธรรมดา และมีการใช้ไฟฟ้าเข้ามาช่วยในส่วนการทำงานของตัวคลัทช์เหมือนเกียร์กึ่งอัตโนมัติ การที่ระบบเกียร์แบบคลัทช์คู่นี้ ตอบสนองได้รวดเร็วจนถูกนำไปใช้ในรถสปอร์ตฝั่งยุโรปหลายเจ้า เป็นเพราะระบบการทำงานของตัวเกียร์ออโต้ระบบนี้คล้ายกับเกียร์ธรรมดามากๆ ผ่านคลัทช์ชุดแรกที่จะทำหน้าที่เพื่อแค่เป็นตัวส่งกำลังทั่วไป และคลัทช์อีกชุดมาไว้เพื่อช่วยในการเปลี่ยนอัตราทดให้รวดเร็ว แม่นยำ ตามจังหวะรอบเครื่องมากที่สุด 

เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

เกียร์ออโต้แบบ DCT มีความแม่นยำในการจับอัตราทด คล้ายกับเกียร์ธรรมดามากๆ

ข้อดี

อย่างที่กล่าวไปเบื้องต้นในแง่ของข้อดีเกียร์ประเภทนี้ ถึงในเรื่องความเร็วในจังหวะการตอบสนองต่อรอบเครื่อง ซึ่งจะช่วยให้การขับขี่เปลี่ยนเกียร์ทุกจังหวะนอกจากจะเที่ยงตรงแม่นยำตอบสนองได้เร็วดั่งใจคิดแล้ว ในเรื่องของความนุ่มนวลก็ไม่เป็นสองรองเกียร์ประเภทอื่นๆ อีกด้วยเช่นกัน

ข้อเสีย

แต่ข้อเสียของเกียร์ประเภทนี้ก็มีอยู่ที่ตัวระบบทำให้การเข้าเกียร์ D แต่ละครั้ง ตัวรอบเครื่องจะหน่วงไปจังหวะหนึ่งเล็กน้อย รวมถึงปัญหาที่ไม่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับรถที่ต้องวิ่งในเมือง การจราจรเคลื่อนได้ที่นิด อาการกระตุกจะออกชัดเจนให้เห็นเมื่อรถวิ่งที่ความเร็วต่ำ รวมไปถึงเรื่องความทนทานและความจุกจิกในการซ่อมก็มีมากกว่าด้วยเมื่อเทียบกับเกียร์ประเภทอื่นๆ

4. เกียร์กึ่งอัตโนมัติ AMT

เกียร์แบบ AMT หรือ Magneti Marelli Auto-Manual Transmission คือ ระบบส่งกำลังแบบเกียร์ธรรมดาที่มีการทำงานคล้ายเกียร์อัตโนมัติ และมีจุดเด่นด้านการถ่ายทอดกำลังจากเครื่องยนต์ไปสู่ล้อขับเคลื่อนได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยมากกว่า แต่อาจต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนเกียร์นานกว่าเกียร์อัตโนมัติเล็กน้อย จึงทำให้รอบเครื่องยนต์ลดลงในช่วงจังหวะของการเปลี่ยนเกียร์ ส่วนใหญ่จะมีในรถเก๋ง รถ SUV ที่มีความต่ำกว่า 4 เมตร เป็นรูปแบบที่มีน้อยสุดสำหรับรถจำหน่ายในประเทศไทย มีเพียงรถไม่กี่คันเท่านั้นที่ติดตั้งเกียร์ชนิดนี้วิธีการทำงานนั้นคล้ายคลึงกับเกียร์ธรรมดา

เกียร์ ออ โต้ 2 สาย กับ 3สาย ต่าง กัน อย่างไร

เกียร์กึ่งอัตโนมัติ AMT

เกียร์ AMT เริ่มต้นขึ้นในปี 1986 โดยเฟอร์รารี ได้นำเทคโนโลยีของระบบเกียร์ธรรมดาที่ใช้คลัตช์อัตโนมัติ หรือ AMT นี้มาจาก มาร์เรลลี (Marelli) ซึ่งเป็นซัพพลายเออร์ในเครือรถยนต์เฟียต (Fiat) มาใช้กับรถแข่ง ฟอร์มูลา วัน ของตน เพื่อต้องการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบส่งกำลัง ประหยัดเชื้อเพลิงให้มากขึ้น และเพิ่มความทนทาน ซึ่งทางเฟอร์รารีได้พัฒนาระบบเกียร์ AMT นี้อย่างต่อเนื่องจนกระทั้งในปี 1996 เฟอร์รารี ก็สามารถคว้าชัยชนะในการแข่ง ฟอร์มูลา วัน ได้ถึง 3 สนาม จากผลงานการขับของ มิชาเอล ชูมัคเกอร์ ทำให้ระบบเกียร์แบบ AMT ได้รับการยอมรับมากขึ้น

ปัจจุบัน MG ผู้ผลิตรถยนต์สายพันธุ์อังกฤษได้ติดตั้งระบบเกียร์ดังกล่าวไว้ใน MG3 ทั้งรุ่นแฮทช์แบ็ก (Hatchback) และรุ่นครอส (Xross) ซึ่งเป็นรถซิตี้คาร์ที่ราคาทุกคนสามารถจับต้องได้ โดยทาง MG เรียกระบบเกียร์แบบ AMT นี้ว่า SeleMatic อัตโนมัติ 5 สปีด โดยมีระบบคลัตช์ไฟฟ้าอัตโนมัติผสานกับระบบไฮดรอลิกเพื่อการควบคุมระบบคลัตช์ พร้อมการสั่งงานผ่านระบบสมองกลอัจฉริยะที่ทำหน้าควบคุมตำแหน่งเกียร์ให้เหมาะสมกับการขับขี่ โดยคำนวณจากการอัตราการเหยียบคันเร่งและรอบเครื่องยนต์ เพื่อเลือกตำแหน่งเกียร์ที่เหมาะสมและดีที่ที่สุด ส่งผลให้ MG3 มีอัตราเร่งที่ดี และประหยัดเชื้อเพลิงมากที่สุด

ข้อดี

ระบบเกียร์แบบ SeleMatic นี้ให้ทั้งประสิทธิภาพในการส่งกำลังที่ดี และมีความสะดวกสบายในการขับขี่ รองรับการขับทั้งแบบเกียร์อัตโนมัติ และแบบเกียร์ธรรมดาที่ผู้ขับขี่สามารถควบคุมการเปลี่ยนเกียร์ได้ด้วยตัวเอง ให้อัตราเร่งที่ดี ประหยัดเชื้อเพลิง และลดมลพิษ โครงสร้างแบบเดียวกับเกียร์ธรรมดา จึงทนทานและดูแลรักษาง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย พร้อมระบบความปลอดภัยที่รัดกุม

ข้อเสีย

ข้อด้วยที่เห็นได้อย่างชัดเจนของเกียร์แบบ AMT คือ มีความกระตุก และตอบสนองช้าเมื่ออยู่ในระดับเกียร์ความเร็วต่ำ โดยจะมีความฉับไวและต่อเนื่องเมื่อขับที่ความเร็วสูงขึ้นมา หรือเมื่อเปลี่ยนเกียร์ได้สัมพันธ์กับ รอบเครื่องนั่นเองซึ่งหลักการคล้ายกันกับการขับเกียร์ธรรมดาเลย

ทีนี้คงจะทราบแล้วว่า เกียร์ออโต้ มีกี่แบบ และทั้งหมดนี้คือ 4 ประเภทเกียร์ออโต้ที่เราอยากให้คุณรู้ก่อนตัดสินใจซื้อ ว่ารถที่คุณกำลังสนใจอยู่นั้นเป็นเกียร์ออโต้ประเภทไหน เหมาะกับลักษณะการใช้รถของคุณหรือเปล่า เพื่อที่คุณจะได้รถที่ถูกใจในการใช้งานของคุณจริงๆ ไม่ต้องมานั่งทำใจภายหลังกับประเภทเกียร์ที่ไม่ตอบโจทย์การใช้งาน 

เกียร์ 2 ไว้ทำอะไร

เกียร์ 2 ใช้เมื่อต้องการขับรถขึ้นเขาที่ค่อนข้างชัน หรือขับขึ้น-ลง ตามห้าง โดยรถจะเปลี่ยนเกียร์เองอัตโนมัติจากเกียร์ 1 จนถึงสูงสุดที่เกียร์ 2 และเปลี่ยนไปตามความเร็วรถตามลำดับ ข้อควรระวังสำหรับการใช้เกียร์ออโต้ 1.ก่อนเปลี่ยนเกียร์ควรเหยียบเบรกก่อนทุกครั้ง

เกียร์ออโต้ 3 คืออะไร

ตำแหน่ง 3 หรือ D3 เป็นเกียร์ที่ใช้สำหรับการเดินหน้าเช่นกัน แต่จากต่างจากD4 ตรงที่ D3 จะให้พละกำลังเครื่อง มักใช้ในการขับขึ้นทางชันเล็กน้อย เช่น ขับขึ้นสะพาน โดยรถจะเปลี่ยนเกียร์ให้เองอัตโนมัติ โดยเริ่มตั้งแต่เกียร์ 1 ไป จนถึงเกียร์ 3 นอกจากนี้ยังใช้ในกรณีที่เราต้องการขับแซงรถคันที่อยู่ข้างหน้าอีกด้วย

เกียร์ D กับ D3 ต่างกันอย่างไร

D3 ส่วนใหญ่เอาไว้เปลี่ยนเวลาต้องการเร่งแซงแบบรวดเร็ว ต้องการพละกำลัง หรือล็อคไม่ให้เครื่องเปลี่ยนเกียร์บ่อยๆ เพราะรำคาญหรืออะไรก็ตามแต่ เกียร์นี้เอาไว้ใช้ทางราบครับ เมื่อไม่ต้องการพละกำลังแล้วก็ควรเปลี่ยนกลับเป็น D เพื่อไม่ให้รอบเครื่องสูงจนกินน้ำมันมาก

เกียร์ D3 ใช้ทำอะไร

D3เกียร์นี้จะจำกัดรอบวิ่งของเราให้อยู่แค่เกียร์ 1-3 (เมื่อเทียบกับเกียร์ธรรมดา) เพื่อป้องกันไม่ให้เกียร์เปลี่ยนกลับไปกลับมาบ่อยๆระหว่างเกียร์ 3และเกียร์ 4 ทำให้รถมีรอบวิ่งต่ำลง แต่แรงม้าเท่าเดิม หากเราใช้เกียร์สูง รอบวิ่งจะสูงขึ้น แต่แรงม้าจะต่ำลง ดังนั้นการใช้เกียร์ D3 จึงเหมาะกับการวิ่งขึ้นลงเนินเขา