ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

     ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ

  • การใช้ (Use)
  • เข้าใจ (Understand)
  • การสร้าง (create)
  • เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

 

หมายเหตุ ในระยะเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ได้มีการนำ “มาตรฐานสมรรถนะสาขาผู้ใช้ไอที (Digital Literacy) จัดทำโดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ซึ่งมีความชัดเจนและครอบคลุมองค์ประกอบที่จำเป็น  มาใช้ไปพลางก่อน และในระยะต่อไป สำนักงาน ก.พ. จะร่วมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) จัดทำ องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทและลักษณะงานของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐมากขึ้น


ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล
ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

Infographics ทั้งหมด

ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital และยุค Robotic จึงทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน ข้าราชการซึ่งเป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศ จึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของการเปลี่ยนแปลง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด culture shock เนื่องจากการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี และเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูญเสียการเป็นส่วนตัว ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การโจรกรรมข้อมูล การโจมตีทางไซเบอร์ เป็นต้น

Digital literacy หรือทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานที่จะเป็นตัวช่วยสำคัญ สำหรับข้าราชการในการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการทำงานร่วมกันกับผู้อื่นในลักษณะ “ทำน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more impact” และช่วยส่วนราชการสร้างคุณค่า (Value Co-creation) และความคุ้มค่าในการดำเนินงาน (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยให้ข้าราชการ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับโอกาสการทำงานที่ดีและเติบโตก้าวหน้าในอาชีพราชการ (Learn and Growth) ด้วย

สำหรับหลาย ๆ คน ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของเขาอาจจะเป็นของขวัญชิ้นพิเศษจากผู้ให้กำเนิด แต่ไม่ใช่กับ นาย John Vincent Atanasoff นักฟิสิกส์และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกันที่ไม่ได้ของขวัญจากพ่อหรือแม่ของเขา กลับกันเขาได้ชื่อว่าเป็นผู้ให้กำเนิดดิจิทัลคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก ซึ่งอุบัติขึ้นในช่วงยุค 1930 และนั่นนับเป็นก้าวแรกที่สำคัญของวงการดิจิทัล วงการอินเตอร์เน็ต และวงการเทคโนโลยีของมนุษยชาติจนถึงปัจจุบัน

ดิจิทัลเป็นการแทนความหมายของข้อมูลต่าง ๆ ในรูปแบบของตัวเลข โดยข้อมูลเชิงตัวเลขที่นิยมกันมาถึงปัจจุบันก็คือตัวเลขฐานสอง คือมีแค่ 2 ตัวระหว่าง 1 และ 0 แต่เมื่อนำมาร้อยเรียงกันก็สามารถตีความเป็นข้อมูลต่าง ๆ ให้มนุษย์เข้าใจได้  การเปลี่ยนแปลงของ 1 และ 0 นี้เป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่องจึงสามารถนำมาประยุกต์สร้างเป็นดิจิทัลคอมพิวเตอร์ได้ในที่สุด 

Digital Transformation คือ กระบวนการในการนำเทคโนโลยีมาสร้างสิ่งใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งเก่าจากการดำเนินธุรกิจให้เหมาะสมกับธุรกิจในยุคดิจิทัลที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยครอบคลุมทั้ง 3 มิติ คือ มิติทางกระบวนการธุรกิจขององค์กร มิติทางวัฒนธรรมองค์กร และมิติด้านประสบการณ์ของลูกค้า

ข้อดีที่หลายคนอาจจะตอบได้รวดเร็วของการทำ Digital Transformation ก็คือทำให้ยอดขายเพิ่มขึ้น แต่นั่นไม่ใช่จุดประสงค์หรือข้อดีหลัก เพราะการทำให้ยอดขายเพิ่มขึ้นมีมากมายหลายวิธี แต่ข้อดีจริง ๆ ของการทำ Digital Transformation คือความยั่งยืนที่ก่อตัวขึ้นมาจากข้อดีหลายข้อดังนี้ 

1. สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับลูกค้า (Enhance Customer Experience)

หากหัวใจของการค้าขายคือความต้องการของผู้บริโภค หัวใจของดิจิทัลในวงการธุรกิจคงหนีไม่พ้น “คุณค่าแห่งประสบการณ์ของลูกค้า” หลายบริษัทในปัจจุบันก็เน้นไปที่เรื่องนี้มากขึ้น เพราะยิ่งสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้กับลูกค้าได้มากเท่าไร ความผูกพันระหว่างองค์กร (หรือแบรนด์) กับ ลูกค้าก็ยิ่งมีมากขึ้น นำไปสู่ความยั่งยืนในอนาคต 

ตัวอย่างผลจาก Digital Transformation เช่น บริษัทที่สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับลูกค้าในยุคดิจิทัลได้ชัดเจนอย่าง NETFLIX ที่ทำให้สมาร์ทโฟนเครื่องเดียวของลูกค้าหลาย ๆ คน สร้างกำไรมหาศาลให้กับบริษัท NETFLIX ได้ถึงปีละ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยที่ลูกค้าไม่ต้องนั่งรถออกไปเช่าหรือซื้อดีวีดีเหมือนแต่ก่อน

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล
ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

2. สะสมฐานข้อมูลเชิงลึกได้มากขึ้น 

การเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์กรและลูกค้าในทุกมิติบนระบบดิจิทัลทำให้สามารถหยิบยกมาใช้ง่ายขึ้น โดยใช้ข้อมูลเหล่านี้เป็นตัวตั้งในการทำความเข้าใจลูกค้าให้มากขึ้น ตัดสินใจด้วยข้อมูลที่มากพอ และกำหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจรวมไปถึงมองเห็นโอกาสในการทำกำไรต่อเงินลงทุนที่ลงไปได้ด้วย นับเป็นอีกกุญแจดอกสำคัญของ “Digital Transformation” เลยก็ว่าได้

3. เพิ่มความคล่องตัวขององค์กร

ขณะที่ตลาดและความต้องการลูกค้าเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง องค์กรต่าง ๆ ก็พยายามไล่ตามเช่นกัน จนมีคำกล่าวว่า “ตลาดคือนิรันดร์ มีแต่จะเปลี่ยนแปลงไปและมีสิ่งที่องค์กรต่าง ๆ ต้องทำมากขึ้น” แม้กระทั่งองค์กรระดับต้น ๆ ของโลกก็ยังต้องปรับตัว และเพราะ “Digital Transformation” นี้เอง ทำให้องค์กรคล่องตัวมากพอที่จะปรับให้แข่งขันกับคู่แข่งได้มากขึ้น สร้างเครื่องมือใหม่ ๆ  ติดตามเทรนด์ต่าง ๆ ได้ทันท่วงที 

ในวงการธุรกิจ ความคล่องตัวเป็นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาองค์กรไปในทางที่ดีขึ้นได้อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับกระบวนการทางดิจิทัล เมื่อปรับองค์กรให้สอดคล้องไปกับระบบดิจิทัลแล้ว การขับเคลื่อนองค์กรในมิติต่าง ๆ จึงรวดเร็วและสะดวกขึ้น “ความคล่องตัว” แบบนี้เองที่เรียกกันว่า “Agility” เป็นแนวคิดที่เรียกได้ว่ามาควบคู่กันกับ Digital Transformation เลยทีเดียว

ตัวอย่างที่หลาย ๆ คนเห็นกันชัดเจนในยุคนี้ก็คือการทำงานจากที่บ้านได้ เมื่อ Covid-19 แพร่ระบาดในช่วงแรก องค์กรที่ Digital Transformation ไปเรียบร้อยแล้วก็ทำเพียงแค่ออกคำสั่งให้ทำงานจากที่บ้านได้ พนักงานก็เริ่มงานได้ทันที ต่างกับบางองค์กรที่ต้องติดตั้งระบบใหม่ทั้งหมดโดยใช้เวลาอีกหลายเดือน

แนวคิดสู่การทำ Digital Transformation 

หากจะเริ่มต้นทำกระบวนการนี้ มีมากมายหลายตำราแต่หลัก ๆ จะประกอบไปด้วยใจความใหญ่ ๆ ของแนวทาง 4 แนวทางดังนี้เป็นจุดเริ่มต้น คือ

1. ระบุจุดประสงค์ให้ชัดเจน 

ก่อนที่แต่ละองค์กรจะลงรายละเอียดได้ จำเป็นต้องกำหนดจุดประสงค์ให้แน่ชัดก่อน อย่างเช่นถ้าเป็นธุรกิจด้านไอที ส่วนใหญ่ก็จะใช้จุดประสงค์เกี่ยวกับการเพิ่มคุณค่าของประสบการณ์ด้านดิจิทัลให้แก่ลูกค้า แต่นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น การเปลี่ยนผ่านด้านดิจิทัลนี้จะรวมไปถึงการคิดใหม่และออกแบบใหม่ของภาพรวมในธุรกิจทั้งหมดด้วย กุญแจสำคัญในการเปลี่ยนผ่านมักครอบคลุมจุดประสงค์ต่าง ๆ ดังนี้ 

  1. เพิ่มคุณค่าของประสบการณ์ทางดิจิทัลให้กับลูกค้า เพื่อเชื่อมโยงไปถึงความภักดีต่อแบรนด์ (Brand loyalty) รายได้ และประสิทธิภาพของธุรกิจในภาพรวม 
  2. เพื่อลดต้นทุน ลดขั้นตอนหรือกระบวนการที่ไม่จำเป็น 
  3. เพื่อเพิ่มความคล่องตัวขององค์กร จากการปรับโครงสร้างพื้นฐานขององค์กรสู่ระบบดิจิทัล 
  4. เพื่อค้นหาสิ่งสำคัญที่สุดในการทำธุรกิจ นั่นคือ “ความต้องการเบื้องลึก” ของลูกค้าจากการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ และนำไปใช้ในการตัดสินใจเพื่อสร้างกลยุทธ์การแข่งขันในตลาดต่อไป

2. เรียนรู้และรู้จักเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้ 

เป็นไปไม่ได้เลยที่จะลงสนามรบโดยใช้อาวุธไม่เป็น เช่นเดียวกันการทำ “Digital Transformation” เองก็จำเป็นต้องรู้จักเทคโนโลยีสำคัญต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ เช่น ซอฟแวร์ต่าง ๆ ที่สามารถทำงานแทนคนได้เกือบทั้งหมดแต่เราไม่เคยรู้จัก Internet of Things ที่เชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งในองค์กรหรือสินค้าที่สร้างคุณค่าให้ลูกค้าได้ รวมไปถึงสิ่งที่สำคัญที่สุดนั่นคือ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ เพราะไม่ว่าการทำ Digital Transformation จะได้ประโยชน์เท่าใด ลดต้นทุน สร้างความพอใจให้ลูกค้าได้เท่าใด ก็พังลงในพริบตาด้วยอันตรายจากภัยทางไซเบอร์

3. วางตำแหน่งขององค์กรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญวัฎจักรของการบริการแบบดิจิทัล

อนาคตข้างหน้าสำหรับองค์กรแล้วไม่ใช่แค่คำว่า “อะไร” แต่เป็นคำว่า “อย่างไร” เพราะไม่ว่าสินค้าจะมีความซับซ้อนอย่างไร มันก็คือสินค้า แต่องค์กรที่ดีในโลกแห่งดิจิทัลไม่เพียงเน้นที่ตัวสินค้า Digital Transformation ยังเน้นย้ำไปถึงว่าออกแบบสินค้าอย่างไร พัฒนามันอย่างไร จัดการมันอย่างไร และจะปฏิวัติสิ่งนี้อย่างไร เพื่อทำให้องค์กรอยู่ในสนามรบการค้าแห่งโลกดิจิทัลได้อย่างยั่งยืน มิเช่นนั้นเราจะเป็นเพียงองค์กรที่นำเทคโนโลยีมาใช้เท่านั้น วันหนึ่งที่ทุกองค์กรตามเรามาทันก็เสมือนเราล้าหลังไปเสียแล้ว

4. มองไกลไปถึงแพลตฟอร์มแห่งอนาคต

เมื่อพูดถึงแพลต์ฟอร์มใหม่ ๆ ที่ทุกองค์กรกำลังทำ “Digital Transformation” มีสิ่งที่เราต้องยอมรับว่า วงการดิจิทัลนั้นมีสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาอยู่เสมอ และดิจิทัลที่ล้าสมัยหรือไม่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าก็อัตรธานไป ตัวที่ยังคงอยู่ก็ถูกรวมเข้ากับแพลตฟอร์มใหม่ ๆ  แพลตฟอร์มที่ว่านี้มีทั้งสองมิติคือทั้งหลังบ้าน และหน้าบ้าน 

หลังบ้านคือแพลตฟอร์มที่เป็นดังเครื่องมือต่าง ๆ ขององค์กร หน้าบ้านก็คือแพลตฟอร์มที่สามารถสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าได้และยังสามารถสร้างผลกำไรให้บริษัทได้ด้วย การจับมือก้าวไปด้วยกันอย่างคล่องตัวของทั้งหน้าบ้านและหลังบ้านนี้เองจะทำให้การเปลี่ยนผ่านสู่โลกดิจิทัลเป็นไปอย่างราบรื่นในระยะยาว

ตัวอย่างบริษัท 

นับถึงวันนี้มีหลายบริษัทที่นำพาองค์กรอยู่บนกระบวนการนี้ได้อย่างน่าพอใจ หนึ่งในตัวอย่างที่หยิบยกมาพูดถึงในวันนี้คือ บริษัท Nike ที่มีสโลแกนเป็นที่รู้จักกันดีว่า “Just Do It” วันนี้ Nike เปลี่ยนแปลงองค์กรไปกับ Digital Transformation ได้จนถูกเรียกกันในวงการดิจิทัลว่า Nike “Just Did It” จากบริษัทผลิตเครื่องสวมใส่ประเภทรองเท้า เสื้อผ้า นำพาตัวเองสู่การทำ “Digital Transformation” ได้อย่างดีจนหลายคนยังสงสัยตั้งแต่ก่อนการเปลี่ยนแปลงว่าจะนำดิจิทัลมาขับเคลื่อนองค์กรที่ทำธุรกิจด้านเครื่องสวมใส่ได้อย่างไร

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล
ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

NIKE ไม่ใช่บริษัทด้านเทคโนโลยีแต่ก็ประสบความสำเร็จกับ Digital Transformation

Nike เองก็กลัวว่าวงการดิจิทัลและความต้องการของลูกค้าจะกลืนกินบริษัทให้หายไป จึงเริ่มต้นทำ Digital Transformation โดยเน้นไปที่การเก็บข้อมูลในระบบดิจิทัล จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ไปสู่การปรับปรุงกลยุทธ์และระบบอีคอมเมิร์ซ การทำการตลาดแบบดิจิทัล การปรับปรุงร้านค้าปลีก การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า รวมไปถึงพัฒนาประสบการณ์ที่ลูกค้าจะได้รับไปกับระบบออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ทำให้ Nike เปลี่ยนแปลงสินค้าของตัวเองได้ทันกับความต้องการของลูกค้าที่โยงไปถึงแฟชั่นและเทรนด์ต่าง ๆ  จนทำให้ราคาหุ้นของ Nike ทะยานจาก 52ดอลลาร์สหรัฐ ไปถึง88ดอลลาร์สหรัฐในเวลาเพียง 2 ปีหลังจาก Digital Transformation เกิดขึ้น (เพิ่มขึ้นประมาณ 70% ใน 2 ปี และปัจจุบันราคาประมาณ 137 ดอลลาร์สหรัฐ)

รายละเอียดปลีกย่อยของการทำกระบวนการในการนำเทคโนโลยีมาสร้างสิ่งใหม่  ยังมีอีกมากมายนัก แต่ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นแนวคิดหลักที่ควรมีไว้ในใจก่อนที่จะลงมือปั้นองค์กรไปสู่ถนนสายดิจิทัลอย่างสมบูรณ์ ถ้าคุณมีจุดประสงค์การทำ Digital Transformation ที่ชัดเจนแล้วลำดับต่อไปลองเลือกพิจารณาดูว่าเครื่องมือดิจิทัลไหนที่จะมาช่วยให้การบริหารองค์กรของคุณสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งทางทีม Teachme Biz ก็ได้มีการให้คำแนะนำไว้แล้วดังนี้ 

6 เทรนด์เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ของวงการการบริหารทรัพยากรบุคคล (ภาคต้น)

6 เทรนด์เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ของวงการการบริหารทรัพยากรบุคคล (ภาคจบ)

Teachme Biz เสนอ 5 เทคโนโลยี ช่วยสนับสนุน Logistics และ Supply chain

เตรียมตัวตอนนี้ก็ยังทัน! Tools ที่จำเป็นสำหรับองค์กรที่ต้องการปรับตัวเพื่อ Work From Home

หรือหากผู้อ่านท่านไหนต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานแบบครอบคลุมทั้งระบบ ที่จะสามารถเป็นก้าวแรกของการทำ Digital Transformation อย่างยั่งยืนได้นั้น TeachmeBiz เองก็มีเครื่องมือให้คุณทำสิ่งนั้นได้เช่นกัน ลองติดต่อเพื่อขอรับคำปรึกษาการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงานจากพวกเราได้เลยครับ

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล
ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล
ข้อใดหมายถึงผู้ประกอบการดิจิทัล

Teachme Biz - Visual SOP Management Platform คือระบบจัดการคู่มือออนไลน์ที่จะเปลี่ยนการจัดการของทั้งคู่มือการทำงาน, Work Instruction, Workflow, หรือ SOP ที่แสนยุ่งยากให้ง่ายด้วยสมาร์ทโฟนเครื่องเดียว เข้าใจง่ายด้วยภาพและวิดีโอแบบ step-by-step เก็บคู่มือการทำงานของทั้งองค์กรไว้บนออนไลน์ ง่ายแต่ปลอดภัยในการเข้าถึง เป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างมาตรฐาน และเสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานขององค์กรคุณ

ข้อใดหมายถึงการเข้าถึงใน Digital Literacy

การรู้ดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความ ...

ข้อใดคือความหมายของธุรกิจดิจิทัล

ธุรกิจดิจิทัล คือ เป็นเหมือนการทำ ธุรกิจ ผ่านสื่อออนไลน์ การรู้จักกลไกทางการตลาด การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศต่างๆ ให้มีความพร้อมใช้งาน ธุรกิจดิจิทัล นั้นจะโยงไปถึงการออกแบบเว็บไซต์ ให้มีคุณภาพ ทำให้ธุรกิจ ของเรามีคนติดตาม รู้จักมากขึ้นกว่าปัจจุบัน การเรียนรู้เกี่ยวกับ Facebook การเก็บสถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์ ธุรกิจดิจิทัล ...

ข้อใดแปลว่า ธุรกิจดิจิทัลโมบาย

ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบวนการท าธุรกิจออนไลน์ต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สาย เนื้อหาของธุรกรรมอยู่ในรูปของข้อมูลสารสนเทศที่ เป็นสัญญาณดิจิทัลในรูปของข้อความ ภาพ และเสียง

ข้อใดเป็นความหมายของนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล

นวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Innovation) หมายถึง ผลิตภัณฑ์และ บริการใหม่ๆ ที่เกิดจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่ตอบสนองความต้องการและ พฤติกรรมของผู้บริโภค ที่ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทของเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนบนพื้นฐานของการหลอมรวม ...