อาชีพใดเป็นรายได้หลักของทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้

สหรัฐอเมริกามีระบบเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด และมีอำนาจทางเศรษฐกิจในด้านเทคโนโลยีมากที่สุดในโลก ซึ่งผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของสหรัฐฯ โดยเฉลี่ยต่อบุคคลคิดเป็นจำนวน 63,543.6 ดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลจาก World Bank ปี 2563) ในระบบเศรษฐกิจเสรีทางการตลาดนี้ ทั้งปัจเจกบุคคลและบริษัทมีอำนาจในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจด้วยตนเอง โดยรัฐบาลกลางจะจัดซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชน บริษัทในสหรัฐฯ จึงสามาถใช้สิทธิ์ทางด้านธุรกิจอย่างเต็มที่มากกว่ากลุ่มบริษัทที่ตั้งในประเทศคู่ค้าดังเช่นยุโรปตะวันตกและญี่ปุ่น ไม่ว่าจะเป็นในด้านการตัดสินใจในทางธุรกิจ การวางรกรากทางการลงทุน การปลดลูกจ้างพนักงาน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ แต่ทั้งนี้ผู้ประกอบธุรกิจในสหรัฐฯ มีข้อเสียเปรียบคือต้องเผชิญกับอุปสรรคทางด้านกำแพงการค้าซึ่งกีดขวางการเข้าสู่ตลาดของคู่ต่อสู้

นับตั้งแต่สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯ เป็นผู้นำและมีข้อได้เปรียบทางธุรกิจในเวทีเศรษฐกิจโลกเสมอมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เวชภัณฑ์ อวกาศ และยุทโธปกรณ์ แต่อย่างไรก็ดี ในช่วงหลังจากที่สหรัฐฯ ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ (Great Recession) ระหว่างปี 2550-2552 อันเนื่องมาจากภาวะฟองสบู่แตกของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้มีการยุบตัวลงของสถาบันการเงินต่างๆ และบริษัทผลิตรถยนต์รายใหญ่ของสหรัฐฯ ซึ่งสภาวะเศรษฐกิจถดถอยในครั้งนี้ที่ถึงแม้ว่าจะสิ้นสุดลงไปแล้วก็ตามยังคงส่งผลกระทบระยะยาวต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ของสหรัฐฯ มาจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการว่างงานที่เรื้อรัง ปัญหาหนี้สาธารณะ ปัญหารายได้ประชาชาติที่ลดลงในกลุ่มชนชั้นล่างและกลาง และปัญหาหนี้สินส่วนบุคคลของกลุ่มวัยทำงานจากการกู้ยืมเงินทางการศึกษา เป็นต้น

นโยบายทางเศรษฐกิจ

อาชีพใดเป็นรายได้หลักของทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้
อาชีพใดเป็นรายได้หลักของทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้

ปี 2564 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน และรองประธานาธิบดีคามาลา แฮร์ริส ได้ประกาศแนวทางการฟื้นฟูและส่งเสริมด้านเศรษฐกิจสหรัฐฯ ภายใต้ 3 แผนงานที่สำคัญ ได้แก่

เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในช่วงระหว่างปี 2563-2564 ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้มีชาวสหรัฐฯ จำนวน 4 ล้านคนต้องตกอยู่ในสภาวะการว่างงานเป็นระยะเวลานานหลายเดือน ชาวสหรัฐฯ จำนวน 15 ล้านคนไม่สามารถจ่ายค่าเช่าที่อยู่อาศัยได้ และมีประชากรทั้งเด็กและผู้ใหญ่อีกกว่า 30 ล้านคนต้องประสบกับสภาวะขาดแคลนอาหาร โดยแผนงาน American Rescue Plan จะมุ่งเน้นการให้ความช่วยเหลือประชากรชาวสหรัฐฯ ในด้านต่าง ๆ อาทิ

  • การให้เงินช่วยเหลือทางตรงแก่ครัวเรือนชาวสหรัฐฯ
  • การขยายระยะเวลาการให้สวัสดิการจากการว่างงาน
  • การให้ความช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย
  • การให้ความช่วยเหลือด้านอาหาร
  • การให้คืนเครดิตภาษีสำหรับผู้ที่มีบุตร
  • การให้ความช่วยเหลือด้านการเลี้ยงดูบุตร

“American Jobs Plan” มีเป้าหมายในการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของสหรัฐฯ การสร้างงาน และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันทางเศรษฐกิจในระดับโลก โดยแบ่งการปฏิรูปออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่

  • โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง
  • โครงสร้างพื้นฐานสำหรับที่พักอาศัย
  • โครงสร้างการบริการและการจ้างงานด้านการดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
  • การส่งเสริมการลงทุนเพื่อนการวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยี การผลิต ธุรกิจขนาดย่อม และแรงงาน

นอกจากนี้ ประธานาธิบดีไบเดน ยังได้เสนอแผนปฏิรูปโครงสร้างภาษีควบคู่ไปกับแผนเศรษฐกิจ เพื่อสนับสนุนงบประมาณสำหรับการดำเนินตามแผนงานด้วย

“American Families Plan” มีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนครอบครัวชาวอเมริกัน โดยเฉพาะครัวเรือนระดับชนชั้นกลาง ในด้านการศึกษา สาธารณสุข และการปฏิรูประบบภาษี โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ได้แก่

สินค้าออก ส่วนใหญ่ของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ วัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตร ที่สำคัญคือ กาแฟ เนื้อสัตว์ ข้าวโพด กล้วย โกโก้ ฝ้าย น้ำมัน สินแร่เหล็กและทองแดง สินค้าเข้า ส่วนใหญ่เป็นเครื่องจักรและเครื่องยนต์สำหรบการเกษตร ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์และสิ่งทอ ในการค้ากับต่างประเทศเกือบทุกประเทศเสียดุลการค้าตลอดมา ยกเว้นประเทศบราซิล เพราะเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท จนมีผลผลิตส่งเป็นสินค้าออก ส่วนเวเนซุเอลา เป็นประเทศที่ส่งน้ำมันดิบเป็นสินค้าออกรายใหญ่รายหนึ่งของโลก ประเทศคู่การค้าสำคัญของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักรและประเทศในทวีปอเมริกาใต้ด้วยกัน

อาชีพและทรัพยากรธรรมชาติ
1.การเพาะปลูก ที่สำคัญได้แก่
    – กาแฟ  ประเทศที่ผลิตกาแฟในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ บราซิล โคลัมเบีย เอกวาดอร์  โดยเฉพาะบราซิล เป็นประเทศที่ส่งกาแฟออกจำหน่ายมากร้อยละ 50 ของโลก
    – โกโก้ ได้จากเมล็ดกาเกา ใช้ทำช็อกโกเลต เครื่องดื่ม และขนมหวาน เป็นพืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้ ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ บราซิลและเอกวาดอร์
    – ข้าวโพด  เป็นพืชที่ปลูกมากและส่งออกของประเทศบราซิล รองลงมาได้แก่  อาร์เจนตินา  เวเนซุเอลา เปรูและโคลัมเบีย
    – ข้าวสาลี ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ อาร์เจนตินา บราซิล ชีลี
    – อ้อย ปลูกมากในประเทศบราซิล
    – กล้วย ปลูกมากในประเทศเอกวาดอร์
    – ฝ้าย ปลูกมากในประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา
2.การเลี้ยวสัตว์
ทวีปอเมริกาใต้เป็นทวีปที่มีทุ่งหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์  ได้แก่ ทุ่งหญ้ายาโนส  ทุ่งหญ้าแคมโปสและทุ่งหญ้ากรันชาโก ส่วนทุ่งหญ้าปามปัสอยู่ในเขตประเทศอาร์เจนตินา อุรุกวัยและตอนใต้ของบราซิล สัตว์เลี้ยงที่สำคัญได้แก่
    – โคเนื้อ ประเทศที่เลี้ยงโคเนื้อมาก คือ อาร์เจนตินา อุรุกวัย และบราซิล
    – แกะ ประเทศที่เลี้ยงมากคือ อุรุกวัย เลี้ยงมากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากออสเตรเลีย
    – สุกร ประเทศที่เลี้ยงมาก คือ เปรู บราซิล
3.ป่าไม้และผลผลิตจากไม้
แหล่งป่าไม้เนื้อแข็งที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์และกว้างขวาง  คือ  ป่าเซลวาสในบริเวณแม่น้ำแอมะซอน แต่มีการนำมาใช้น้อย เพราะการคมนาคมขนส่งไม่สะดวกควินิน (Quinine) ใช้ทำเป็นยาป้องกันโรคมาลาเรีย ได้จากต้นซิงโคนา   ยูคาลิปตอล (Eucalyptol) จากต้นยูคาลิปตัส ใช้เป็นส่วนผสมของยาแก้ไอ   ยางพารา เป็นพืชดั้งเดิมของอเมริกาใต้   ยางไม้ (Chicle) ใช้ทำหมากฝรั่ง   ยางบาลาตา (Balata) ใช้หุ้มสายเคเบิลใต้น้ำ และหุ้มลูกกอล์ฟ   ฝาด (Tannin) ใช้ฟอกหนัง   บราซิลนัด (Brazil nut) ใช้เป็นอาหาร   ประเทศที่ผลผลิตไม้และผลผลิตจากป่าไม้ที่สำคัญ คือ บราซิล โคลัมเบีย และเปรู
4.การประมง
บริเวณทางชายฝั่งตะวันตกด้านมหาสมุทรแปซิฟิก  บริเวณประเทศเปรูและชิลี  เป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมแห่งหนึ่งของโลก  เพราะเป็นบริเวณที่กระแสน้ำเย็นเปรูหรือกระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์กับกระแสน้ำอุ่นใต้เส้นศูนย์สูตรไหลบรรจบกัน
5.การทำเหมืองแร่   อเมริกาใต้มีแร่ธาตุทีสำคัญหลายชนิด ได้แก่
    – ทองแดง ประเทศที่ผลิตทองแดงได้เป็นอันดับ 1 ของโลก คือ ประเทศชิลี  อยู่ในแคว้นชูคีตมาตานอกจากนี้ยังมีประเทศเปรูและ    บราซิล
    – เหล็ก ประเทศที่ผลิตได้มากเป็นอันดับ 2 ของโลก คือ บราซิล  นอกจากนี้ยังประเทศเวเนซุเอลาโบลีเวียและชีลี
    – ดีบุก ประเทศที่ผลิตได้มากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากมาเลเซีย คือ โบลีเวีย  อยู่ในเขตที่ราบสูงอัลติพลาโน
    – สังกะสี ผลิตได้มากในประเทศเปรู อาร์เจนตินา บราซิล
    –  ทองคำ ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ ประเทศบราซิล
    – น้ำมันปิโตรเลียม  ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ เวเนซุเอลา อยู่บริเวณรอบๆ  ทะเลสาบมาราไคโบ นอกจากนี้ยังมีในประเทศ บราซิล เอกวาดอร์  โบลิเวีย แต่มีปริมาณไม่มาก
6.การอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเบา  เป็นแปรผลผลิตทางการเกษตร   เช่น การผลิตน้ำตาล  อาหารกระป๋อง ประเทศที่มีอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้าและมีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่  ได้แก่ บราซิลและอาร์เจนตินา เช่น การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า การกลั่นน้ำมันและปิโตรเคมี การผลิตรถยนต์ และอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมืองใหญ่หรือเมืองหลวง เช่น เซาเปาโล ริโอเดจาเนโร  บูเอโนสไอเรสฯลฯ
7.การค้าขาย   สินค้าออก ส่วนใหญ่ของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ วัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตร  ที่สำคัญคือ กาแฟ เนื้อสัตว์ ข้าวโพด กล้วย โกโก้ ฝ้าย น้ำมัน สินแร่เหล็กและทองแดง   สินค้าเข้า ส่วนใหญ่เป็นเครื่องจักรและเครื่องยนต์สำหรบการเกษตร ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์และสิ่งทอ   ในการค้ากับต่างประเทศเกือบทุกประเทศเสียดุลการค้าตลอดมา ยกเว้นประเทศบราซิล  เพราะเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ  และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท  จนมีผลผลิตส่งเป็นสินค้าออก ส่วนเวเนซุเอลา เป็นประเทศที่ส่งน้ำมันดิบเป็นสินค้าออกรายใหญ่รายหนึ่งของโลก   ประเทศคู่การค้าสำคัญของประเทศต่างๆในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักรและประเทศในทวีปอเมริกาใต้ด้วยกัน
8.การคมนาคมขนส่ง
แม้ทวีปอเมริกาใต้จะมีอาณาเขตติดต่อเป็นผืนแผ่นดินเดียวกันกับทวีปอเมริกาเหนือ  แต่ระบบการคมนาคมขนส่งในทวีปยังหล้าหลังอยู่มาก  และกระจายไม่ทั่วถึงทุกส่วนของทวีป  เพราะประเทศส่วนใหญ่เป็นประเทศยากจนและด้อยพัฒนา  ประกอบกับการมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่งอยู่ทุกภูมิภาค กล่าวคือ มีภูเขาสูงที่ทุรกันดาร มีภูมิอากาศแห้งแล้งเป็นทะเลทราย  บริเวณที่มีการคมนาคมขนส่งสะดวกจึงกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ ในเขตที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ มีสภาพ   ภูมิอากาศที่ไม่ร้อนหรือแห้งแล้งเกินไป ประกอบด้วย
    1.ทางบก ประกอบด้วย
    1.1 ทางรถยนต์ ทวีปอเมริกาใต้มีถนนสายหลักที่ใช้ติดต่อเชื่อมประเทศต่างๆ คือ  ทางหลวงสายแพนอเมริกัน (Pan-American Highway)  เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อจากประเทศสหรัฐอเมริกาลงมาถึงตอนใต้ของประเทศชีลี โดยมีเส้นทางตัดเชื่อมไปยังเมืองหลวงของประเทศต่างๆกว่า 17 เมือง  ส่วนประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางรถยนต์อยู่ในระดับดี ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล และชีลี
    1.2ทางรถไฟ   ทางรถไฟในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่เป็นสายสั้นๆ เชื่อมเมืองใหญ่หรือเมืองท่าระหว่างชายฝั่งกับที่ราบภาคใต้ ประเทศที่มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งทางรถไฟได้เจริญก้าวหน้ามาก ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางรถไฟในทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ ริโอเดจาเนโร เซาเปาลู  ในประเทศบราซิล เมืองมอนเตวิเดโอในประเทศอุรุกวัย บูเอโนสไอเรส ในประเทศอาร์เจนตินา
    1.3 ทางน้ำ    ทางแม่น้ำลำคลอง ที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งได้ดี คือ แม่น้ำปารานา ซึ่งสามารถเดินเรือเชื่อติดต่อระหว่างเมืองบูเอโนสไอเรสในประเทศอาร์เจนตินากับเมืองต่างๆ  ที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ  แม่น้ำแอมะซอนแม้จะกว้างและลึกพอที่จะให้เรือเดินทะเลขนาดใหญ่แล่นเข้าไปได้ภายในทวีปได้ไกลถึงเมืองมาเนาส์   ซึ่งอยู่ห่างจากปากแม่น้ำประมาณ  1,600 กิโลเมตร  แต่ก็ไม่ค่อยได้ประโยชน์มากนัก  เพราะในเขตลุ่มแม่น้ำนี้มีประชากรอาศัยอยู่เบาบางมาก และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจน้อย
2.ทางทะเล  ทวีปอเมริกาใต้สามารถใช้เรือเดินสมุทร  ติดต่อกับทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรปได้สะดวก โดยอาศัยเมืองท่าด้านชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เช่น เมืองเบแลง เรซิเฟ ริโอเดจาเนโร  ในประเทศบราซิล เมืองมอนเดวิเดโอ ในประเทศอุรุกวัย เมืองบูเอโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา และเมืองคารากัส ในประเทศเวเนซุเอลา ส่วนเมืองท่าทางด้านชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ เมืองคายาโอ  ในประเทศเปรู เมืองวัลพาไรโซ ประเทศชิลี
3.ทางอากาศ  ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ ภูเขาสูงและทะเลทราย  ประกอบแหล่งที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ห่างไกลกัน  การคมนาคมขนส่งทางอากาศจึงมีความสำคัญมาก  ทุกประเทศพยายามพัฒนาการขนส่งทางอากาศให้ทั่วถึง ประเทศที่มีการคมนาคมขนส่งทางอากาศมาก ได้แก่ ประเทศบราซิลและอาร์เจนตินา  มีท่าอากาศยานภายในประเทศและระหว่างประเทศที่ทันสมัยอยู่หลายแห่ง เพราะเป็นประเทศที่มีภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างดี