รายงาน sar 2560 2.2 ม ระบบการบร หารจ ดการค ณภาพของสถานศ กษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report)ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตลาดพรา ว สํานักงาน กศน. กทม. สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร คํานาํ ตามที่กฎกระทรวงศึกษาธิการ กําหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสาํ หรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 กําหนดใหสถานศึกษาตองดําเนินการตามหลกั เกณฑและวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยกําหนดใหตองมีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตราการศึกษาของสถานศึกษา รวมถึงตองจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําป และเสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในตอคณะกรรมการสถานศึกษา หนวยงานตนสังกัด ภาคีเครือขาย และเผยแพรตอสาธารณชน รวมถึงเพ่ือนําผล การประเมินตนเองของสถานศึกษามาเปนสวนหนึ่งของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการมสี วนรวมของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและภาคีเครือขา ย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว เห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา จึงไดยึดแนวทางการดําเนินงานของสํานักงานการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปรับใชใหสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา และไดจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ประจําป 2560 ที่สะทอนผลงานที่ดําเนินการเปนไปตาม ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจกลยุทธ วัตถุประสงค แผนพัฒนาสถานศึกษา และแผนปฏิบัติงานประจําปที่สอดคลองกับมาตรฐานตัวบงช้ีการดําเนินงาน โครงการ เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนระยะตอไป และเผยแพรตอสาธารณชนเพื่อนําไปสูการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน ขอขอบคุณคณะครู บุคลากร เจาหนาท่ีทุกทานที่ใหความรวมมือในการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือใหการดําเนินการจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงคการจดั การศกึ ษาท่สี ถานศึกษาตงั้ ไว นางพัชรา สายนาค ผูอาํ นวยการ กศน.เขตลาดพรา ว 1 ตลุ าคม 2560 สารบัญ หนาคํานํา ก กสารบญั ก คบทสรุปสาํ หรับผูบรหิ าร ค สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศึกษา จ สรุปผลการประเมินตนเองตามรายดา นของกฎกระทรวงฯ ทงั้ 4 ดาน จดุ เดน 1 จุดทคี่ วรพัฒนา 1 ขอ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาสถานศกึ ษา 12 ทศิ ทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต 12 13บทที่ 1 ขอมลู ท่ัวไปของสถานศกึ ษา 13 สภาพทัว่ ไปของสถานศกึ ษา 16 ประวัติความเปนมาของสถานศึกษา 19 ทําเนียบผบู ริหาร 22 งบประมาณ จาํ นวนผูเ รยี น ผูร บั บรกิ าร และจาํ นวนผสู อน 29 จํานวนบคุ ลากรของสถานศกึ ษา 29 แหลง เรียนรแู ละภาคเี ครอื ขา ย 30 เกียรตยิ ศ ช่ือเสียง ผลงาน/และโครงการ/กจิ กรรม ดเี ดนของสถานศกึ ษา 31 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอกโดยภาพรวมของสถานศึกษา 39 39บทที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 40 ทศิ ทางการดําเนนิ งานของสถานศึกษา ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน พันธกิจ อัตลกั ษณ เอกลักษณ เปาประสงค และตวั ชีว้ ัดความสาํ เรจ็ กลยุทธ แผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา เปาหมายความสาํ เร็จตามรายมาตรฐาน ผลการดาํ เนนิ งานของสถานศกึ ษา สรุปผลการปรบั ปรงุ และพัฒนาในรอบปท ผี่ า นมา สารบญั (ตอ ) หนาบทท่ี 3 ผลการประเมินตนเอง 45 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเรยี น/ผูร ับบริการ 46 ขอมลู ความตระหนัก 47 ขอ มลู ความพยายาม 48 หลกั ฐานประกอบการดําเนินงาน สรุปผลการประเมนิ ตนเองในมาตรฐานท่ี 1 50 มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ รกิ าร 50 ขอ มลู ความตระหนัก 51 ขอมลู ความพยายาม 52 หลักฐานประกอบการดําเนินงาน สรุปผลการประเมนิ ตนเองในมาตรฐานที่ 2 53 มาตรฐานที่ 3 การบรหิ ารการศึกษา 54 ขอมลู ความตระหนัก 54 ขอ มูลความพยายาม 55 หลักฐานประกอบการดําเนินงาน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 3 56 มาตรฐานที่ 4 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 56 ขอมลู ความตระหนัก 57 ขอ มูลความพยายาม 57 หลกั ฐานประกอบการดําเนินงาน สรุปผลการประเมนิ ตนเองในมาตรฐานท่ี 4 58 มาตรฐานท่ี 5 อัตลกั ษณข องสถานศกึ ษา 58 ขอมลู ความตระหนัก 59 ขอ มลู ความพยายาม 59 หลกั ฐานประกอบการดาํ เนินงาน สรปุ ผลการประเมินตนเองในมาตรฐานท่ี 5 60 มาตรฐานท่ี 6 มาตรการสงเสริม 60 ขอมูลความตระหนัก 61 ขอมลู ความพยายาม 62 หลักฐานประกอบการดาํ เนนิ งาน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานท่ี 6 สารบัญ(ตอ ) หนาบทท่ี 4 การสรปุ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 64 สรุปผลการประเมินตนเอง ในภาพรวมของสถานศึกษา 68 การสรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง เพ่ือพฒั นาตามกฎกระทรวงวา ดว ยระบบ หลกั เกณฑฯ 74 แนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษาในอนาคต 76 ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต 77 ขอเสนอแนะตอสถานศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพ******************************************** บทสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ตั้งอยูท่ี 632 ถนนโชคชัย4(ตรงขามถนนโชคชัย 4 ซอย 53 ) แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ เปดการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษานอกและการศึกษาตามอธั ยาศัย มีบคุ ลากร จํานวน 17 คน มีนกั ศึกษา จํานวน 1,124 คนจัดใหมีการประเมินภายในระบบสถานศึกษา เมื่อวันที่ 19 เดือน กันยายน พ.ศ. 2560 ถึงวันท่ี 20 กันยายนพ.ศ.2560 โดยผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามรายมาตรฐาน และตัวบงชี้ ของสํานักงาน กศน.สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ไดดังนี้ สรปุ ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศกึ ษา โดยภาพรวมในแตล ะมาตรฐานและตัวบงชี้ ของสถานศกึ ษา มีดงั นี้ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ตามมาตรฐานของสถานศึกษามีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ 92.14 อยูในระดับคุณภาพดีมาก เม่ือพิจารณาผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเรียน/ผูรับบริการ พบวามีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ 31.15 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การใหบริการ พบวา มีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ 23.95 มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศึกษา พบวา มีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ9.87 มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา พบวา มีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ 9.85มาตรฐานที่ 5 อัตลักษณของสถานศึกษา พบวามีคาคะแนนผลการประเมินเทากับ 9.07 และมาตรฐานท่ี 6มาตรฐานการสงเสริม พบวา มีคาคะแนนผลการประเมินเทา กบั 9.28 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2560 ทัง้ 4 ดา น ผลการประเมินตน เองของสถานศึกษ า ตามกฎ กระทรวงฯพ .ศ. 2560 ท้ั ง 4 ดานของศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว พบวา มาตรฐานดานท่ี 1 มีคาคะแนน44.59 อยูในระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานดานท่ี 2 มีคาคะแนน 17.44 อยูในระดับคุณภาพ ดีมาก มาตรฐานดานที่ 3 มีคาคะแนน 21.44 อยูในระดับคุณภาพ ดีมาก มาตรฐานดานที่ 4 มีคาคะแนน 8.85 อยูในระดับคณุ ภาพ ดี อยใู นระดับคณุ ภาพ ดงั รายละเอียดตามตารางที่ 1 และตารางท่ี 2 จดุ เดน 1. ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสะทอนเอกลักษณของสถานศึกษาโดยสอดแทรกกิจกรรมโครงการที่สง เสริมใหผ เู รียนมีคณุ ลกั ษณะ ตามอตั ลกั ษณของสถานศึกษา คอื “ใฝเ รยี นรู” 2. ผลการสงเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสูความย่ังยืนเพ่อื ใหส อดคลองกับนโยบายทางการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 3. การประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาโดยตน สงั กดั คณุ ภาพอยใู นระดบั ดีมาก 4. จากการจัดการศึกษาตอเนื่อง สงเสริมใหผูเรียนมีงานทําหรือมีรายไดเสริม มีทักษะในการทํางาน สามารถทาํ งานรว มกบั ผูอ ื่นไดแ ละมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ อาชีพสจุ ริตรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ป 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา ก 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู สภาพแวดลอม สงผลใหผูเรียนคิดเปน ทําเปน สามารถคิดแกปญ หาไดสําเร็จ ตามเปาหมาย ของการจัดทําและพัฒ นาหลักสูตร คุณ ภาพของหลักสูตรเพ่อื ใหสอดคลอ งกบั สภาพแวดลอ มและความตองการของผเู รียน/ผรู บั บรกิ าร 6. ครูมีความตระหนักในการพัฒนาตนเอง เพ่ือนําความรูมาจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญและมกี ระบวนการวดั ผลทีห่ ลากหลาย โดยทาํ ใบงานใบความรู เพอ่ื สื่อประกอบการเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย 7. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว มีการจัดและสงเสริมใหภูมิปญญา หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน แหลงการเรียนรูตางๆรวมกันจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับผูเรียน ผูรับบริการ เชน มีหองสมุด ที่ใหบริการหนังสือท่ีหลากหลาย กศน. ตําบล และศูนยการเรียนรูในชุมชนมีศูนยการเรียนรู ใหความรูท่ีหลากหลาย มีศูนยเรียนรูอิเล็กทรอนิกส (ICT) ใหมีความรูและบริการแกผ ูเรยี นและประชาชน 8. มีครูผูสอน/วิทยากร การศึกษาตอเนื่อง ท่ีมีความรูและเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูการศึกษาตอเนื่อง ครอบคลุมทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ สมรรถนะที่สําคัญ ชี้แนะและบริการจัดการใหผูเรียนรู/ผูรับบริการ ไดเรียนรูเต็มความสามารถ ใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตร ตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด 9. มีสื่อที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียนและผูรับบริการที่หลากหลาย มีเอกสารส่ิงพิมพส่ืออิเล็กทรอนิกส ส่ือบุคคล ภูมิปญญา แหลงการเรียนรู ท่ีสถานศึกษาพัฒนาขึ้นเพ่ือสนองตอความตองการในการเรียนรูของผูเรียน ผูรับบริการ ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผานความเห็นชอบคณะกรรมการการพัฒนาจัดหาสื่อ และมีระบบการใหบริการสื่อทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ท่ีผูเรียนผรู ับบริการสามารถเขาถงึ ได 10. ผูเรียนและครูรวมกันจัดทําแผนการเรียนรูตอเนื่อง เพ่ือสรางคุณลักษณะใหผูเรียนมีนิสัยใฝรู และเรียนรูอยางตอ เน่ือง ดวยการแสวงหาขาวสาร ขอ มลู ความรู โดยการดู การอานการฟง และการเขียนเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพของตนเอง ไปสูเ ปา หมายท่ตี ้ังไว อยา งสมํา่ เสมอ และตอเนอ่ื ง 11. การจัดกิจกรรมการเรียนรู สภาพแวดลอม สงผลใหผูเรียนคิดเปน ทําเปน สามารถแกปญหาไดสําเร็จ ตามเปาหมาย ใชกระบวนการคิด ซ่ึงมีขอมูลเก่ียวกับตนเอง สังคม และวิชาการ และตามหลักจริยธรรมที่งาม ทไี่ มทําใหผอู น่ื เดอื ดรอน โดยการจัดการเรียนรแู บบโครงงาน 12. สถานศึกษาจัดกิจกรรม โครงการเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคใหกับผูเรียนท่ีหลากหลาย สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมผูเรียนอยางตอเนื่อง สรุปผลการประเมิน รายงานผลการประเมนิ และผูเ รียนรอยละ 95 ผานการประเมินคณุ ธรรม 13. จากการจัดการศึกษาตอเน่ือง สงเสริมใหผูเรียนมีงานทําหรือมีรายไดเสริม มีทักษะในการทํางาน สามารถทาํ งานรว มกบั ผอู ื่นได และมีเจตคตทิ ด่ี แี ละสจุ รติ 14. กศน.เขตลาดพราว พัฒนาหองสมุดชุมชน ศูนยการเรียนชุมชน แหลงเรียนรู จัดโครงการกิจกรรม เพ่ือสอดคลองกับความตองการของประชาชน จนสงผลใหผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการใหบ รกิ ารในระดับ ดีมากรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ป 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา ข 15. มีการจัดกิจกรรม โครงการเพ่ือสงเสริมสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดีใหแกผูเรียนอยางเหมาะสมและตอ เนื่อง จุดท่ีควรพฒั นา 1. ดานระบบฐานขอมูลสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจดั การ 2. การสรางสังคมแหงการเรียนรู 3. คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผูสอนทเ่ี นนผูเรยี นเปนสาํ คัญ 4. การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 5. ผลการพฒั นาใหบรรลุเปาหมายตามปรัชญา พันธกจิ และวตั ถปุ ระสงคก ารจดั ตั้งสถานศกึ ษา 6. ดา นผลที่เกดิ จากการสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชนขอ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาสถานศึกษา 1. ดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานควรจัดกระบวนการเรียนรโู ดยเนนผเู รียนเปนสําคัญ และจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนใหครอบคลุมเน้ือหาแตละระดับการศึกษาที่ มีการพฒั นาเทคนิคการจดั กระบวนการเรียนรูของครูใหสามารถจัดกระบวนการเรยี นรูใหกับผูเรียนครอบคลุมเน้ือหา สาระวิชาเรียนมากขึ้น จัดกิจกรรมสอนเสริมในรายวิชาพ้ืนฐานเพ่ือเพิ่มทักษะในการเรยี นรู รายวชิ าในสาระพ้ืนฐานใหมากขน้ึ จัดทําใบงาน/ใบความรูใหผ ูเรียนไดนํากลับไปฝกทําใหมากขึ้นจัดเก็บขอมูลสถิติและดําเนินการเปรียบเทียบคารอยละเฉล่ียของผูเรียนท่ีมีผลการทดสอบระดับชาติในทกุ กลมุ สาระการเรียนรู เพ่อื เปน ขอมูลศึกษาปจ จัยท่สี ง ผลใหผ ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ รยี นสงู ขึ้น 2. ดานผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โดยกําหนดเปนนโยบายในการพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีความสุข จัดทําโครงการหรือกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายดังกลาว มีการดําเนินงานโครงการกิจกรรมเปนระยะ ๆ และสรุป/ประเมินโครงการตามวัตถุประสงค ประเมินความพึงพอใจของผูเรียนในการเขารวม โครงการ/กิจกรรม จัดกิจกรรม/โครงการท่ีหลากหลายข้ึน เชน กิจกรรมเสริมสรางความรูและความตระหนักใหผูเรียนเห็นความสําคัญ/ประโยชนของการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวโดยสอดแทรกความรูในชั่วโมงพบกลุมอยางเปนประจํา จัดกิจกรรมดานกีฬา ฝกสมาธิ เชิญวิทยากรจากหนวยงานสังกัดสํานักงานสาธารณสุขหรือโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลใหความรูเก่ียวกับสุขภาพพลานามัย และหรือมีการตรวจสุขภาพใหกับผูเรียน/ผูรับบริการ การใหความรูความสําคัญ สิทธิประโยชนของการมีบัตรประกันสุขภาพถวนหนา บัตรประกันสังคมรวมถึงสิทธิประโยชนดานสวัสดิการการรกั ษาพยาบาลตามทีภ่ าครฐั จดั ให 3. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามีการประกาศใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหชัดเจนและจัดทําเปนลายลักษณอักษร มีการกําหนดผูร ับผิดชอบภารกิจและกรอบการทาํ งานที่ชัดเจน มีการทบทวนแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจําป จัดทําระบบสารสนเทศท่ีถูกตอง ครอบคลุม ทันสมัย และพรอมใช กําหนดนําสารสนเทศไปใชในการวางแผนการจัดการศึกษาท่ีครอบคลุมภารกิจดานการบริหาร วิชาการ การบริหารงบประมาณรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําป 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา ค การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป รวมท้ังงานสนับสนุนอ่ืน ๆ โดยเกิดจากความรวมมือของบุคลากรทกุ ฝา ยทเี่ กี่ยวของ มีการใหบรกิ ารขอ มลู สารสนเทศทเี่ ปน ระบบแกผตู องการใชท กุ ฝาย 4. ดานผลการพัฒนาใหบรรลุเปาหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงคการจัดต้ังสถานศึกษา ควรมีการทบทวนปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงคการจัดตั้งสถานศึกษา วิเคราะหความสอดคลองระหวางปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของสถานศึกษา ท่ีสอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นโยบาย ของสํานักงาน กศน. จัดทํารายงานการวิเคราะหความสอดคลองระหวางวัตถุประสงคกลยุทธก ารดําเนนิ งานกบั ปรชั ญา วิสยั ทัศน พันธกจิ และเปา หมายของสถานศกึ ษา อยา งตอ เน่อื ง 5. ผลท่ีเกิดจากการสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชนควรมีการวางแผน แตงต้ังคณะทํางานและผูรับผิดชอบโดยตรง จัดทําแผนปฏิบัติการ รายงานผลการดาํ เนินงาน ออกแบบกจิ กรรม วิธเี กบ็ รวบรวมขอ มลู ทเ่ี หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา 6. ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ควรมีการกําหนดเปนนโยบายในการพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีความสุข จัดทําโครงการหรือกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายดังกลาว มีการดําเนินงานโครงการกิจกรรมเปนระยะๆและสรุป/ประเมินโครงการตามวัตถุประสงค ประเมินความพึงพอใจของผูเรียนในการเขารวม โครงการ/กิจกรรม จัดกิจกรรม/โครงการที่หลากหลายข้ึน เชนกิจกรรมเสริมสรางความรูและความตระหนักใหผูเรียนเห็นความสําคัญ/ประโยชนของการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวโดยสอดแทรกความรูในช่ัวโมงพบกลุมอยางเปนประจํา จัดกิจกรรมดานกีฬา ฝกสมาธิ เชิญวิทยากรจากหนวยงานสังกัดสํานักงานสาธารณสุขหรือโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลใหความรูเก่ียวกับสุขภาพพลานามัย และหรือมีการตรวจสุขภาพใหกับผูเรียน/ผูรับบริการ การใหความรูความสําคัญ สิทธิประโยชนของการมีบัตรประกันสุขภาพถวนหนา บัตรประกันสังคมรวมถึงสิทธิประโยชนดานสวัสดิการการรกั ษาพยาบาลตามทภี่ าครฐั จัดให 7. ดานการสรางสังคมแหงการเรียนรู จัดทําแผนงานหรือโครงการจัดกระบวนการเรียนรู เพ่ือสรางสังคมแหงการเรียนรูสํารวจขอมูลชุมชน จัดเวทีประชาคมเพ่ือวิเคราะหขอมูล สภาพปญหาและความตองการของ ชุมชน มีกิจกรรมสงเสริมสนับสนุน กระตุนใหชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยวิธีการท่ีหลากหลายเชน เวทปี ระชาคม การจัดประชุม การทัวรช ุมชน เปนตน 8. ดานคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผูสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ อบรมพัฒนาครูและผูสอนใหมีทักษะและเทคนิคการถายทอดความรู การจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย สอดคลองตามจุดมุงหมายของหลักสูตร เชน การออกแบบใบงานกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเนนการวัดและประเมินผลที่หลากหลายมีการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล และใชขอมูลยอนกลับเพือ่ วางแผนใหสอดคลองกบั ความตองการของผูเรยี นเปน รายบคุ คล เปน กลมุ และเปน ช้นั 9. ดานคุณภาพสื่อที่เอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนและผูรับบริการ สํารวจความตองการการใชสื่อและแหลงการเรียนรู มีการจดั ระบบบรกิ ารส่ือ มีการจัดทําฐานขอมูล ระบบสบื คน เว็บไซต เพือ่ สง เสรมิ แนะนํารายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําป 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา ง ขอมูลสารสนเทศในการใชส่ือและแหลงเรียนรู ประเมินความพึงพอใจในการใชส่ือและแหลงเรียนรู นําผลการประเมนิ มาปรับปรงุ และพฒั นาระบบการใหบริการส่ือและแหลงเรียนรู 10. ดานคุณภาพครู สถานศึกษาควรอบรมพัฒนาครูและผูสอนใหมีทักษะและเทคนิคการถายทอดความรู การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางตอเน่ือง สนับสนุนใหครูและผูสอนมีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย สอดคลองตามจุดมุงหมายของหลักสูตร เชน การออกแบบใบงานกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเนนการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย สนับสนุน สงเสริมใหครูและผูสอนทุกคนเขารับอบรม พัฒนาตนดานคุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของครู ครูและผูสอนรวมติดตามผลการเรียนรู ของผูเรียนเปนรายบุคคล ใชขอมูลยอนกลับเพื่อวางแผนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนเปนรายบคุ คล เปนกลมุ และเปน ช้นั 11. ระบบฐานขอมูลเพ่ือการบริหารจัดการ ควรจดั ทําแผนพฒั นาระบบฐานขอมูลใหเปนปจจุบันและครบถวน ถูกตอง โดยมีรายงานการติดตามและประเมินผลการใชระบบฐานขอมูล สภาพปญหา อุปสรรคแนวทางการแกไ ข และการพฒั นาท่ีเปน ปจ จุบันทศิ ทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต ตามท่ี ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ไดนําขอมูลจากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่อยูในระดับดี และดีมาก บวกกับผลการวิเคราะห SWOTที่เปน โอกาสนํามาวิเคราะหรว มกันเพ่ือกําหนดเปน ทิศทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต ดังนี้ 1. ดานการจัดการศกึ ษา 1.1 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒ นาใหผูเรียน เปนผูมีความใฝเรียนรู จนเปนคณุ ลักษณะเฉพาะของผเู รียน ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพรา ว 1.2 สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชน ใหสามารถใหบริการแกคนในชุมชนไดอยา งเปน ระบบและยง่ั ยนื 1.3 สงเสรมิ ใหม ีการนําเทคโนโลยแี ละส่ือตา ง ๆ มาใชใ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ หม ากข้ึน 1.4 สงเสริมการเรียน อาชีพหลักสูตรระยะส้ัน ที่สามารถพัฒนาใหผูเรียนสามารถนําความรูไปพัฒนาตนเองเพอ่ื สรางอาชีพ เพ่ิมรายได ลดรายจา ยตนเองและครอบครัว มีเจตคติท่ดี ีตอการประกอบอาชีพสุจริต 2. ดานการบริหารจัดการ 2.1 สงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสคู วามยงั่ ยนื เพื่อใหสอดคลอ งกบั นโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 2.2 การบริหารจัดการและสรางเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากร ดวยระบบ PDCAเพอื่ งานบรรลุเปาหมายและวัตถปุ ระสงคทว่ี างไว 2.3 สงเสริมการบริหารงานแบบมีส วนรวม นําภูมิปญ ญ าทองถ่ิน มาสนับสนุนในการจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยัรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําป 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา จ 3. ดา นการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รียนเปนสาํ คญั 3.1 สงเสริมการสรางและพัฒนาหลักสูตร ใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของผูเรียน/ผูร ับบริการสามารถ พฒั นาผูเ รียน/ผรู บั บริการ ไดเ ต็มศักยภาพท่มี ี 3.2 สงเสริมใหครูเปนครูมืออาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถจัดกระบวนการเรียนรูโดยเนน ผเู รียนเปน สาํ คญั 3.3 สงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สนับสนุนใหผูเรียนสามารถสรางองคความรูจากการเรยี นรดู วยตนเอง ผานแผนงาน โครงการ กิจกรรมทีส่ ถานศกึ ษา ครู ผเู รยี นจดั ขน้ึ มา 3.4 สงเสริมการ แสวงหา สรางและพัฒนาสื่อใหทันสมัย กระตุนและเอ้ือการเรียนรูของผูเรียน 4. ดา นการประกนั คุณภาพภายใน สงเสริมการบริหารงาน ปฏิบัติงานอยางเปนระบบ เพ่ือสงผลใหการจัดการศึกษาตรงตามมาตรฐานการศึกษาที่กําหนด รักษาระดับคุณภาพการศึกษาใหคงอยู และสามารถพัฒนาไปสรู ะดบั คุณภาพท่ีดขี ้นึตารางท่ี 1 สรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแตละมาตรฐานและตัวบง ชี้ ของสถานศกึ ษา มดี ังนี้มาตรฐาน นาํ้ หนกั ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) ของสถานศกึ ษามาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ รียน/ผูรับบรกิ าร 35 คะแนน ระดบัตวั บงชีท้ ี่ 1.1 ผูเ รียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี 3 ที่ได คณุ ภาพตวั บงชีท้ ี่ 1.2 ผูเรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะ 3 31.26 ดีท่พี งึ ประสงค 2.90 ดีมากตัวบงชีท้ ่ี 1.3 ผูเ รยี นมีความใฝรู และเรียนรูอยา งตอเนื่อง 3 2.88 ดีมากตัวบง ชี้ท่ี 1.4 ผูเ รียน คดิ เปน ทาํ เปน 3ตัวบง ช้ีท่ี 1.5 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผเู รียนการศกึ ษานอกระบบ 10 2.87 ดีมากระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 2.91 ดีมากตัวบง ช้ที ี่ 1.6 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู รียนการศึกษาตอเน่อื ง 5 6.95 พอใชตวั บง ชีท้ ่ี 1.7 ผเู รยี นมงี านทาํ หรือมรี ายไดเ สริม มีทกั ษะในการทาํ งาน 5สามารถทาํ งานรว มกับผอู ืน่ ได และมีเจตคติที่ดตี ออาชีพสุจรติ 4.92 ดีมากตัวบงชี้ที่ 1.8 ความพงึ พอใจตอการใหบ ริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3 4.93 ดมี าก 25 มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การใหบริการ 4 2.90 ดีมากตัวบง ช้ีที่ 2.1 คณุ ภาพของหลักสตู ร 4 24.50 ดีมากตัวบง ช้ที ี่ 2.2 คุณภาพของครู 4.00 ดมี าก 4.00 ดีมากรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ป 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา ฉ มาตรฐาน นํ้าหนกั ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) ของสถานศกึ ษาตวั บง ชที้ ่ี 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผูสอน 4 คะแนน ระดับที่เนนผเู รยี นเปนสาํ คัญ ที่ได คุณภาพตัวบงชี้ท่ี 2.4 คณุ ภาพผสู อน/วทิ ยากร การศึกษาตอเน่ือง 3 3.50 ดมี ากตวั บงชี้ที่ 2.5 คุณภาพส่อื ทีเ่ อือ้ ตอ การเรียนรขู องผูเรยี นและผูรบั บรกิ าร 3ตัวบง ชี้ท่ี 2.6 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 4 3.00 ดมี ากตวั บงช้ที ี่ 2.7 การสรา งสังคมแหงการเรียนรู 3 3.00 ดมี าก 10 4.00 ดมี ากมาตรฐานที่ 3 การบริหารการศึกษา 2 3.00 ดมี ากตวั บงชท้ี ่ี 3.1 คุณภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา 2 9.85 ดีมากตวั บงชีท้ ่ี 3.2 ระบบฐานขอ มูลเพื่อการบรหิ ารจดั การ 2 2.00 ดมี ากตัวบงชท้ี ี่ 3.3 ผลการบรหิ ารความเสย่ี ง 2 1.85 ดีตัวบง ชท้ี ี่ 3.4 ผลการปฏิบตั ิหนาที่ของผูบริหารสถานศึกษา 10 2 ดมี ากตวั บงช้ีท่ี 3.5 ผลการปฏิบัตติ ามบทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 5 2 ดมี าก 5 8.94 ดมี ากมาตรฐานที่ 4 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 10 4.20 ดีตัวบงชท้ี ี่ 4.1 การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 5 4.74 ดีมากตัวบงชี้ท่ี 4.2 การประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน สงั กัด 2 9.20 ดีมาก 4.20 ดีมาตรฐานที่ 5 อตั ลักษณของสถานศกึ ษา 5 2 ดีมากตัวบงชีท้ ี่ 5.1 ผลการพฒั นาใหบ รรลเุ ปาหมายตามปรชั ญา พนั ธกิจและวตั ถุประสงคก ารจัดตั้งสถานศกึ ษา 10 5.00 ดมี ากตวั บงชีท้ ่ี 5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สะทอ น 5เอกลกั ษณ ของสถานศึกษา 9.25 ดมี าก 5 5 ดมี ากมาตรฐานที่ 6 มาตรการสงเสริมตัวบงชี้ท่ี 6.1 ผลการสงเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน 100 4.25 ดีรกั ษามาตรฐานและพฒั นาสคู วามยัง่ ยนื เพอื่ ใหสอดคลอ งกับนโยบายทางศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 93.00 ดมี ากตวั บง ชท้ี ี่ 6.2.ผลที่เกดิ จากการสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในชมุ ชน รวม ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว มีคาคะแนนผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาโดยภาพรวม เทา กับ 93.00 อยูในระดบั คณุ ภาพ ดีมากรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ป 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา ช ตารางท่ี 2 สรุปผลคณุ ภาพของสถานศึกษาโดยภาพรวมกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2560 ทง้ั 4 ดานดงั น้ี ผลการประเมินตนเองมาตรฐานกฎกระทรวง ตัวบง ชี้ นํ้าหนกั (คะแนน) คะแนน ระดับ เฉล่ีย คณุ ภาพผลการจดั การศึกษา ตัวบงชบ้ี ง ชี้ท่ี 1.1-1.8, 52 50.21 ดี มาตรฐานท่ี 5 ตวั บงช้ีที่ 5.1-5.2 และ มาตรฐานที่ 6 ตัวบงช้ีที่ 6.2การบรหิ ารจัดการศกึ ษา 2 ตัวบงชที้ ่ี 2.7, มาตรฐานที่ 3 18 17.85 ดมี าก ตัวบง ชี้ท่ี 3.1-3.5 และ มาตรฐานที่ 6 ตวั บงชท้ี ่ี 6.1การจัดการเรียนการสอนที่ ตัวช้วี ดั ที่ 2.1-2.6 22 21.50 ดมี ากเนน ผูเรียนเปน สาํ คญัการประกันคุณภาพภายใน ตัวช้วี ัดท่ี 4.1-4.2 10 8.94 ดีรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําป 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา ซ บทที่ 1 ขอ มูลทั่วไปของสถานศึกษาสภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา ชื่อสถานศกึ ษา : ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตลาดพรา ว ท่อี ยู : เลขที่ 632 ถนนโชคชยั 4 (ตรงขา มถนนโชคชยั 4 ซอย 53) ถนนลาดพรา ว แขวงลาดพราว เขตลาดพรา ว กรุงเทพมหานคร 10230 เบอรโ ทรศัพท : 0 2538 8639 เบอรโทรสาร : 0 2538 5854 E-mail ติดตอ : [email protected]สงั กดั สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ ารประวตั ิความเปนมาของสถานศึกษา ประวตั ิสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ไดรับแตงต้ังเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2540 ในนามศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนเขตลาดพราว ระยะแรกต้ังสํานักงานชั่วคราวอยูท่ีศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร 3 ตอมาในปเดียวกัน จึงไดยายที่ทําการจากศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร 3 มาอยูที่สํานักงานเขตลาดพราว ช้ัน 3 ป พ.ศ. 2551ไดประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และเปล่ียนช่ือสถานศึกษาจาก ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนเขตลาดพราว เปนศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปงบประมาณ 2552 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ไดจัดสรรงบประมาณเปนคาเชา สํานกั งานให ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว จึงไดยายท่ีทําการมาอยูท่ี เลขที่ 632 ถนนโชคชัย 4(ตรงขา มถนนโชคชัย 4 ซอย 53) แขวงลาดพรา ว เขตลาดพรา ว กรุงเทพมหานครรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 1 แผนทต่ี งั้ สถานศกึ ษา ที่ต้งั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เขตลาดพราว ตง้ั อยเู ลขท่ี 632 ถนนโชคชยั 4 (ตรงขา มถนนโชคชยั 4 ซอย 53) ถนนลาดพรา ว แขวงลาดพรา ว เขตลาดพรา ว กรุงเทพมหานคร 10230ซอยโชคชยั 4 ตรงขา มแยก 53คําขวัญของเขตลาดพรา ว กศน.เขตลาดพราว หนา 2 “แหลง นวิ าสสถาน รานอาหารเลือ่ งชื่อ งามระบือเจดยี ใหญ วัดอารามงามวิไล ปวงประชารวมใจพฒั นา ”รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 สภาพทัว่ ไป เขตลาดพราว ต้ังอยูทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร เขตลาดพราวมีการแยกพ้ืนที่การปกครองออกจากเขตบางกะป เม่ือวันท่ี 4 กันยายน 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย การเปล่ียนแปลงพ้ืนที่เขตบางกะป และต้ังเขตลาดพราว และเขตบึงกุม ลงวันที่4 กันยายน 2532 มีเนอ้ื ที่30.476 ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน 2 แขวง คือ แขวงลาดพรา วและแขวงจรเขบัว ตอมากรุงเทพมหานคร มีนโยบายปรับเปลี่ยนพื้นท่ี และตั้งเขตใหม ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี21 พฤศจิกายน 2540 เขตลาดพราว จึงเหลือเนื้อที่ 21.062 ตารางกิโลเมตรจาก การปรบั เปลี่ยนพื้นที่ตามคําส่ังดังกลา ว ทําใหประชาชนท่ีอาศัยอยูบริเวณซอย แยกซอยสงั คมสงเคราะหเขตวังทองหลาง พ้ืนที่ 0.3 ตารางกิโลเมตร ไมไ ดรับความสะดวกในการเดินทางไปติดตอ ราชการกบั สํานักงานเขตวังทองหลาง ดังนั้นเพื่อความเหมาะสมและอํานวยความสะดวกใหกับประชาชน จึงไดเปล่ียนแปลงพ้ืนท่ีเขตลาดพราว และเขตวังทองหลาง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2545 โดยใหมีผลตามประกาศวันท่ี 11 มนี าคม 2545 ปจ จบุ ัน มีเนื้อทท่ี ้ังหมดรวม 21.362 ตารางกโิ ลเมตรการแบง การปกครอง เขตลาดพราว ตั้งอยทู างทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันท่ี 24 มกราคม 2553 โดยมีผลประกาศวันที่ 11 มีนาคม 2545 ปจจุบันมีเนื้อที่ท้งั หมดรวม 21.362 ตารางกิโลเมตร ดงั น้ีทิศเหนือ ตดิ ตอกับเขตบางเขน โดยใชฝ ง ทิศเหนือของคลองหลุมไผ คลองสามขา คลองโคกคราม และคลองตาเรง เปน แบงเขตทศิ ตะวนั ออก ติดตอ กับเขตบงึ กุม เขตบางกะป เขตวงั ทองหลาง โดยใชถนนประดิษฐม นธู รรม เปน เสน กําหนดแบงเขต เริ่มต้ังแตถนนประดิษฐมนูธรรม ตัดกับ คลองตาเรงฝงตะวันออก โดยมี ผิวการจราจรของถนนประดิษฐมนูธรรม ขาเขาจรดขอบฟุตบาทฝงตะวันออก อยูในพื้นที่ รับผดิ ชอบของสาํ นกั งานเขตลาดพรา ว เรอ่ื ยไปจนถึงแนวซอยสังคมสงเคราะหทศิ ใต ติดตอกับเขตวังทองหลาง เขตหวยขวาง โดยใชซอยสังคมสงเคราะห เปนเสนกําหนด แบง เขตตัง้ แตร มิ ฟตุ บาทฝง ตะวันออกของถนนประดิษฐมนูธรรม ขา มถนนประดิษฐม นูธรรม เขาซอยสังคมสงเคราะห ฝงดาน เหนือของซอย (ผิวทางจราจรอยูในความรับผิดชอบ สํานักงานเขตวังทองหลาง ) เรื่อยไปจนจรดซอยโชคชัย 4 ฝงตะวันออก ไปทางทิศเหนือ ตามแนวขอบทางซอยโชคชัย 4 ฝงตะวันออกบรรจบกับคลองทรงกระเทียมฝงเหนือไปทาง ทิศตะวนั ตก ตามแนวคลองทรงกระเทยี ม ฝงเหนือบรรจบกับคลองลาดพราวฝงตะวนั ออกทศิ ตะวันตก ติดกับเขตจตุจักร โดยใชชายคลองลาดพราว ฝงตะวันออก เปนเสนกําหนดแบง เริ่มต้ังแต ปากคลองทรงกระเทียมฝงเหนือ (ใกลสะพานคลองลาดพราว ภายในวัดลาดพราว) เลียบชายคลองลาดพราวฝง ตะวนั ออกขึ้นไปทางทิศเหนอื จรดปากคลองหลมุ ไผฝงเหนือรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 3 สภาพชุมชน เขตลาดพรา วแบงเปน 2 แขวง คือ 1. แขวงลาดพราว ประกอบดว ย 25 ชุมชน เนื้อทปี่ ระมาณ 16.771 ตารางกิโลเมตร 2. แขวงจรเขบัว ประกอบดว ย 9 ชมุ ชน เนอื้ ทีป่ ระมาณ 4.591 ตารางกิโลเมตร ขอ มลู ประชากรเขต และแยกตามแขวง ดังน้ี จํานวนราษฎร รวม จํานวนบา น ชาย หญิง (หลัง ) แขวง 43,554 51,404 94,958 39,591 ลาดพรา ว 12,272 14,950 27,222 10,222 จรเขบ ัว 55,826 66,354 122,180 49,813 รวม จํานวนชมุ ชน 34 ชุมชน ที่ ช่ือชุมชน ประเภท บาน ชื่อประธานชุมชน กรรมการ ชมุ ชน (หลัง )แขวงลาดพรา ว 7 1 หมบู านพัฒนาหมู 1,5 ชานเมอื ง 98 นายเชิด ศรีคงเกดิ 17 2 หมบู านสงั สทิ ธิ์ จัดสรร 355 นายบญุ ชว ย แทน จันทร 9 3 ซอยนกแกวนอ ย 1,2 แออัด 140 นายอนนั ต นกแกวนอย 7 4 สขุ ทรัพย แออัด 52 นางศิวนาถ แสงแกว 7 5 หมูบา นพูนศริ ิ จัดสรร 303 นางธนดิ า เตชะบลุ วัชร 7 6 หมูบานสมติ โชติ จดั สรร 127 นางสมศิริ ฤทธชิ ยั 7 7 สันตสิ ุข แออัด 49 นายมาโนช เทศรัตนพนั ธ 7 8 หมูบา นเรือนทอง 2 จัดสรร 78 นายประยูร สาํ ราญ 7 9 หมบู า นเรือนทอง 3 จัดสรร 126 นายเฉลมิ พรหม โพธ์ิฆะวิวัฒน 2510 หมูบานอมรพนั ธ 9 จัดสรร 1,029 นายกเู กียรติ ประภสั ระกุล 1111 หมบู า นรวมใจพฒั นา จดั สรร 241 นายสุนทร เศวตศลิ า 712 ซอยโรงนํ้าแข็ง แออัด 126 นายกมล กาํ ปน ทอง 1113 หมูบา นโอษธศิ 2 จัดสรร 210 นายนิพนธ ราชวัตร 1614 หมูบานเลิศอุบล 4 จัดสรร 350 นายวิเชยี ร ตนั ตระเสนยี  715 หมูบา นเอื้อประชา จดั สรร 120 นายสรรเสรญิ อินนุพฒั น 2516 หมูบา นเฟรนชิฟ จัดสรร 510 นายสมนึก แพใจ 1417 หมูบานรวมโชค จดั สรร 1,450 น.อ.นรศิ รมยานนทรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 4 ที่ ช่ือชุมชน ประเภท บา น ช่ือประธานชุมชน กรรม ชมุ ชน (หลัง ) การ18 อาคารสงเคราะห อาคารชุด 180 นายเฉลมิ เกียรติ คาํ วงศ 919 กองปราบปราม อาคารชุด 920 หมูบา นมหาลาภ จัดสรร 404 นางกนกพร คงพืช 721 พมุ โพธก์ิ ลาง จัดสรร 1122 หมบู า นเพิ่มพนู จัดสรร 187 นายอมร ฮั่นไพศาล 723 หมบู านธนะธานี จัดสรร 724 หมบู า นเจรญิ สขุ นเิ วศน 1 จดั สรร 111 นายฉลอง สวางใจ 725 หมูบานราณี 5 จดั สรร 15แขวงจรเขบัว 105 นางพรจติ ร แจง สวาง26 หมบู า นราณี 2 จดั สรร 1227 หมบู านเนยี มกลํา่ สามคั คี ชานเมอื ง 85 นาวาเอกสมภพ เนมจติ 1728 หมูบานเจรญิ สุข 4 จดั สรร 929 หมูบา นธนั ยกานต จดั สรร 56 นายตรัยเทพ เทวะผลิน 730 หมบู า นเพชรหทยั จัดสรร 731 หมบู านเสนานิเวศน 1 จดั สรร 367 พ.ต.อ.ชยั สิทธิ์ กาหลง 2532 ซอยลาดปลาเคา 24 ชานเมือง 733 หมูบา นเสนานเิ วศน 2 จดั สรร 333 นายบันเทิง อังกุลดี 2534 หมูบา นเรือนแกว จัดสรร 269 นายวัชรี กาญจนประทุม 7 160 นางทบั ทิม อธิคมไตรรัตน 201 นางสาววิกานดา สังวรราชทรัพย 54 นายสมเกียรติ องคว เิ ศษไพบูลย 1,740 พล.อ.ท.นยิ ม นาคะนคร 110 นางนภาพร ศรอี นิ ทร 1,112 นางสพุ รรณี สขุ สวสั ดิ์ 127 นายสมบัติ อสิ ระนกุ ลุ สภาพการใชพ น้ื ท่ี จํานวน 137 หมูบา น 1. หมบู านจดั สรร จาํ นวน 56 แหง 2. คอนโดมเิ นียม จาํ นวน 2,254 ไร 3. ชมุ ชน จํานวน 394 ไร 4. พน้ื ท่ีเกษตรกรรม จํานวน 2,625 ไร 5. พ้ืนที่วางรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 5  ศาสนสถานลําดบั ท่ี ชอื่ วดั เจาอาวาส พกิ ัด/ทีต่ ้งั โทรศพั ท1 วดั ลาดพราว พระครูวิศิษฐส ิทธิคณุ 13.803452, 100.589007 0-2513-2386 0-2530-44652 วัดลาดปลาเคา พระครูวิมลวหิ ารกจิ 13.846928, 100.604441 13.826850, 100.617013 0-2570-68533 วัดสาครสนุ ประชาสรรค พระครวู ริ ยิ กจิ โสภณ 0-2570-98624 วัดสิรกิ มลาวาส (วัดใหม) พระครูปราโมทยธ รรมธาดา 13.825328, 100.591190 0-2570-9276 0-2570-81935 ตาํ หนกั พระแมกวนอิม พระอาจารยใหญกวนเซง็ 13.809934, 100.594373 0-2570-8027 0-2539-9701 0-2538-8178ธนาคารมี 31 แหง  แขวงลาดพราว มี 26 แหงลําดับที่ ชอ่ื ธนาคาร สาขา พิกัดท่ีตงั้ โทรศพั ท1 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาลาดพราว71 13.796477,100.606462 0-2539-1704 0-2539-32422 ธนาคารไทยพาณชิ ย ถนนโชคชัย 4 13.809934,100.594373 0-2578-6218-9 0-2553-61023 ธนาคารไทยพาณชิ ย สาขาเทสโกโลตสั วงั หนิ 13.824233,100.591406 0-2539-5190 0-2530-29594 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาเซ็นทรัลเฟสตวิ ัลอสิ ตว ิลล 13.803901,100.614139 0-2570-5584-7 0-2515-09805 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาเทสโกโ ลตัสเลยี บทางดวน 13.801237,100.613982 0-2553-6188 0-2530-36166 ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา ถนนโชคชัย 4 13.818829,100.596500 0-2538-4041 0-2570-82017 ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา สแ่ี ยกวงั หนิ 13.827664,100.591709 0-2230-3616 0-2538-50878 ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา สาขาเดอะคริสตสั 13.829618,100.624754 0-2578-0107 0-2935-9791-39 ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา สาขาเซน็ ทรลั เฟสตวิ ัลอสิ ตว ลิ ล 13.803597,100.613622 0-2931-0895-710 ธนาคารกรุงไทย ถนนโชคชยั 4 13.806696,100.59694211 ธนาคารกรุงไทย สาขายอ ยลาดพรา ว 71 13.801846,100.61443212 ธนาคารกรงุ ไทย สาขาเทสโกโลตสั วังหิน 13.823941,100.59147113 ธนาคารกรุงเทพ ถนนโชคชยั 4 13.807237,100.59676114 ธนาคารกรงุ เทพ สาขาลาดพรา ว 71 13.805252,100.60756615 ธนาคารกรุงเทพ สาขาเดอะวอลค 13.828973,100.62833816 ธนาคารกรุงเทพ สาขาเทสโกโลตัสเลียบทางดวน 13.823992,100.59042217 ธนาคารนครหลวงไทย ถนนโชคชัย 4 13.807237,100.596761รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 6 ลาํ ดับท่ี ชอ่ื ธนาคาร สาขา พกิ ดั ท่ตี ง้ั โทรศพั ท18 ธนาคารกสกิ รไทย สาขาลาดพราว71 13.804076,100.606939 0-2530-3866-9 13.833983,100.591807 0-2940-4824-2319 ธนาคารกสกิ รไทย สแี่ ยกวังหนิ 13.823923,100.591273 0-2578-6341 13.823778,100.590104 0-2578-6194-620 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเทสโกโ ลตัส วังหนิ 13.801980,100.596328 0-2655-9585 13.818562,100.596232 0-2931-079821 ธนาคารธนชาติ สาขาเทศโกโลตสั วังหนิ 13.823925,100.591571 0-2942-6206 13.820196.100591451 0-2539-873322 ธนาคารธนชาติ สาขาโรงพยาบาลเปาโล 13.823724,100.591486 0-2578-603823 ธนาคารธนชาติ สาขาโชคชยั 424 ธนาคาร ซีเอม็ บี สาขาเทศโกโ ลตัสวงั หนิ25 ธนาคารเพื่อการเกษตร สาขาลาดพรา ววงั หนิ26 ธนาคารออมสิน สาขากรนี พลาซา วงั หนิ  แขวงจรเขบวั มี 5 แหงลาํ ดบั ที่ ชื่อธนาคาร สาขา พกิ ดั ท่ีต้ัง โทรศัพท1 ธนาคารกรุงไทย แยกลาดปลาเคา 41 13.8424,100.5954 0-2570-7116-7 13.834684,100.611181 0-2375-2844-52 ธนาคารกรุงไทย สาขาอเวนวิ 13.836813,100.593888 0-2940-3350 13.833603,100.610574 0-2907-05923 ธนาคารกรุงเทพ ถนนลาดปลาเคา 12 13.831787,100.594799 0-2942-10164 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาอเวนิว5 ธนาคารทหารไทย ซอยเสนานิคม  สถานทร่ี าชการ มี 6 แหงลําดับท่ี ชื่อสถานท่รี าชการ สถานทต่ี ง้ั โทรศัพท1 สถานีตํารวจโชคชัย แขวง/เขตลาดพรา ว 02-538-3897 31/201 ม.9 แขวงลาดพรา ว 02-514 – 00292 แผนก 5 กองกํากบั การ 2 กองปราบปราม ถนนโชคชัย 4 กทม. 02-539-0729 49/68 หมูบานกฤติกร 02-539-07293 การไฟฟานครหลวงบางกะป สาขาลาดพราว ถนนนาคนวิ าส กทม. 02-530-6698 14/100 ถนนลาดพราว -วงั หนิ 02-931-7581-44 ศูนยร ับฝากไปรษณยี จํานวนมาก 23/14 ม.6 ถนนโยธินพัฒนา 02-539-19925 สาํ นักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ แขวง/เขตลาดพรา ว กทม. หมบู า นเสนานิเวศนโครงการ 1 02-578-2144 กระทรวงมหาดไทย6 ทีท่ ําการชุมชมสายโทรศพั ท เสนานคิ มรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 7 ลาํ ดบั ท่ี  สถานพยาบาล มี 5 แหง สถานท่ีตง้ั โทรศพั ท 1 ถนนโชคชยั 4 02-514-2273-5 2 ชอื่ สถานพยาบาล ซอยเสนานคิ ม 1 02-570-1318 3 โรงพยาบาลสยาม ถนนลาดปลาเคา 02-570-7971 4 โรงพยาบาลเสนาเวชการ หมูบานเสนานิเวศนโครงการ 2 02-5104955 ศนู ยบรกิ ารสาธารณสุข 66 สาขาจรเขบ ัว 5 ศูนยบ รกิ ารสาธารณสุข 66 ถนนโชคชยั 4 (39 ) ตําหนัก 02-539-4828 สาขาจันทร – ทองอนิ ทร ดวงเดน ศูนยบ ริการสาธารณสขุ 66 สาขาโชคชยั 4 พระแมกวนอิม 02-270-5593 สถานศกึ ษา  โรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานคร จํานวน 6 แหง คือที่ ช่ือโรงเรยี น ทตี่ ัง้ โทรศัพท1 โรงเรยี นวดั ลาดปลาเคา 36/1 หมู 7 แขวงจรเขบ ัว เขตลาดพรา ว กทม. 0-2570-72452 โรงเรยี นวัดลาดพราว 1 หมู 9 ถ.ลาดพราว-วังหนิ แขวง/เขตลาดพราว กทม. 0-2513-24103 โรงเรยี นเทพวทิ ยา 13/3 ถ.เสนานิคม แขวง/เขตลาดพราว กทม. 0-2570-50484 โรงเรยี นเพชรถนอม ถ.นาคนิวาส แขวง/เขตลาดพราว กทม. 0-2570-93025 โรงเรียนคลองทรงกระเทียม 2/1 หมู 8 แขวง/เขตลาดพรา ว กทม. 0-2530-13136 โรงเรยี นลอยสายอนุสรณ 41 หมู 12 แขวง/เขตลาดพรา ว กทม. 0-2519-1222  โรงเรียนสังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน จาํ นวน 2 แหง คอืที่ ช่อื โรงเรยี น ทต่ี งั้ โทรศัพท1 โรงเรียนสตรีวิทยา 2 47/1 หมู 2 ถนนสุคนธสวสั ด์ิ แขวงลาดพราว กทม. 02-907-7910 02-570-75752 โรงเรียนลาดปลาเคา พิทยาคม 4/86 ม.2 ถนนลาดปลาเคา แขวงจรเขบวั กทม.  โรงเรยี นในสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชนที่ ช่ือโรงเรยี น ท่ีตงั้ โทรศัพท1 อนุบาลดวงปญญา 22 ม.8 ถ.นาคนวิ าส แขวงลาดพราว กทม. 02-932-43272 อนบุ าลโชคชยั ลาดพราว 17/18 ม.1 ถ.สคุ นธสวสั ด์ิ แขวงลาดพรา ว กทม. 02-907-83623 อนุบาลวรรณา 33/153 ม.10 ถ.โชคชัย 4 แขวงลาดพรา ว กทม. 02-538-0090 02-214-04324 อนุบาลเฉลิมขวัญ 16/143 ม.9 โชคชัย 4 แขวลงลาดพราว กทม. 02-538-10155 อนบุ าลเยย่ี มนชุ 1/58 ม.10 โชคชัย 4 แขวงลาดพราว กทม. 02538-2420รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 8 ที่ ช่ือโรงเรียน ท่ตี ัง้ โทรศัพท6 อนุบาลทองฤทัย 1/2 ม.8 ซอยจักรชิ 7 แขวงลาดพรา ว กทม. 02-538-31207 อนบุ าลสันตสิ ขุ 19 ม.11 ซ.เสนานคิ ม 1 แขวงลาดพราว กทม. 02-570-14058 อนุบาลปย พงษ 82/64-65 ม.2 ถนนลาดปลาเคา แขวงจระเขบัว กทม. 02-570-6841 02-570-67009 อนุบาลบญุ ฤดี 47 ม.14 ถนนลาดพราววงั หิน แขวงลาดพรา ว กทม. 02-538-231110 โรงเรยี นฤทธไิ กร 16/74 ม.9 ถนนโชคชยั 4 แขวงลาดพราว กทม. 02-538-551311 โรงเรียนสมติ สันต 92 ม.1 ซ.ลาดปลาเคา 32 แขวงจรเขบวั กทม. 02-570-656312 โรงเรยี นกัลวิทย 11/7 ม.1 ถนนลาดปลาเคา แขวงจรเขบวั กทม. 02-570-6563 02-750-733313 อนุบาลฤทธินี 118/4 ม.10 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพราว กรงุ เทพฯ 02-530-340314 เทพเสนานุสรณ 8/4 ม.8 ซอยสังเคราะห แขวงลาดพรา ว กรุงเทพฯ 02-538-2798 ซูเปอรมาเก็ต จาํ นวน 8 แหงที่ ช่ือสถานประกอบการ ท่ีตั้ง โทรศัพท1 บ.เอกชยั ดสิ ทรบิ ิวชัน่ ซสี เตม็ จาํ กัด 14 /2 หมู 8 ถนนประดิษฐมนูธรรม 0-2722-9640 แขวงลาดพรา ว เขตลาดพราว กรุงเทพ ฯ 0-2942-3841 (เทสโกโลตัส ) รามอนิ ทรา 12/31 ถ.ลาดพราว วงั หิน กรุงเทพฯ 0-2538-53042 บ.เอกชยั ดสิ ทรบิ วิ ชนั่ ซสี เต็ม จาํ กดั 0-2655-0666 39/542 ม.13 ถนนลาดพราว วังหิน 0-2308-9000 (เทสโกโลตัส ) แยกวงั หิน โชคชยั 4 ซอยลาดพรา ว 53 เขตลาดพรา ว 0-2335-53003 บ.เซน็ ทรลั ฟูดรเี ทล (ทอปพลาซา ลากนู ) กรงุ เทพฯ 0-2660-90004 บ.บิ๊กซี ซูปเปอรเซน็ ตเตอร จํากดั (มหาชน) ซอยลาดพราววังหนิ แยก 81 0-2108-7200 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรงุ เทพฯ โชคชัย 4 758 ถนนลาดพราววงั หนิ แขวงลาดพราว5 The Jas วังหนิ เขตลาดพราว กรงุ เทพฯ ถนนประเสริฐมนูกจิ แขวงจรเขบวั6 แมค็ โคร สาขาลาดพรา ว-วงั หนิ เขตลาดพราว กรุงเทพฯ Macro Food Service 511/2 ถ.ประดิษฐม นูกิจ แขวงลาดพราว เขตลาดพรา ว กรุงเทพฯ7 หา ง avenue เกษตรนวมนิ ทร8 The Walk Shopping Center เกษตรนวมนิ ทรรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 9  ตลาด จํานวน 8 แหงที่ ชอ่ื ตลาด สถานท่ีตัง้ พกิ ดั ทต่ี ั้ง โทรศัพท1 ตลาดบัวพฒั นา 17/8ม.7 ถ.ลาดปลาเคา แขวงจรเข 13.845502, 100.601217 0-2570-7823 13.827893, 100.623025 0-2578-8215 บัว เขตลาดพราว กรงุ เทพฯ 13.831907, 100.591127 0-2570-5838 13.802563, 100.606954 09-1717-36012 ตลาดสุคนธสวัสด์ิ ถนนสคุ นธสวัสดิ์ แขวงลาดพราว 13.808096, 100.608445 08-3133-0122 13.820403, 100.609323 เขตลาดพรา ว กรงุ เทพฯ 13.824842, 100.618278 0-2907-7778 13.809130, 100.5911063 ตลาดฉัตรสาคร 31/1 ถนนเสนานิคม แขวงจรเขบวั เขตลาดพราว กรุงเทพฯ4 ตลาดผูใหญอว น 98 ซอยนาคนวิ าส 6 ถ.ลาดพราว 71 แขวงลาดพราว กรุงเทพฯ5 ตลาดนกแกว ซอยนาคนิวาส ถ.ลาดพรา ว 71 แขวงลาดพราว กรุงเทพฯ6 ตลาดโรงไม ซอยนาคนิวาส 33 ถ.ลาดพราว 71 แขวงลาดพรา ว กรงุ เทพฯ7 ตลาดทรพั ยน มิ ิตร 41/4 สุคนธสวสั ด3ิ์ แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ8 ตลาดแมประคอง 11/3 ถ.ลาดพรา ววงั หิน เขตลาดพราว กรุงเทพฯ โรงน้าํ แขง็ จาํ นวน 2 แหงที่ ชอ่ื สถานประกอบการ ทีต่ ้งั โทรศพั ท1 บ.สงวนสินรวมกิจ จาํ กดั 9/8 ม.7 ถนนนาคนวิ าส แขวงลาดพรา ว เขตลาดพราว กทม. 13.829633,100.593954 0-2539-2741-22 รา นขายนาํ้ แข็งเจไ ล 954 ถ. ลาดพราววงั หนิ 13.811735,100.591408 08-1755-9799 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กทม.การคมนาคม ในปจจุบันเสนทางคมนาคมขนสงที่สําคัญของเขตลาดพราว คือถนนภายในพื้นที่เขต มีทั้งถนนสายหลกั ถนนซอย ตลอดทางดว นพิเศษ และมแี นวโครงการระบบขนสง มวลชนภายในเขตดว ย 1. ถนนสายหลัก 4 หลัก คอื 1.1 ถนนลาดพราว เปนถนนสายหลักท่ีสําคัญผานพื้นที่เขตและมีเสนทางท่ีเปนถนนสายรองและเช่ือมตอกับพ้ืนท่ีภายในเขต สามารถเขาพื้นที่ลาดพราวซอยโชคชัย 4 หรือวิ่งผานโชคชัย 4ไปตดั เขา ถนนรามอินทราได โดยมีจุดเร่มิ ตนที่ถนนพหลโยธนิ ไปสนิ้ สดุ ทสี่ ีแ่ ยกบางกะปรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 10 1.2 ถนนประดิษฐมนูธรรม มีความยาว 12 กิโลเมตร เร่ิมตนจากปลายซอยสุขุมวิท 63(เอกมัย) ในพ้ืนที่เขตหวยขวาง มุงเหนือคอนตะวันออกเฉียงเหนือตัดผานถนนพระราม 9 ขามคลองลาดพราว เขาสูพื้นท่ีเขตวังทองหลาง ตัดกับถนนประชาอุทิศ (ณ ส่ีแยกประชาธรรม) และถนนลาดพราวขามคลองทรงกระเทียมเขาสูเขตลาดพราว (ฟากตะวันออกของถนนกลายเปนเสนแบงเขตปกครองระหวางเขตลาดพรา วกับเขตวังทองหลางเขตบางกะป และเขตบงึ กมุ ) 1.3 ถนนพระราม 9 เปนถนนสายสําคัญท่ีสามารถตัดผานมาถนนรามอินทรา เพ่ือเขาเขตลาดพราว ทซี่ อยลาดพราว 71 และ ถนนสุคนธสวสั ด์ิ 1.4 ถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร-นวมินทร) ขามคลองโคกครามเขาสูพื้นที่เขตบางเขนและไปส้ินสุดเสนทางที่ถนนรามอินทรา บริเวณกิโลเมตรที่ 5.5 (ใกลแยกวัชรพล) ถนนมีความกวาง 6 ชองจราจร (ขาเขาและขาออกอยางละ 3 ชองจราจร) มีเกาะกลางถนน โดยมีทางดวนยกระดับอยูบนเกาะกลางถนนชวงตั้งแตรามอินทราถึงพระราม 9 กลาวไดวาถนนสายนี้ ขนานขนาบทางดวน ชาวบานจึงมักเรียกวา\"ถนนเลียบทางดวนรามอินทรา\" มีสะพานลอยรถขามทางแยกบริเวณจุดตัดถนนลาดพราวและถนนเกษตร-นวมินทร ถนนสายน้ียังมีทางจักรยานขนานไปกับทางเทาริมถนน เปนตัวอยางท่ีดีของการออกแบบถนนสายใหมในกรุงเทพฯ และเมืองตาง ๆ สองขางทางปลูกตนไมหลายชนิดใหความสวยงามรมร่ืน เชนตนปาลมนํ้ามันที่ปลูกเปนทิวแถวเรียงรายไปตามทางเทาริมถนน ถัดจากแถวตนปาลมก็จะมีแนวตนประดูอยูริมทางจักรยานอีกดวยปจจุบันมีรานอาหารแบบสวนอาหารต้ังอยูเรียงรายตลอดแนวถนน โดยเฉพาะบริเวณใกลจุดตัดถนนเกษตร-นวมินทร ซ่ึงมีบรรยากาศแบบชายทุงชานเมือง นอกจากน้ียังมีโครงการพัฒนาหมูบานจัดสรรราคาสูงหลายโครงการบนถนนเสนน้ี บนพ้ืนที่ซ่ึงเดิมเปนพื้นที่ตาบอด แตปจจุบันกลายเปนทําเลทอง ทีไ่ มไกลจากใจกลางเมอื งการเมอื งการปกครอง พื้นทก่ี ารปกครองแบง เปน 2 แขวง คือ แขวงลาดพรา ว และแขวงจรเขบ วัลกั ษณะภมู ิประเทศ พื้นท่ีเขตลาดพราว เปนพ้ืนที่กึ่งชนบทท่ียังมีพ้ืนท่ีวางอีกมากมายประกอบกับมีถนนสายหลักตัดผาน 2 เสนทาง ไดแก ถนนประดิษฐมนูธรรม และถนนเกษตร-นวมินทร ที่สามารถเชื่อมตอไดทุกทิศทําใหไดเปรียบในดานทําเลท่ีต้ังเหมาะสมทั้งในดานการจราจร บรรยากาศ จึงเกิดแหลงสถานบันเทิงท้ังสวนอาหารประเภทธรรมชาติและหองแอร ที่มีใหเลือกมากมายหลายรูปแบบ โดยเฉพาะถนนประดิษฐมนูธรรม ที่สองขางทางจะมีตนปาลมตนตะแบก ไมดอกไมประดับสองขางทางที่ใหความรมร่ืนจึงเปนสถานท่ีพักผอนคลายอารมณจากการทํางานหนักมาท้ังวันไดรับความสดช่ืนจากอากาศและความเขยี วขจจี ากตน ไม สวนถนนเกษตร-นวมินทรซ่ึงเปนท่ีต้ังของรานอาหารอรอยขนาดใหญ ลักษณะเปนสวนอาหารแบบธรรมชาติ ต้งั เรยี งรายอยทู ัง้ 2 ฝง ถนน และยังเปนทต่ี ั้งของประชาคมรา นอาหารเขตลาดพรา ว อีกดว ยรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 11 ดา นเศรษฐกจิ ประชากรในเขตลาดพราว สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพรับจาง คาขายรับราชการพนักงานรัฐวิสาหกิจ และธุรกิจสวนตัว ปจจุบันมีการเพ่ิมข้ึนของประชากรในอัตราสูงความตองการพื้นท่ีเพ่ือการอยูอาศัยและประกอบกิจการดานพาณิชยกรรมมากข้ึนตามลําดับ มีการลดพื้นที่การเกษตรและมีการขยายตัวของพ้ืนท่ีอยูอาศัยและสถานประกอบการมากข้ึน อาชีพหลักของประชากรจึงเปน อาชพี รบั จา ง คาขาย รบั ราชการ และพนกั งานองคกรของรฐั และเอกชนฯลฯดา นการศกึ ษา การศึกษาจบตั้งแตระดับประถมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกสวนใหญผูที่อยูในวัยเรียนมักจะเรียนในสถานศึกษาในพื้นที่ เพราะเปนโรงเรียนที่มีช่ือเสียงและอยูใกลกับท่พี ักอาศัยดา นสงั คม เขตลาดพราว เปนสังคมเมืองท่ีมีการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ จึงทําใหประชาชนอพยพเขามาอยูในพ้ืนที่เขตลาดพราว มากข้ึน มีผลกอใหเกิดปญหาในดานตาง ๆ ที่สําคัญไดแกปญหาดานการระบายน้ําดานการจราจร ดานสิ่งแวดลอม ฝุนละอองและควันพิษ ความแออัด ความไมเปนระเบียบเรยี บรอย การวางงานการแพรร ะบาดของยาเสพติด ตลอดจนปญหาทางดานอาชญากรรม ทาํ เนยี บผูบริหาร ระยะเวลา ทดี่ ํารงตาํ แหนงลาํ ดับที่ ชอื่ -สกุล ตําแหนง พ.ศ. 2544 – 2546 พ.ศ. 2546 – 25511 นางสุดสวาท คําแผง ผูอํานวยการสถานศึกษา พ.ศ. 2551 – 2552 ผอู าํ นวยการสถานศึกษา พ.ศ. 2552 – 25552 นายพล ศรกี ัลยา ผูอํานวยการสถานศึกษา พ.ศ. 2555 – 2560 ผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา พ.ศ. 2560 – ปจ จุบัน3 นางอรอุระ จนั ทรจํานงค ผอู ํานวยการสถานศึกษา ผูอํานวยการสถานศึกษา4 นางพูลทรัพย สิงหศกั ดา5 นายฐปนรรฆ ชุตชิ ยั ววิ ฒั นก ลุ6 นางพัชรา สายนาค งบประมาณ  เงนิ งบประมาณ จํานวน 1,872,100 บาทรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 12  จาํ นวนผูเ รียน ผูร บั บรกิ าร และจํานวนผสู อน (ปปจจบุ ัน) หลักสูตร/ประเภท จํานวนผูเ รยี น จาํ นวน ชาย หญิง รวม ผูสอนการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน- ผไู มร ูหนังสอื 5 11 16 12- ระดบั ประถมศึกษา 17 21 38 1- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 248 184 432 7- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 358 296 654 9 628 512 1140 29 รวมจาํ นวน 6 10 16 1การศึกษาตอ เนอื่ ง1.1 งบเศรษฐกจิ พอเพียง 3 15 18 1 โครงการอบรมการดาํ เนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 9 15 24 2 พอเพยี งในชมุ ชน โครงงานอบรมการจดั กระบวนการเรียนรปู รัชญาของเศรษฐกจิ 3 17 20 1 พอเพยี ง - 20 20 1งบอาชีพ 7 9 16 1งบศูนยฝกอาชพี (กลุมสนใจ) 7 9 16 1 วิชาชพี ลีลาศ 17 55 72 1 วชิ าชพี ศิลปการแตงโตะและผูกผา วิชาชีพการทาํ สบูส มุนไพร - 20 20 1 วชิ าชีพการทําแซมพูสมุนไพร - 20 15 1 - 15 15 1 รวมจํานวน 2 14 16 1 2 11 13 1งบศนู ยฝ ก อาชพี (1 อําเภอ 1 อาชพี ) 1 12 13 1 วิชาชพี ยอ มผา และผูกโบวรบิ บิ้น 5 82 87 6 วิชาชพี ยอ มผา ผกู รบิ บ้นิ วชิ าชพี อาชพี กระเปาเมคาเม วชิ าชพี โหราศาสตร วชิ าชีพเบเกอร่หี ลากรส วิชาชพี ผลไมแชอ่ิม (การถนอมอาหาร) รวมจํานวนรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 13 หลกั สูตร/ประเภท จํานวนผเู รียน จาํ นวน ชาย หญงิ รวม ผูสอนงบศูนยฝกอาชพี (อาชีพชางพืน้ ฐาน) วชิ าชพี ชางตัดเย็บเส้ือผา เบ้อื งตน - 20 20 1 วิชาชพี ชา งเยบ็ อุตสาหกรรม - 15 15 1 วชิ าชีพชาง ปะผุ เคาะ พนสี - 13 13 1 วิชาชีพชางทาสอี าคาร 12 1 13 1 วิชาชพี ชา งเดนิ สายไฟในอาคาร 12 1 13 1 วชิ าชีพชา งออกแบบบรรจภุ ัณฑ 2 11 13 1 - - ซ้ือสือ่ อาชีพ - - ปายปรองดอง - - สื่อสง เสริมอาชพี - - 26 51 77 6 สอ่ื อาชพี รวมจาํ นวน 16 84 100 11.3 งบพัฒนาสังคมและชมุ ชน 11 46 57 1 โครงการอบรมปจ จัยพน้ื ฐานการดาํ รงชวี ติ ผสู งู อายุ 6 44 50 11.4 งบพัฒนาทักษะชีวติ 210 290 500 1 โครงการอบรมปอ งกันยาเสพตดิ ในชุมชน 48 87 135 1 โครงการอบรมเรียนรปู ระวัติศาสตรช าตไิ ทยและพระมหากษัตรยิ  103 147 290 1 ไทยสาํ หรับประชาชน 241 259 500 1 23 27 50 11.5 งบอุดหนุน 243 257 500 1กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 52 79 131 1 210 290 500 1 โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาและไหวค รู 48 72 120 1 โครงการอบรมการใชคอมพวิ เตอรโ ปรแกรมพน้ื ฐานฯ ระยะ 1 โครงการคา ยวิชาการเพมิ่ ทักษะการเรียนรแู บบ \"สะเต็มศกึ ษา\" โครงการปจฉิมนเิ ทศและแสดงผลการงานวิชาการของนักศึกษาฯ โครงการพัฒนาผูเรยี นขับเคล่ือนนวัตกรรมไทยแลนด 4.0 โครงการปจ ฉิมนิเทศและแสดงผลการงานวิชาการของนกั ศึกษาฯ โครงการอบรมการใชคอมพิวเตอรโปรแกรมพืน้ ฐานฯ ระยะ 2 โครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษาและไหวค รู โครงการคา ยวชิ าการปรับพ้ืนฐานรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 14 หลักสตู ร/ประเภท จํานวนผเู รียน จํานวน ชาย หญิง รวม ผสู อนโครงการคา ยวิทยาศาสตรแ ละการศกึ ษาพฒั นาการเรียนรูวิชาวทิ ยาศาสตร 69 51 120 1โครงการคายลูกเสอื สง เสรมิ คณุ ธรรมผูเรียนโครงการใหความรูเ ร่ืองกีฬาพัฒนาผเู รียนตามรอยเทาพอระยะ 1 96 84 180 1โครงการอบรมเยาวชนไทยตานภยั ยาเสพตดิ 208 247 455 1โครงการธรรมประจาํ ใจ ตามรอยพอหลวง 27 73 100 1โครงการอบรมอาสาสมัคร กศน. 31 89 120 1โครงการขับขป่ี ลอดภัยใสใ จกฎจราจร 23 30 53 1โครงการใหค วามรูเ รื่องกฬี าพัฒนาผเู รียนตามรอยเทาพอระยะ 2 40 63 103 1โครงงานเยาวชนไทยใสใจสงิ่ แวดลอ ม 186 218 404 1โครงการอบรมพฒั นาผเู รยี นนําความพรอมสตู ลาดแรงงาน 40 80 120 1โครงการอบรมเรียนรูประวตั ศิ าสตรชาติไทย ธงชาติไทย 58 102 160 1และบญุ คุณพระมหากษตั รยิ ไทย 68 132 200 1จํานวนบุคลากร (ปปจ จุบนั ) ตา่ํ กวา ป.ตรี จํานวน รวมจาํ นวน ป.ตรี ป.โท ป.เอก ประเภท/ตําแหนง 2 -2 - 12ขา ราชการครู - 11 1- 3พนกั งานราชการ -3 -- 17ครูศูนยก ารเรียนชมุ ชน - 15 2- รวมจาํ นวน ทีต่ ้ัง ผรู บั ผดิ ชอบ แหลงเรียนรแู ละภาคเี ครอื ขาย วดั สาครสุน ประชาสรรค นายเสถยี ร โพสาวัง แขวงลาดพราว กทม. นายภวู นิ ทร ทานะมยั ชอ่ื กศน.ตําบล อาคารชุมชนหมูบานราณี 2กศน.แขวงลาดพรา ว แขวงจรเขบ วั กทม. 2 คนกศน.แขวงจรเขบ วั 2 แหง รวมจาํ นวนรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 15 ศูนยการเรียนชมุ ชน ทต่ี ้งั ผรู บั ผิดชอบชื่อ ศูนยก ารเรียนชมุ ชนวัดสาครสุนประชาสรรค วดั สาครสนุ ประชาสรรค นายเสถียร โพสาวัง แขวง/เขตลาดพราว กทม.ชอื่ ศนู ยการเรียนชมุ ชนวัดลาดพราว หอประชมุ วัดลาดพราว นายณภทั รภพ ทองรนื่ แขวง/เขตลาดพรา ว กทม.ชื่อ ศูนยก ารเรียนชมุ ชนโรงเรยี นวดั ลาดปลาเคา วัดลาดปลาเคา แขวงจรเขบ วั นายภูวินทร ทานะมัย เขตลาดพรา ว กทม.ชอ่ื ศนู ยการเรียนชุมชนหมูบา นราณี 2 หมบู านราณี2 แขวงจระเขบัว นางสาวจลุ จิรา ภสู ีเขียว เขตลาดพราว กทม. รวมจํานวน 4 คน แหลงเรยี นรู 3 แหง ทีต่ งั้ ชือ่ แหลงเรยี นรู ประเภทแหลง เรียนรู วดั สาครสนุ ฯ1. หอ งสมดุ ประชาชนตูคอนเทรนเนอร สถานที่ แขวง/เขตลาดพรา ว กทม.วัดสาครสนุ ประชาสรรค ชุมชนหมบู านธนั ยกานต2. หอ งสมดุ ชุมชนหมูบ านธันยกานต สถานที่ แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กทม.3.หอ งสมดุ ชมุ ชนหมูบ า นอมรพนั ธ 9 สถานที่ ชุมชนหมูบา นอมรพันธ 9 แขวงลาดพราว4. หอ งสมุดชมุ ชนหมบู า นเสนานิเวศน 1 สถานที่ เขตลาดพราว กทม. ชุมชนหมบู า นเสนานิเวศน 15. หองสมุดชมุ ชนหมูบานเลศิ อุบล 4 สถานท่ี แขวงจรเขบ วั เขตลาดพรา ว กทม.6. หอ งสมดุ กรุงเทพมหานครวัดลาดปลาเคา สถานท่ี ชมุ ชนหมูบานเลศิ อุบล 47. วดั สาครสุน ประชาสรรค วฒั นธรรมประเพณี แขวงลาดพราว8. วดั ลาดพราว วฒั นธรรมประเพณี เขตลาดพราว กทม. วดั ลาดปลาเคา แขวงจรเขบัว กทม. แขวงลาดพรา ว เขตลาดพรา ว กทม. แขวงลาดพรา ว เขตลาดพรา ว กทม.รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 16 ชอื่ แหลงเรียนรู ประเภทแหลงเรยี นรู ทต่ี ้ัง9. วัดลาดปลาเคา วฒั นธรรมประเพณี แขวงจรเขบวั10. วัดใหมศริ กิ มลาวาส วฒั นธรรมประเพณี เขตลาดพราว กทม.11. ศนู ย ICT ชมุ ชน สื่ออุปกรณและเทคโนโลยี12. ตําหนักเจาแมกวนอิม โชคชัย 4 วัฒนธรรมประเพณี แขวงจรเขบัว13. นางจารณุ ี ชยั กิตตริ ัตนา เขตลาดพรา ว กทม.(วิทยากรสอนอาชีพ) บคุ คล14. ศ.ดร.วเิ ชยี ร ตันตระเสนยี  แขวงลาดพรา ว(วิทยากรสอนภาษามลาย)ู บุคคล เขตลาดพราว กทม.15. ลานกีฬาชมุ ชนหมบู า นเสนานเิ วศน 1 สถานที่ แขวงลาดพราว16. สนามกฬี าชมุ ชนหมูบ านเสนานิเวศน 2 สถานท่ี เขตลาดพราว กทม.17. สนามกฬี าโรงเรียนสตรวี ิทยา 2 สถานที่ ชุมชนหมบู านเสนานิเวศน โครงการ 2 แขวงจรเขบ วั18. ลานกีฬาชุมชนหมบู านเฟรนชฟิ สถานที่ เขตลาดพรา ว กทม.19. ลานกฬี าชมุ ชนหมูบานราณี 2 สถานที่ ชุมชนหมูบ า นเลศิ อบุ ล 4 แขวง/เขตลาดพราว กทม. จํานวน 19 แหลงเรียนรู หมบู านเสนานิเวศน 1 แขวงจรเขบวั เขตลาดพราว กทม. ชหมูบ า นเสนานิเวศน 2 แขวงจรเขบัว เขตลาดพรา ว กทม. โรงเรียนสตรวี ิทยา 2 แขวงลาดพรา ว เขตลาดพราว กทม. ชมุ ชนหมูบา นเฟรนชฟิ แขวงจรเขบวั เขตลาดพราว กทม. ชมุ ชนหมูบานราณี 2 แขวงจรเขบ ัว เขตลาดพรา ว กทม.รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 17  ภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ ความรูความสามารถ ที่อยู ภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ วทิ ยากรสอนอาชีพ ชุมชนหมูบา นเสนานิเวศน โครงการ 2 แขวงจรเขบวั1. นางจารุณี ชัยกติ ติรัตนา เขตลาดพราว กทม. ชมุ ชนหมบู า นเลศิ อุบล 42.ศ.ดร.วิเชยี ร ตันตระเสนีย วทิ ยากรสอนภาษามลายู แขวงลาดพรา ว เขตลาดพรา ว กทม.3.นางเบญจวรรณ ปญ ญาโอภาส ปลูกพชื ไรด นิ หมบู า นธนะธานี แขวงบึง4. นางวนั วิไล พลาลพ เกษตรคนเมือง กุม เขตบึงกุม กทม.4.นายชชั วาลย ปทมดิลก สบื ทอดการทําวา ว นาคนวิ าส 27 ซอย 1 แขวงลาดพรา ว กทม.5.นางกรมิษฐ แมลงภทู อง สบื ทอดการนวดแผนไทย ชุมชนหมูบานสงั สทิ ธิ์ แขวงลาดพราว รวมจํานวน 5 คน เขตลาดพราว กทม. โชคชยั 4 แขวง/เขต ภาคเี ครือขา ย ประเภทภาคีเครือขา ย ลาดพรา ว กทม. สถานที่ ภาคเี ครอื ขาย สถานท่ี ทอี่ ย/ู ท่ตี ้ัง1. วัดสาครสุนประชาสรรค สถานท่ี แขวง/เขตลาดพรา ว กทม.2. วดั ลาดพราว แขวง/เขตลาดพราว กทม.3. วดั ลาดปลาเคา แขวงจรเขบ ัว เขตลาดพราว กทม.4. โรงเรียนวดั ลาดปลาเคา สถานท่ี แขวงจรเขบ วั เขตลาดพราว กทม.5. โรงเรยี นสตรีวิทยา 2 สถานที่ แขวง/เขตลาดพราว กทม.6. คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.เขตลาดพราว บคุ คล เขตลาดพรา ว เขตลาดพราว7. วทิ ยากรสอนหลักสูตรการศกึ ษาตอเน่ือง/อาชีพ บุคคล แขวง/เขตลาดพราว กทม.8. สํานกั งานเขตลาดพรา ว สถานที่ เขตลาดพราว9. ชุมชนในเขตลาดพราว สถานท่ีรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 18 ภาคีเครอื ขาย ประเภทภาคีเครอื ขาย ทอี่ ยู/ที่ตง้ั10. โรงพยาบาลกรงุ เทพธนบุรี 2 สถานท่ี เขตทววี ัฒนา11. โรงพยาบาลบางปะกอก 9 สถานที่ ถนนบรมราชนนี กทม. เขตจอมทอง ถนนพระราม 2 กทม. เกียรตยิ ศ ช่ือเสียง ผลงาน/และโครงการ/กิจกรรม ดีเดน ของสถานศกึ ษา 1) ในป พ.ศ. 2548 ไดร ับรางวลั การลดขน้ั ตอนระยะเวลาการรับสมัครนักศึกษาใหม 2) ในป พ.ศ. 2549 ไดรับรางวลั สถานศกึ ษาดีเดน 3) ในป พ.ศ. 2549 ไดร ับรางวัลบุคลากรดีเดน คอื นางจิตตกาญจน มงคลบรู ณะศริ ิ ครู (คศ.2 ) 4) ในป พ.ศ. 2550 ไดร บั รางวัลปรบั การเรยี นเปลย่ี นการสอน 5) ในป พ.ศ. 2550 ไดรบั รางวัลศิษยดเี ดนการเสยี สละใหก ับสถานศึกษาและในเรื่องการบําเพ็ญประโยชนเ พ่อื สงั คม 6) ในป พ.ศ. 2533 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราวไดรบั รองมาตรฐานประเมินคุณภาพนอก คะแนนเฉลี่ย 3.33 มีระดับดี 7) ในป พ.ศ. 2554 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราวผานการประเมนิ ตนเองโดยตน สงั กัด 8) ในป พ.ศ. 2554 ไดรับรางวัลครูสอนดี คือ นางภัทรานิษฐ เฉลิมชัยชวลิต ครู กศน.ตําบลโดย สกสค. 9) ในป พ.ศ. 2555 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราวผา นการประเมินสถานศกึ ษาพอพยี ง โดยคณะกรรมการประเมินสถานศกึ ษาพอเพียง ภาค กทม. 10) ในป พ.ศ. 2556 นายฐปนรรฆ ชตุ ชิ ัยววิ ัฒนก ลุ ผูอาํ นวยการ กศน.เขตลาดพราวไดรับรางวัลหนงึ่ แสนครดู ี (ผูบรหิ าร) โดยสํานักงาน สกสค. 11) ในป พ.ศ. 2556 นางจิตตกาญจน มงคลบูรณะศิริ ครู(คศ.2) ไดรับรางวัลหนึ่งแสนครูดีโดยสาํ นกั งาน สกสค. 12) ในป พ.ศ. 2556 นางภัทรานิษฐ เฉลิมชัยชวลิต ครู กศน.ตําบล ไดรับรางวัลดีเดนในดานสรางเคร่ืองมอื วดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน สาระภาษาตางประเทศ โดย กศน.กทม. 13) ในป พ.ศ. 2556 ครูไดรับรางวลั การปฎิบัติงานดเี ดน ตา ง ๆ จากสาํ นัก กศน.กทม. ดังน้ี 1. นางสาวลําพงึ คิดทาํ ครู กศน.ตาํ บล ดา นการจดั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2. นายณภทั รภพ ทองร่นื ครู กศน.ตําบล ดา นสงเสรมิ การอาน 3. นายภูวนิ ทร ทานะมัย ครู กศน.ตําบล ดานครู กศน.แขวง ดีเดน 4. นางสาวนิตยา พรจนั ทึก ครู กศน.ตําบล ดานสง เสรมิ ผูไ มรหู นังสือ ดีเดน 5. นางสาวจลุ จริ า ภสู เี ขียว ครู กศน.ตําบล ดานโครงการพระราชดาํ ริ ดีเดนรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 19 6. นางสาวยวุ ดี เครือภูเขยี ว ครู กศน.ตาํ บล ดา นสง เสรมิ สนบั สนนุ งานเครือขา ย ดีเดน7. นายพิสษิ ฐ ศรีเตชากติ ต์ิ ครู กศน.ตาํ บล ดา นการดา นสงเสริมสนับสนุนงาน สงเสรมิ คุณธรรมดีเดน8. นางณฐั ธยาน ศรีเตชากติ ติ์ ครู กศน.ตําบล ดานสง เสรมิ สนบั สนุนงานสง เสรมิ ความพอเพียง ดเี ดน9. นางสาวแสงทอง แกวทํา ครู กศน.ตาํ บล ดา นสง เสรมิ สนับสนุนกจิ กรรมผสู งู อายุ14) ในปงบประมาณ 2557 นายฐปนรรฆ ชุติชัยวิวัฒนกุล ผูอํานวยการ กศน.เขตลาดพราวไดร บั เข็มวชริ าวธุ จากกองพลทหารราบท่ี 1115) ในปงบประมาณ 2558 นางสาวแสงทอง แกวคํา ครู กศน.ตําบล ไดรับใบประกาศดา นครผู ูสอนวชิ าประวัติศาสตรชาตไิ ทยดเี ดน16) ในปงบประมาณ 2559 ครทู ่ีไดร บั เหรยี ญเชดิ ชเู กยี รติ1. นางสาวแสงทอง แกวคํา ครู กศน.ตาํ บล2. นางสาวลําพึง คดิ ทํา ครู กศน.ตําบล17) ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว ไดรับใบประกาศเกียรติคณุ จากสาํ นักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังกรุงเทพมหานคร ท่ีสนบั สนุนใหประชาชนออกมาใชสิทธิ์การออกเสียงประชามติเปน จาํ นวนมาก18) ไดรับรางวลั ชมเชย ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประจําป 2560 สําหรับนักศึกษา กศน.ณ ศูนยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษารังสติ19) ไดรับรางวัลชมเชย ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประจําป 2560 สําหรับนักศึกษา กศน.ณ ศูนยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษารงั สิต จํานวน 2 รางวัล20) ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประจําป 2560สาํ หรบั นกั ศึกษา กศน. ณ ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษาเอกมยั ไดแ ก โครงงานเตาแกส ปคนคิ พกพา21) ในปงบประมาณ 2560 ครูทไ่ี ดรับเหรยี ญเชดิ ชเู กยี รติ1. นางสาวณฐั ธยาน ศรีเตชากติ ติ์ ครู กศน.ตาํ บล2. นางสาวนิตยา พรจันทึก ครู กศน.ตําบล3. นางสาวยวุ ดี เครอื ภเู ขยี ว ครู กศน.ตาํ บล4. นายภวู นิ ทร ทานะมยั ครู กศน.ตาํ บล22) ในป พ.ศ. 2560 นางพัชรา สายนาค ผูอํานวยการ กศน.เขตลาดพราว ไดรับรางวัลผบู รหิ ารสถานศกึ ษาดเี ดน ประจาํ ป 2560 โดยสาํ นกั งาน กศน.กทม.23) ในป พ.ศ. 2560 นางสาวนติ ยา พรจนั ทกึ ครู กศน.ตําบล ไดร บั รางวัลบุคลากรปฏิบัตงิ านดเี ดนประจําป 2560 โดยสาํ นกั งาน กศน.กทม.รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 20 24) ในป พ.ศ. 2560 นางสาวพัชราพร จุลมณี ครูศูนยการเรียนชุมชน ไดรับรางวัลบุคลากรปฏิบตั งิ านดเี ดน ประจาํ ป 2560 โดยสาํ นักงาน กศน.กทม. *******************************************รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 21 ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกท่ีผา นมา ผลการประเมนิ ตนเอง1. ผลการประเมินคณุ ภาพภายใน คะแนนที่ได ระดับคุณภาพ 1) ผลการประเมินคณุ ภาพภายใน โดยภาพรวมของสถานศกึ ษา 31.08 ดี (1) ผลการประเมินตนเอง (ปง บประมาณ 2560) 23.85 ดี 9.80 ดีมาก มาตรฐาน คา นาํ้ หนกั 8.74 ดีมาก 9.00 ดีมากมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเรยี น/ผูรับบรกิ าร 35 9.20 ดมี ากมาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบรกิ าร 25มาตรฐานท่ี 3 การบรหิ ารการศกึ ษา 10 91.67 ดมี ากมาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา 10มาตรฐานท่ี 5 อตั ลักษณของสถานศกึ ษา 10มาตรฐานที่ 6 มาตรการสงเสริม 10 รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศกึ ษา 100 (2) การประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาโดยตนสังกัด ปง บประมาณ 2560 ผลการประเมนิ คณุ ภาพ มาตรฐาน คา นํ้าหนัก สถานศึกษาโดยตนสังกัด คะแนนท่ไี ด ระดบั คุณภาพมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู รียน/ผูรับบรกิ าร 35 31.60 ดีมาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบรกิ าร 25 23.80 ดีมาตรฐานที่ 3 การบรหิ ารการศกึ ษา 10 9.75 ดีมากมาตรฐานท่ี 4 การประกันคณุ ภาพการศึกษา 10 8.75 ดมี ากมาตรฐานที่ 5 อตั ลักษณของสถานศกึ ษา 10 9.00 ดมี ากมาตรฐานที่ 6 มาตรการสง เสริม 10 9.20 ดมี าก รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศกึ ษา 100 92.09 ดีมากหมายเหตุ ใหส ถานศกึ ษากรอกขอ มูลผลการประเมินสถานศึกษาโดยตนสงั กัด คร้ังลา สดุ ทส่ี ถานศกึ ษา ไดรบั การประเมินรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 22 2) ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามรายมาตรฐาน ผลการประเมิน คุณภาพสถานศึกษามาตรฐาน ผลการ นาํ้ หนัก ประเมนิ ตนเอง โดยตน สังกดั (คะแนน) คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ ท่ีได คณุ ภาพ ทไ่ี ด คณุ ภาพมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเรียน/ผูร ับบรกิ าร 35 31.08 ดี 31.60 ดีตวั บง ชท้ี ี่ 1.1 ผเู รียนมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี 3 2.85 ดมี าก 2.70 ดีมากตวั บงชี้ที่ 1.2 ผูเรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 3 2.85 ดมี าก 2.72 ดมี ากและคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคตัวบง ชีท้ ี่ 1.3 ผเู รยี นมีความใฝรู และเรียนรูอยาง 3 2.85 ดีมาก 2.81 ดมี ากตอ เน่ืองตัวบง ช้ที ่ี 1.4 ผเู รียน คิดเปนทาํ เปน 3 2.90 ดีมาก 2.80 ดีมากตัวบง ชีท้ ี่ 1.5 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผูเรยี นการศึกษา 10 7.03 พอใช 8.71 ดีนอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตัวบงช้ที ี่ 1.6 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเรยี น 5 4.90 ดมี าก 4.50 ดมี ากการศกึ ษาตอเนื่องตัวบง ชี้ท่ี 1. 7 ผูเรียนมีงานทําหรอื มีรายไดเ สริม มีทกั ษะ 5 4.85 ดีมาก 4.64 ดมี ากในการทํางาน สามารถทาํ งานรว มกับผูอนื่ไดและ มีเจตคตทิ ดี่ ตี อ อาชพี สจุ ริตตวั บง ชี้ที่ 1.8 ความพึงพอใจตอการใหบริการ 3 2.85 ดมี าก 2.72 ดมี ากการศึกษาตามอธั ยาศยัมาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การ 25 23.60 ดี 23.80 ดี ใหบรกิ าร 4 4.00 ดมี าก 4.00 ดมี ากตวั บง ชท้ี ี่ 2.1 คณุ ภาพของหลักสูตรตัวบงชท้ี ี่ 2.2 คุณภาพของครู 4 4.00 ดีมาก 4.00 ดีมากตวั บง ช้ีที่ 2.3 คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู 4 3.20 ดี 3.30 ดีและผูส อนท่เี นน ผูเรียนเปนสําคัญตวั บง ชี้ท่ี 2.4 คณุ ภาพผสู อน/วทิ ยากร การศึกษา 3 3.00 ดีมาก 3.00 ดมี ากตอ เนื่องตวั บง ชี้ท่ี 2.5 คณุ ภาพสือ่ ทเี่ อื้อตอ การเรยี นรขู องผูเรียน 3 3.00 ดมี าก 3.00 ดีมากและผรู บั บริการตวั บงชี้ท่ี 2.6 คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 4 4.00 ดีมาก 3.00 ดีมากรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 23 มาตรฐาน น้ําหนกั ผลการ ผลการประเมนิ (คะแนน) ประเมินตนเอง คณุ ภาพสถานศึกษาตวั บงช้ที ่ี 2.7 การสรางสังคมแหง การเรียนรูมาตรฐานท่ี 3 การบริหารการศกึ ษา 3 คะแนน ระดับ โดยตนสังกัดตัวบง ชี้ท่ี 3.1 คณุ ภาพของการบริหารสถานศึกษา 10 ท่ีได คณุ ภาพ คะแนน ระดบัตวั บงช้ีท่ี 3.2 ระบบฐานขอ มูลเพ่ือการบรหิ ารจัดการ 2 2.40 ที่ได คุณภาพตัวบงชี้ที่ 3.3 ผลการบริหารความเส่ยี ง 2 9.60 ดี 2.50 ดีตัวบง ชท้ี ่ี 3.4 ผลการปฏบิ ตั ิหนา ท่ขี องผูบรหิ าร 2 2.00 ดีมาก 9.75 ดมี าก 2 1.60 ดมี าก 1.60 ดี สถานศกึ ษา 2.00 2.00 ดีมากตัวบง ช้ที ี่ 3.5 ผลการปฏบิ ตั ติ ามบทบาทของ 2.00 ดี 2.00 ดี ดมี าก 1.60 ดมี าก คณะกรรมการสถานศกึ ษา ดมี ากมาตรฐานท่ี 4 การประกันคณุ ภาพการศึกษาตวั บงชท้ี ่ี 4.1 การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 2 2.00 ดีมาก 2.00 ดมี ากตัวบง ชี้ที่ 4.2 การประเมินคุณภาพสถานศึกษา 10 8.74 ดมี าก 8.75 ดีมาก โดยตน สังกดั 5 4.00 ดี 5.00 ดมี ากมาตรฐานที่ 5 อัตลักษณของสถานศึกษาตวั บง ชท้ี ่ี 5.1 ผลการพฒั นาใหบรรลเุ ปา หมายตาม 5 4.74 ดมี าก 4.20 ดมี าก ปรชั ญา พันธกิจ และวัตถปุ ระสงค 10 9.00 ดีมาก 9.00 ดมี าก การจดั ตงั้ สถานศึกษา 5 4.00 ดี 4.00 ดีมากตวั บง ช้ีท่ี 5.2 ผลการพฒั นาตามจดุ เนนและจดุ เดน ทส่ี ะทอนเอกลกั ษณของสถานศึกษา 5 5.00 ดมี าก 5.00 ดมี ากมาตรฐานท่ี 6 มาตรการสง เสริมตวั บง ชี้ที่ 6.1 ผลการสงเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพือ่ 10 9.00 ดมี าก 9.20 ดีมาก ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและ 5 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก พัฒนาสคู วามยั่งยนื เพอ่ื ใหส อดคลองกบั นโยบายทางศึกษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5 4.00 ดี 4.20 ดีมากตัวบง ช้ที ี่ 6.2 ผลที่เกิดจากการสงเสริมการจัด 100 91.67 ดีมาก 92.09 ดมี าก การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ในชุมชน รวมคะแนนรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 24 หมายเหตุ กรณที ่ีสถานศึกษาใดทีย่ ังไมมผี ลคะแนนการประเมนิ สถานศกึ ษาโดยตน สงั กดั ที่ตรงกับมาตรฐาน และตวั บงชดี้ ังกลา ว ใหเ วน ไว และใสเพยี งคะแนนผลการประเมนิ ตนเองขอ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา ขอเสนอแนะจากการประเมินสถานศกึ ษา โดยตนสังกัด จากการประเมินตนเอง 1. สถานศึกษาควรพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น1. ควรพัฒนาครูดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การใชสื่อการสอน และมีการจัดหาวิทยากรสอนเสรมิ ทม่ี คี วามเช่ยี วชาญเฉพาะดานในวชิ าที่มเี น้อื หายาก 2. สถานศกึ ษาควรมีการตดิ ตามผูเ รยี นมีงานทาํ หรือมรี ายไดเ สรมิ มีทักษะในการทํางาน สามารถ2. ควรมกี ารพฒั นาประสทิ ธิภาพของแบบสอบถามการ ทาํ งานรวมกบั ผูอื่นไดและมีเจตคตทิ ี่ดตี ออาชีพสุจรติ ตดิ ตามผเู รยี นมีงานทาํ หรือมรี ายไดเ สริม มีทักษะ ในการทาํ งาน สามารถทาํ งานรว มกับผอู ่นื ไดแ ละ 3. การอบรมพัฒนาครูและผูสอนใหม ีทกั ษะและเทคนคิ มเี จตคตทิ ี่ดีตออาชีพสุจริต เพื่อใหเ ปนเคร่ืองมือทมี่ ี การถายทอดความรู การจดั กระบวนการเรียนรู คณุ ภาพ การวดั ประเมินผล ตามหลักสตู รในวชิ าหลัก และครทู ุกคนมีใบประกอบวชิ าชพี ครู3. ควรสง เสริมการประชาสัมพันธ การบริการหองสมุด ในชุมชน สงเสริมแหลง เรยี นรแู ละจัดทาํ ทําเนียบ 4. การตดิ ตามผลผจู บหลกั สูตรการจัดการศึกษา แหลง เรยี นรูภูมิปญ ญาทองถ่ินใหหลากหลายและ ตอ เนือ่ งท่นี ําความรไู ปใชในการประกอบอาชีพ ครอบคลุม สอดคลอ งกบั ความตองการของผเู รยี น / และดาํ เนินชวี ติ ผรู ับบริการ และควรทาํ สถิตผิ ูม าใชหองสมุด อยา งตอเน่ือง 5. การพฒั นาสื่อท่เี อ้อื ตอการเรียนรูของผเู รยี น/ ผูรบั บริการ และพัฒนาคุณภาพผสู อน/วทิ ยากร4. บุคลากรแลกเปล่ียนเรยี นรูตามวิชาที่ตนถนัด และจดั การศึกษาตอเนอื่ ง กิจกรรมเพ่ือพฒั นาบุคลากรตอไป 6. สถานศึกษาควรพัฒนาระบบฐานขอมลู ของ5. ควรมกี ารพฒั นาปรบั ปรุงอยางตอเนื่องในเรื่อง สถานศึกษาอยา งมีสวนรวมเพื่อใหเปนปจจุบัน โครงการยกระดบั ประชากรวยั แรงงานใหม ีอัตราคง และสะดวกตอการเขา ถึง อยขู องผเู รียนและความรูในการผานเกณฑของผเู รียน ท่กี ําหนดไวในแผนของตัวบงช้ี6. ควรพฒั นาผเู รียนใหเ กดิ ความคดิ สรางสรรคใ นการทาํ โครงงานวชิ าการ โดยนํากระบวนการทาวทิ ยาศาสตร มาใชในการคิด การจดั กระบวนการ การวิจยั การใชเ หตผุ ลและการสรปุ ผลรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 25 จากการประเมินตนเอง ขอเสนอแนะจากการประเมินสถานศกึ ษา7. ควรนาํ ขอ มูลไปพัฒนาในดานการประเมินผล โดยตน สังกดั 7. สถานศึกษาควรมีการนําผลการนเิ ทศ ตดิ ตามใหสอดคล้องกับสภาพจรงิ ตอไป และสามารถขยาย ประเมนิ ผลไปใชในการพัฒนาปรบั ปรงุ การการจัดศนู ยก ารเรียนรูในชุมชนใหม ากขน้ึ โดยสง เสริม ดําเนนิ งานสนบั สนนุ วิทยากรในชุมชนใหม สี ว นรวมในการจัดการศกึ ษารว มกนั 8. สถานศกึ ษาควรดาํ เนนิ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาอยา งตอ เน่ืองใหเปน ระบบประกัน คุณภาพสถานศึกษาเปนสว นหนึ่งของการบรหิ าร การศึกษา และพฒั นางานอยางตอ เน่ือง 9. สถานศึกษาควรมีการดาํ เนนิ งานโดยบคุ ลากร ผูเก่ยี วของมีสว นรว มในการกํากับ/ติดตาม/ ประเมินผลการดาํ เนินงาน 10.สถานศึกษาควรมีการนาํ ผลการตดิ ตามไปใช ในการพฒั นา 11.สถานศึกษาควรสง เสริมพัฒนาดานอาชพี หลักสตู ร 12.ระยะสน้ั ใหมีการสง เสรมิ ดา นการตลาดและ ชองทางการจัดจําหนา ย และรปู แบบผลติ ภณั ฑ ของชุมชนซึง่ มแี หลงเรียนเรยี นรูดา นอาชพี ต้ังอยูที่ หมูบานเสนานเิ วศน จะทําใหชมุ ชนมคี วามเขม แข็ง และเปนชมุ ชนดเี ดนดา นอาชีพตอ ไปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก สถานศึกษายงั ไมเคยไดรับการประเมนิ จากภายนอก สถานศึกษาไดรับการประเมินคุณภาพภายนอก ระหวางวันที่ 15 - 17 เดือน มกราคมพ.ศ. 2553 โดยสถานศึกษาไดคะแนนจากผลการประเมินภายนอก รวม 3.33 คะแนน อยูในระดับคุณภาพดี ซึ่งสถานศกึ ษา  ไมไ ดร ับการรับรองมาตรฐานการศกึ ษา  ไดรบั การรบั รองมาตรฐานการศกึ ษารายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 26 ขอ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา 1. สถานศึกษาควรมีการนิเทศติดตามใหชัดเจนทุกระบบงานและทุกโครงการ / กิจกรรมเพื่อใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเน่ืองตามแผนงานในทุกระบบงาน และทุกโครงการ / กิจกรรมพรอมการประเมนิ ผลและนาํ ผลประเมนิ มาใชพ ัฒนาปรับปรุงงานตอไป 2. สถานศึกษาควรปรับปรุงโครงการพัฒนาผูเรียนข้ันพ้ืนฐานและการรูหนังสือของผูเรียนไดรับการติดตามและพัฒนาใหมีความรูเพียงพอตอการยกระดับความรูผานเกณฑที่กําหนด เชน การเรียนสอนเสริมนอกเวลา และจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหมีความตระหนักถึงภัยของสิ่งเสพติดทั้งสวนตนและสวนรวม 3.ครูไดรับการพัฒนาจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและสื่อเทคโนโลยีใหชัดเจนครบถวนและตอเน่อื งในการเรียนรู 4. สถานศึกษาควรพัฒนาหองสมุด ใหมีหนังสือดานความรูใหหลากหลายย่ิงข้ึนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นตามอธั ยาศยั 5. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนมีความคิดสรางสรรค โดยใหผูเรียนจัดทําโครงงานที่มีการคิดวิเคราะห และสรางสรรคมากขึ้น ตลอดจนสงเสริมใหผูเรียนสนใจใฝรูและพัฒนาตนเองใหม ากข้ึน 6. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาบุคลากรทุกฝายใหมีความรูความเขาใจ และเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพภายใน เพ่ือใหการดําเนินงานการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมท้ังใหนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนากลยุทธ และแผนปฏิบัติการประจําปอยางตอเน่ือง เพื่อใหกระบวนการประกันคณุ ภาพครบวงจร PDCA และการทาํ งานรวมกันแบบ PLCนวตั กรรมหรือการปฏิบตั ิที่เปน เลศิ ของสถานศกึ ษา กศน.เขตลาดพราว สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาทางดานการใชคอมพิวเตอร และโทรศัพทมือถือ ในการใชงานและการแสวงหาความรู เพ่ือการเรียนรูตลอดชีวิตและกาวทันเทคโนโลยีThai Land 4.0ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต 1. ดานการจัดการศกึ ษา - สงเสริมการจัดการศึกษ าที่ พั ฒ น าใหผูเรียน เป นผูมีความใฝเรียน รู จนเป นคุณลกั ษณะเฉพาะของผเู รยี น ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตลาดพราว - สงเสริมและพัฒ นาแหลงเรียนรูในชุมชน ใหสามารถใหบริการแกคนในชุมชนไดอยางเปนระบบและยง่ั ยืน - สง เสริมใหมกี ารนาํ เทคโนโลยีและส่อื ตาง ๆ มาใชใ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรูใหมากข้ึนรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 27 - สงเสริมการเรียน อาชีพหลักสูตรระยะส้ัน ที่สามารถพัฒนาใหผูเรียนสามารถนําความรูไปพัฒนาตนเองเพ่ือสรางอาชีพ เพิ่มรายได ลดรายจายตนเองและครอบครัว มีเจตคติท่ีดีตอการประกอบอาชพี สจุ รติ 2. ดานการบรหิ ารจัดการ - สงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสูความย่ังยืนเพอื่ ใหสอดคลอ งกบั นโยบายทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ - การบริหารจดั การและสรางเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากร ดวยระบบ PDCA และระบบการทํางานรวมกันแบบ PLC เพือ่ งานบรรลเุ ปา หมายและวตั ถปุ ระสงคที่วางไว - สงเสริมการบริหารงานแบบมีสวนรวม นําภูมิปญญาทองถ่ิน มาสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. ดานการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปนสาํ คญั - สง เสริมการสรา งและพฒั นาหลกั สูตร ใหส อดคลองกับสภาพและความตองการของผูเรยี น/ผูรบั บรกิ ารสามารถ พัฒนาผูเ รยี น/ผูรบั บริการ ไดเต็มศกั ยภาพทม่ี ี - สงเสริมใหครูเปนครูมืออาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถจัดกระบวนการเรียนรูโดยเนน ผูเรียนเปนสําคญั - สงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สนับสนุนใหผูเรียนสามารถสรางองคความรูจากการเรียนรูดวยตนเอง ผานแผนและโครงการ กจิ กรรมท่สี ถานศึกษา ครู ผเู รียนจัดขึ้นมา - สงเสริมการ แสวงหา สรางและพัฒนาส่ือใหทันสมัย กระตุนและเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน 4. ดา นการประกันคุณภาพภายใน - สง เสรมิ การบรหิ ารงาน ปฏบิ ัติงานอยา งเปนระบบ เพื่อสงผลใหการจดั การศึกษาตรงตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกําหนด รกั ษาระดับคณุ ภาพการศึกษาใหคงอยู และสามารถพฒั นาไปสรู ะดับคณุ ภาพท่ดี ีข้ึนรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 28 บทท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาไดกําหนดทิศทางการดําเนินงานไวในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาํ ป โดยไดดาํ เนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาํ ป และมผี ลการดาํ เนินการ ดังน้ีทศิ ทางการดาํ เนินงานของสถานศกึ ษา ปรชั ญา คดิ เปน เนนคุณธรรม นอ มนําเศรษฐกจิ พอเพียง วิสัยทัศน สง เสรมิ ความรูคคู ุณธรรม มุงสบู รกิ าร เพื่อการเรียนรูตลอดชีวติ บนพน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง อตั ลักษณ ใฝเรยี นรู พันธกจิ 1. จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สายสามัญ สายอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชนและการศึกษาตามอัธยาศัย สูการเรียนรูตลอดชีวิต ควบคูกับการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหกับผูเรียนและผรู บั บริการ ทีอ่ าศยั อยูใ นพืน้ ทเ่ี ขตลาดพราว อยา งทว่ั ถงึ 2. ดําเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ และแผนกลยทุ ธของสํานกั งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพอ่ื ใหบรรลวุ ตั ถุประสงค 3. สงเสริมครูและบุคลากรของสถานศึกษาใหมคี วามรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยสามารถปฏิบตั ติ น และจัดการเรียนการสอน เพอ่ื สงเสริมในการขับเคลอื่ นเขาสสู ถานศึกษาพอเพียง เอกลักษณ บริการทกุ ระดบั ประทับใจเปาประสงค และตัวชี้วดั ความสาํ เรจ็ ตวั ชว้ี ดั ความสําเร็จ เปา ประสงค1. จั ดการศึ กษาข้ั นพื้ นฐานนอกระบบระดั บ 1. ตวั ชีว้ ดั เชิงปริมาณประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษา 1.1 รอยละของประชากรกลุมตาง ๆ (ประชากรวัยตอนปลายแกประชาชนในพ้นื ท่ีเขตลาดพรา ว แรงงาน ผูดอยโอกาส ผูพิการ กลุมชาติพันธุ และกลุม2. ยกระดับความรูของประชาชน ที่พลาดโอกาสศึกษา ผูสูงอายุ)ไดรับบริการการศึกษานอกระบบและในระบบโรงเรยี น ไดมีโอกาสเรยี นตอในระดับทสี่ งู ข้ึน การศึกษาตามอัธยาศัยอยางท่ัวถึง ครอบคลุม และเปน3. เพื่อใหกลุมเปาหมาย ผูพลาดโอกาสทางการศึกษา ธรรมสามารถนําความรูที่ไดรับไปปรับปรุงพัฒนาการประกอบ 1.2 รอยละของประชากรวัยแรงงานที่เขารับอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองครอบครัวและ การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํามีสมรรถนะในการสงั คมใหด ขี ้ึน ประกอบอาชีพที่เพ่ิมข้ึนรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพราว หนา 29 เปา ประสงค ตัวช้วี ัดความสาํ เรจ็ขยายเขาสูประชาชนในชมุ ชนเขตลาดพราว 2.5 รอยละของผูรับบริการท่ีมีความพึงพอใจ15.พัฒนาหองสมุดตูคอนเทรนเนอรใหมีชีวิต มี ตอการใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาและเทคโนโลยีการจดั กจิ กรรมเคลื่อนไหวอยางตอ เนื่อง สารสนเทศและการสอ่ื สาร ของสถานศกึ ษา16. พฒั นาศูนยการเรยี นชุมชนใหเปนแหลง เรยี นรู 2.6 รอยละของบุคลากร ที่ไดรับการพัฒ นาราคาถกู เพื่อใหบรกิ ารขอ มลู ขา วสารแกช ุมชน สมรรถนะในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ17. หาสื่อ สิ่งพิมพ รวมท้ังสื่ออิเลคทรอนิกสและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และสามารถนาํ มาสือ่ อ่นื ๆ ไวบริการอยางพอเพยี ง พฒั นางานไดอยางมีประสทิ ธิภาพ18. ปรบั ปรงุ พัฒนาจัดหาส่ือทีท่ นั สมัยไวใหบรกิ าร 2.7 รอยละของผูรับบริการที่มีความพึงพอใจ19. เพื่อพฒั นาอาชีพใหกลุมเปา หมายท่มี ีอาชพี ตอระบบการบริหารจัดการในการดําเนินงานเดมิ ไดมกี ารพฒั นาอาชีพทีท่ ําอยู เพื่อลดรายจาย เพิ่ม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยรายได และลดตน ทนุกลยุทธ 1) กําหนดกลมุ เปา หมาย ท่หี ลากหลายและท่ัวถงึ 2) พฒั นาแหลงเรียนรู และภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ ใหเปนฐานการเรยี นรูข องชมุ ชน 3) ประสานเครอื ขายในพนื้ ที่ ใหม ีสว นรว มในการจดั การศึกษา และพฒั นาคุณภาพผเู รียน 4) พัฒนาสอ่ื การเรียนรู ดว ยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสงเสรมิ การเรียนรทู ห่ี ลากหลากขยายโอกาสทางการศกึ ษาโดยใชก ระบวนการเทียบโอนผลการเรยี นตางหลกั สูตร ใหกลมุ เปาหมายในพื้นท่ีเขตลาดพรา ว อยางทวั่ ถึงรายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 กศน.เขตลาดพรา ว หนา 30 แผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กิจกร1. จดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานนอก กําหนด 1. โครงการสงเสรมิ กา หนังสอืระบบระดบั ประถมศึกษา กลุมเปา หมาย 2. โครงการจดั การศึก หลักสูตรการศกึ ษาข้ันมัธยมศึกษาตอนตน และมธั ยมศึกษา ท่หี ลากหลาย พุทธศกั ราช 2551 3. โครงการจัดการศึกตอนปลายแกประชาชนในพืน้ ท่เี ขต และทั่วถงึ พฒั นาอาชีพ (ฝก ทักษ 4. โครงการจัดการศึกลาดพราว นอกโรงเรยี นสําหรับผ2. ยกระดับความรูของประชาชนท่ีพลาดโอกาสศึกษาในระบบโรงเรียนไดม ีโอกาสเรียนตอ ในระดับที่สงู ข้นึ3. เพอ่ื ใหกลุมเปาหมายผูพลาดโอกาสทางการศกึ ษาสามารถนาํ ความรูท่ไี ดร ับไปปรบั ปรงุพัฒนาการประกอบอาชีพและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนเองครอบครัวและสังคมใหด ขี น้ึ4. จดั การศกึ ษาเกย่ี วกบั อาชีพตามความตองการเพอื่ ใหกลมุ เปา หมายสามารถประกอบอาชีพอสิ ระตาม รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 รรม เปา หมาย ตวั ช้วี ัด เกณฑความ ปง บประมาณ ความสาํ เร็จ สาํ เร็จารรู จํานวน/คน (รอยละ) 32 1. ตวั ช้ีวดั เชิงปรมิ าณ 85กษาตาม 1,124 1.1 รอยละของประชากรกลุมตาง ๆนพ้ืนฐาน ประชากรวยั แรงงานผดู อยโอกาส ผูพกิ ารกษาเพ่ือ กลุมชาติพนั ธุ และกลมุ ผูสูงอายุไดรับบริการษะอาชพี )กษา 238 การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามผสู ูงอายุ อธั ยาศัยอยางทัว่ ถงึ ครอบคลุมและเปน ธรรม 100 1.2 รอยละของประชากรวยั แรงงานท่เี ขา รบั การศึกษาอาชีพเพือ่ การมีงานทํามี สมรรถนะในการประกอบอาชีพทเี่ พมิ่ ข้นึ 1.3 รอยละของชุมชนทม่ี ฐี านอาชพี เพ่มิ ขึ้นอันเน่ืองมาจากการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทาํ ของสถานศึกษา 1.4 รอยละของภาคีเครือขา ยในการ ดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยเพิ่มมากข้นึ 1.5 สถานศึกษา ใชเ ทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาและเทคโนโลยี กศน.เขตลาดพรา ว หนา 31 เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรความถนดั และความสนใจของตน5. เพอ่ื พัฒนาอาชีพใหกลมุ เปาหมายทีม่ อี าชีพเดิมไดม ีการพฒั นาอาชพี ที่ทําอยู เพื่อลดรายจา ย เพม่ิ รายไดและลดตนทนุ6. จัดและสง เสริมใหกลุมเปาหมายประชาชนทว่ั ไป เยาวชนและผูสูงอายุไดแลกเปลี่ยนเรยี นรู และฝกทักษะท่ีจาํ เปน ตอการดาํ รงชวี ิตรว มกนั7. กลมุ เปา หมายมีความรู ความเขาใจและมที ักษะทีจ่ ําเปนสําหรบัการดํารงชวี ิต ในสังคมปจ จบุ ันเกี่ยวกบั หลักประชาธปิ ไตย การมีสวนรว มทางการเมือง การปองกนัแกไ ขตดิ สารเสพติด8. เพ่อื ใหกลมุ เปา หมายสามารถนําความรจู ากการรว มเขา กิจกรรมไปรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปง บประมาณ 2560 เปา หมาย ตัวชว้ี ดั เกณฑความรรม ปงบประมาณ ความสาํ เรจ็ สาํ เรจ็ (รอ ยละ) จํานวน/คน สารสนเทศและการสอ่ื สาร ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบรหิ ารองคกรและบริการ การศึกษาและการเรยี นรูใหกับประชาชน 1.6 รอยละของผูรบั บริการทใี่ ชเทคโนโลยี เพ่ือการศึกษาและเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร ของสถานศึกษา 1.7 รอ ยละของบุคลากรประเภทและ ระดับตา งๆของสถานศึกษาท่ไี ดร บั การ พัฒนาเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย 2. ตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 รอ ยละของผูรบั บริการการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ ตา ง (ประชากรวัยแรงงานผู ดอ ยโอกาส ผูพิการ กลมุ ชาติพันธุ และกลุมผูส งู อายุ)ท่ีมีความ พงึ พอใจตอบริการท่ไี ดรับกศน.เขตลาดพราว หนา 32 เปา ประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรปรบั ใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยางเหมาะสม9. สนบั สนุนใหกลมุ เปาหมายทไ่ี ดร ับการศึกษา หลกั สตู รระยะสัน้ นาํความรูท ่ไี ดรบั นําไปใชในการพฒั นาการประกอบอาชพี และการดํารงชีวิตในสังคมไดอ ยางมคี ุณภาพ10. เพ่ือสนองตอบตอ ความตองการของประชาชน ในการเปน ผใู ฝรู และตองการศึกษาอยางตอเนอื่ ง ในหลักสตู รท่สี นใจและมีความตองการพัฒนาตนเอง11. จัดกระบวนการเรยี นรตู ามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหกับผรู บั บรกิ ารและประชาชนในชมุ ชนใหเ ปน ชมุ ชนเขมแข็งรายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจาํ ปงบประมาณ 2560 เปาหมาย ตวั ช้วี ดั เกณฑค วามรรม ปง บประมาณ ความสําเรจ็ สําเร็จ (รอยละ) จํานวน/คน 2.2 รอ ยละของประชากรวัยแรงงานที่ สาํ เรจ็ การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําท่ี สามารถนาํ ความรูไปใชใ นการสรางรายได ใหกับตนเองและครอบครัว 2.3 รอยละของชุมชนทีส่ ามารถสรางฐาน อาชพี ใหม และมีความสามารถเชงิ การ แขง ขันกศน.เขตลาดพรา ว หนา 33 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กิจกร12.สงเสริมแหลงเรียนรู ภูมิปญญา 2) พฒั นาแหลง 5. โครงการพฒั นาศนูทองถ่ินใหมีสวนรวมในการรวมจัด เรยี นรู และภูมิ เรียนชมุ ชนใหเปน แหลกิจกรรมการศึกษานอกระบบ ปญญาทองถ่นิ ตลอดชีวติ13. สง เสรมิ การอาน จดั มุมอาน ใหเ ปน ฐานการ 6. โครงการประกันคุณหนงั สือ กระดานขาวตลอดจนแผน เรียนรูข อง สถานศึกษาประชาสมั พันธขยายเขา สูชุมชน ชุมชน 7. โครงการประชาสมั14. พัฒนาหองสมดุ ตูคอนเทรนเนอร 3) ประสาน กศน.ลาดพรา วใหม ีชวี ิต มกี ารจดั กจิ กรรมเคล่ือน เครือขายใน (จดหมายขาว)ไหวอยา งตอเนอ่ื ง พืน้ ที่ ใหม สี ว น 8. โครงการจดั ทําทําเน1 5. เชื่ อ ม โย งเค รือ ข าย ใน ก า ร รวมในการจัด เครอื ขายเพื่อจดั การศแลกเปล่ียนเรียนรูเพื่อการพัฒนา การศกึ ษา และ โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียงใหเกิดการพัฒนา พัฒนาคุณภาพ 9. โครงการระดมทรัพอยางย่ังยนื ผเู รียน พฒั นาสถานศึกษาและ16. พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนให 4) พฒั นาสอ่ื การ การศกึ ษาเป น แ ห ล งเรี ย น รู ร า ค า ถู ก เพ่ื อ เรยี นรู ดว ย 10. โครงการจดั แสดงใหบรกิ ารขอมูลขาวสารแกชุมชน ระบบเทคโนโลยี วิชาการของนักศึกษา17. หาส่ือ สงิ่ พมิ พร วมทงั้ ส่ือ สารสนเทศ เพื่ออเิ ลคทรอนิกสและส่ืออืน่ ๆ ไว สงเสรมิ การ รายงานประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจําปงบประมาณ 2560