เบิก พรบ รถจักรยานยนต์ ได้ที่ไหน

รู้หรือไม่สำหรับ เมื่อท่านเกิดอุบัติเหตุรถชน พ.ร.บ. ที่ท่านมีนั้นสามารถเบิกค่าเสียหายได้ นะ โดยสามารถได้ ดังนั้นวันนี้เราเมื่อท่านมีเหตุให้ต้องเจออุบัติเหตุโดนรถชน ท่านสามารถค่ารักษาและค่าสินไหมทดแทนได้ โดยดู ขั้นตอน วิธีเบิกเงินจาก พ.ร.บ.รถยนต์ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งรถทุกคันต้องมี โดยท่านสามารถเรียกค่าเสียหายได้มากสุดอยู่ที่ 5 แสนบาทเลยที่เดียว โดยค่ารักษาจะอะไรบ้าง เพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเราไปชมกันเลย

วิธีเบิกเงินจาก พ.ร.บ.รถยนต์เมื่อเกิดอุบัติเหตุรถชน เบิกสูงสุดได้ 5แสนบาท

รู้หรือไม่สำหรับ สำหรับ พ.ร.บ.รถยนต์ ถือว่าเป็นประกันภัยภาคบังคับที่รถยนต์ทุกคันต้องมี เพราะหากไม่ทำ พ.ร.บ. รถยนต์ จะไม่สามารถต่อภาษีรถยนต์ได้ รวมถึงยังผิดกฎหมายอีกด้วย ทำให้จำเป็นต้องทำ พ.ร.บ. แต่เรื่องที่หลายๆ ท่านยังไม่ทราบและเสียโอกาสไป หลายคนนั้นพลาดอะไรดีๆ และเงินก้อนโตที่เรามีสิทธิ์ได้รับ โดยสามารถเบิกสูงสุดได้ 5แสนบาทโดยตั้งแต่ 1 เมษายนปี  63 ที่ผ่านมาสมาคมประกันวินาศภัยไทย มีการปรับเพิ่มวงเงินความคุ้มครองของประกันภัย พ.ร.บ. ว่า ตามที่สมาคมประกันวินาศภัยไทย ร่วมกับ สำนักงาน คปภ. กำหนดหลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน โดยได้ทำการปรับเพิ่มความคุ้มครองประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ  พ.ร.บ. จากเดิม 300,000 บาท เป็น 504,000 บาท โดยไม่ขึ้นค่าเบี้ยประกันภัย 

ดังนั้นผู้ประสบภัยจากรถได้รับความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย  จะรับการชดใช้ความเสียหายที่กำหนดไว้ในเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถตามวงเงินความคุ้มครองที่ปรับเพิ่ม การปรับเพิ่มความคุ้มครองในครั้งนี้ เพื่อที่จะทำให้ผู้ประสบภัยจากรถทุกคนมีหลักประกันความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย อย่างเท่าเทียมกัน และเป็นการยกระดับมาตรฐานในการพิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอีกด้วย

ค่าเสียหายเบื้องต้นที่ พ.ร.บ.รถยนต์ คุ้มครอง มีอะไรบ้าง ?

    1. กรณีบาดเจ็บ จะได้รับการชดใช้เป็นค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง โดยจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นไม่เกิน 30,000 บาทต่อหนึ่งคน
    2. กรณีทุพพลภาพถาวร สูญเสียอวัยวะ หากผู้ประสบภัยเกิดกรณีทุพพลภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น 35,000 บาทต่อหนึ่งคน
    3. กรณีเสียชีวิต หากผู้ประสบภัยเกิดกรณีทุพพลภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น 35,000 บาทต่อหนึ่งคน

เบิกค่าสินไหมทดแทน กรณีเป็นฝ่ายถูก หากพิสูจน์ความรับผิดแล้ว พ.ร.บ. รถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง ?

เบิก พรบ รถจักรยานยนต์ ได้ที่ไหน

    1. กรณีบาดเจ็บ จะได้รับเงินชดเชยค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง หรือไม่เกิน 80,000 บาทต่อหนึ่งคน
    2. เงินชดเชยกรณีสูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพถาวร รับสูงสุดไม่เกิน 504,000 บาทต่อหนึ่งคน
    3. กรณีบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะในร่างกายตั้งแต่ข้อมือหรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า ตั้งแต่ 2 กรณีขึ้นไป 500,000 บาท แต่หากอวัยวะในร่างกายตั้งแต่ข้อมือหรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้ารวมไปจนถึงความสามารถในการพูด ฟัง หรือจิตพิการอย่างอื่นใด ได้รับ 250,000-500,000 บาท ส่วนกรณีสูญเสียชิ้นส่วนในร่างกายแบบเล็กน้อยตั้งแต่นิ้วเดียว หรือหลายนิ้ว รับ 200,000 บาท
    4. ค่าสินไหมทดแทนทั้งหมด ในกรณีที่ไม่ได้เป็นฝ่ายผิด รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 504,000 บาท
    5. ค่าเงินชดเชยรายวัน กรณีสูญเสียรายได้ในฐานะคนไข้ใน วันละ 200 บาท แต่สูงสุดไม่เกิน 4,000 บาทหรือไม่เกิน 20 วัน
    6. วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง สำหรับกรณีรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง
    7. วงเงินคุ้มครองความรับผิดสูงสุดต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์กรณีเกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง
    8. หากมีผู้ประสบภัยเสียชีวิต โดยจะได้รับค่าชดใช้เป็นค่าปลงศพ เป็นจำนวน 35,000 บาทต่อหนึ่งคน
    9. กรณีบาดเจ็บและเสียชีวิตในภายหลัง หลังจากได้รับการรักษาพยาบาล จะได้รับเงินชดเชยค่ารักษาพยาบาลและค่าปลงศพเบื้องต้นรวมไม่เกิน 65,000 บาทต่อคน

เบิกค่าสินไหมทดแทนกรณีผู้ประสบภัยจากรถเสียชีวิต

    • หากผู้ประสบภัยเสียชีวิตให้ท่างญาติ ติดต่อกับทางประกันรถยนต์เพื่อแจ้งความประสงค์ ให้บริษัทดำเนินการการโอนเงินค่าสินไหมฯ เข้าบัญชีธนาคาร ของผู้ประสบภัยหรือ ทายาท ของผู้ประสบภัยจากรถที่เสียชีวิต

เอกสารที่ต้องใช้สำหรับการเบิกเงินจาก พ.ร.บ.รถ

เบิก พรบ รถจักรยานยนต์ ได้ที่ไหน

กรณีบาดเจ็บ

    • 1.สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบอุบัติเหตุ
    • 2.ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ

กรณีเบิกค่าชดเชยผู้ป่วยใน

    • 1.สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบอุบัติเหตุ
    • 2.ใบรับรองแพทย์ หนังสือรับรองการรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน

กรณีทุพพลภาพ

    • 1.สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบอุบัติเหตุ
    • 2.ใบรับรองแพทย์และหนังสือรับรองความพิการ
    • 3.สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน

กรณีเสียชีวิต

    • 1.สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบอุบัติเหตุ
    • 2.ใบมรณบัตร
    • 3.สำเนาบัตรประชาชนทายาทสำเนาทะเบียนบ้าน
    • 4.สำเนาบันทึกประจำวันในคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นถึงแก่ความตาย

ระยะเวลาการรับเงิน ใช้เวลากี่วัน

สำหรับระยะเวลาการเบิกค่าสินไหมทดแทนหรือรับเงินสด จะอยู่ที่ประมาณ 7 วันหรือ 15 วันทำการ ขึ้นอยู่กับว่า ท่าน ส่งเอกสารครบถ้วน สมบูรณ์หรือไม่ เพราะบริษัทประกันภัยจะทำเรื่องอนุมัติค่าสินไหมทดแทนได้ก็ต่อเมื่อได้รับเอกสารประกอบครบถ้วนแล้วเท่านั้น

เบิก พรบ รถจักรยานยนต์ ได้ที่ไหน

เบิกค่ารักษา พรบ.รถจักรยานยนต์ ที่ไหน

ผู้ประสบภัยหรือทายาทโดยชอบธรรม สามารถยื่นเรื่องเบิก พ.ร.. ผ่านทางโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา หรือผ่านบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ แต่ทางผู้ประสบภัย หรือทายาทโดยชอบธรรมจะต้องแจ้งความลงบันทึกประจำวัน เพื่อนำใบแจ้งความมาเป็นเอกสารในการเบิก พ.ร..

พรบ.รถจักรยานยนต์ เบิกยังไง

เอกสารที่ใช้เบิกประกัน พ.ร.บ..
สำเนาบัตรประชาชน ของผู้ประสบภัย (หากอายุไม่ถึง 15 ปี ใช้สำเนาสูติบัตรแทน).
สำเนาทะเบียนบ้าน.
สำเนาทะเบียนรถคันที่เกิดเหตุ.
สำเนาใบขับขี่ พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง (ในกรณีที่ผู้ประสบภัยเป็นผู้ขับรถ).
ใบแจ้งความ หรือ บันทึกประจำวันจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ.
สำเนาใบกรมธรรม์ พ.ร.บ..

พรบ มอเตอร์ไซค์ เบิกได้เท่าไร

ค่ารักษาพยาบาล สามารถ เบิกพ.ร.. มอเตอร์ไซค์ ได้สูงสุดคนละไม่เกิน 80,000 บาท (จ่ายตามจริง) กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง ได้รับเงินค่าชดเชยคนละ 500,000 บาท กรณีทุพพลภาพถาวร (ไม่สามารถประกอบอาชีพประจำได้) ได้รับเงินชดเชยคนละ 300,000 บาท กรณีสูญเสียอวัยวะ

พรบรถยนต์เบิกได้ที่ไหน

เมื่อเตรียมเอกสารเรียบร้อยแล้ว สามารถทำเรื่องขอเบิกเงิน จาก บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ได้ทุกสาขาทั่วประเทศ และจะมีการเบิกจ่ายเงินภายใน 7 วัน ซึ่งพ.ร..จะคุ้มครองผู้เสียหายในส่วนของคนเท่านั้น ส่วนทรัพย์สิน หรือ ตัวรถจะไม่มีได้รับการคุ้มครอง