Scenery ใช เป นเอกพจน ต องเต ม s ไหม

คำกริยาภาษาอังกฤษเมื่อใช้ในประโยคที่มีประธานเป็นพหูพจน์ก็จะต้องเติม -s หรือ -es ท้ายคำ แต่เคยสังเกตุกันบ้างไหมว่าคำไหนต้องเติม -s คำไหน -es

เอาล่ะวันนี้เราจะมีดูวิธีเติม -s กับ -es กัน

คำกริยาส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย -s ไม่ใช้ -es

เติม -s เมื่อไหร่

กรณีที่ 1 เมื่อเป็นกริยาเอกพจน์ธรรมดา

1 dog, 2 dogs, 3 dogs

1 town, 2 towns, 3 towns

1 book, 2 books, 3 books

กรณีที่ 2 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายแล้วสระ (a,e,i,o,u) แล้วตามด้วย y ให้เติม -s หลัง y ได้เลย

pay, pays

buy, buys

เติม -es เมื่อไหร่

กรณีที่ 1 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายด้วย -s หรือ -ss

1 bus, 2 buses

1 kiss, 2 kisses

1 class, 2 classes

1 business, 2 businesses

กรณีที่ 2 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายด้วย -x

1 fox, 2 foxes

1 box, 2 boxes

a reflex, all reflexes

กรณีที่ 3 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายด้วย -ch

1 church, 2 churches

1 witch, 2 witches

กรณีที่ 4 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายด้วย -sh

1 dish, 2 dishes

1 bush, 2 bushes

กรณีที่ 5 เมื่อกริยาเอกพจน์ลงท้ายด้วย y ให้เปลี่ยน y เป็น i

study, studies

try, tries

** ส่วนคำว่า do กับ go ให้เติม -es ได้เลย

do, does

go, goes

แค่จำหลักการเติม -s และ -es ได้ก็ไม่ต้องกังวลแล้วล่ะว่าคำกริยาของเราจะต้องเติมอะไรดี แล้วคราวหน้าเราจะมาสอนวิธีออกเสียงกริยาที่ลงท้ายด้วย s, es กันค่ะ

Scenery ใช เป นเอกพจน ต องเต ม s ไหม

M W Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษPDF

แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษPDF

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แบบฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษPDF

นามนับไม่ได้ ( uncountable nouns ) โดยทั่วไปเป็นเอกพจน์ ( Singular ) แต่มีข้อยกเว้นสำหรับบางคำสามารถทำให้เป็นพหูพจน์ ได้

ในบทนี้จะกล่าวถึงการทำให้เป็นพหูพจน์ของทั้งนามนับได้และนามนับไม่ได้ ซึ่งมีหลักกว้างๆคือ

  • นามนับได้ ส่วนใหญ่ทำให้เป็นพหูพจน์โดยการเติม - s ที่ท้ายคำ นามนับไม่ได้โดยทั่วไป ทำเป็นพหูพจน์ไม่ได้ ( แต่มีข้อยกเว้น ซึ่งทำให้กลายเป็นคำนามที่ใช้อย่างนามนับได้ เช่น wine ปกติเป็นนามนับไม่ได้ แต่สามารถนำมาใช้แบบนับได้คือ wines หมายถึง เหล้าองุ่นชนิดต่างๆ )

โรงเรียนกสณิ ธรเซนตป์ เี ตอร์ สรปุ เน้ือหาบทเรียน ปลายภาคเรยี นท่ี 2/2563 วิชาภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ******************************************************************************** สรปุ เนือ้ หาสอบ รายวชิ าภาษาไทย ป.4 มาตราตวั สะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา มาตราตัวสะกดตรงมาตรา ใช้ตัวสะกดตัวเดียว มี 4 มาตรา ได้แก่ 1. แม่กง ใช้ ง สะกด 2. แมก่ ม ใช้ ม สะกด 3. แมเ่ กย ใช้ ย สะกด 4. แมเ่ กอว ใช้ ว สะกด มาตราตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา คือมาตราทม่ี ีตัวสะกดออกเสียงในมาตราเดยี วกันหลายตวั มี 4 มาตรา 1. แมก่ น ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด 2. แมก่ ก ใช้ ก ข ค ฆ สะกด 3. แม่กด ใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด 4. แม่กบ ใช้ บ ป ภ พ ฟ สะกด * หากคาดงั กลา่ วมีตัวสะกดตรงตามมาตราท้งั 8 มาตรา ( ก ง ด บ น ม ย ว ) ถือวา่ เปน็ คาท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา การันต์ ตัวการันต์ คือ พยัญชนะทีม่ ีไม้ทณั ฑฆาต (-์) กากับอยู่ ซึง่ ตัวการันต์สามารถอยรู่ ะหวา่ งคาหรือทา้ ยของคาก็ไดซ้ งึ่ เราจะไม่ออก เสียงพยญั ชนะทม่ี ตี ัวการันต์ เชน่ คาวา่ สัตว์ อ่านว่า สดั *จะไม่ออกเสียง ว์ เลยแม้แตน่ ิดเดียว จดุ สงั เกตคาสว่ นมากคาท่มี ตี ัวการันตอ์ ย่ตู รงกลางจะเปน็ คาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศซ่ึงเราจะอา่ นคาน้ันมีการอ่านแบบทบั คาศัพท์ลงไปเลย เชน่ คาว่า คอนเสริ ต์ อา่ นวา่ ค็อน-เสดิ คาทีม่ ี เคร่ืองหมายทัณฑฆาตกากบั และมีพยัญชนะซ่ึงไมม่ ีตัวสะกดอยู่ข้างหน้า เรากจ็ ะไม่อ่านออกเสียงพยัญชนะท่ีอยูข่ ้างหนา้ นั้นด้วยเช่น จนั ทร์ อ่านวา่ จนั *เน่ืองด้วย ร์ มีพยัญชนะ ท อยขู่ ้าหนา้ แต่ไม่มตี ัวสะกด เรากจ็ ะไม่อา่ นออกเสยี ง ทร์ ดว้ ยเช่นกนั สดุ ท้ายพยญั ชนะทา้ ย ทมี่ ีสระ และ เครอ่ื งหมายทัณฑฆาตกากับเราก็จะไมอ่ า่ นออกเสยี งทง้ั สระและพยญั ชนะดว้ ยเช่นกัน เช่นคา ว่า บรสิ ทุ ธิ์ อา่ นว่า บอ-ร-ิ สดุ *เสยี ง ธ์ิ จะไม่อา่ นออกเสียงเลย สาหรบั คา ท่มี ตี วั การันตเ์ ราจะสรปุ ส้ันๆได้ง่ายๆ คอื ตัวไหนมีตวั ทัณฑฆาตกากบั อยู่ คาน้นั กจ็ ะไมอ่ า่ นออกเสยี ง พยญั ชนะ หรือ สระตัวน้ัน เลย คายมื ภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทย การยมื คาภาษาองั กฤษมาใช้ในภาษาไทย การทับศัพท์ โดยการถ่ายเสยี งและถอดตัวอักษร คายืมจากภาษาอังกฤษโดยวิธีการทับศัพทม์ ีจานวนมาก คาบางคา ราชบัณฑติ ยสถานได้บญั ญตั ิศัพท์เปน็ คาไทยแลว้ แตค่ นไทยนยิ มใชค้ าทับศัพท์มากกว่า เพราะเขา้ ใจง่าย สื่อสารได้ชัดเจน เชน่ คาภาษาอังกฤษ game คาทับศพั ท์ เกม คาภาษาอังกฤษ clinic คาทบั ศัพท์ คลนิ กิ คาภาษาอังกฤษ technology คาทับศัพท์ เทคโนโลยี

การบัญญัติศพั ท์ เปน็ วิธกี ารยมื คา โดยรบั เอาเฉพาะความคิดเกย่ี วกับเร่ืองน้นั มาแล้วสรา้ งคาขึน้ ใหม่ ซง่ึ มีเสียงแตกต่างไปจากคา เดิม โดยเฉพาะศัพทท์ างวชิ าการจะใชว้ ธิ ีการน้ีมาก ผู้ท่ีมหี น้าท่บี ญั ญตั ศิ ัพทภ์ าษาไทยแทนคาภาษาอังกฤษ คือ ราชบณั ฑติ ยสถาน เช่น คาภาษาองั กฤษ airport คาบญั ญัติศัพท์ สนามบิน คาภาษาอังกฤษ science คาบัญญัติศัพท์ วิทยาศาสตร์ การแปลศพั ท์ วธิ กี ารนจ้ี ะต้องใชว้ ิธกี ารคิดแปลเปน็ คาภาษาไทยให้มีความหมายตรงกบั คาในภาษาอังกฤษ แลว้ นาคาน้ันมาใช้ สือ่ สารในภาษาไทยต่อไป ดังตวั อยา่ ง เช่น คาภาษาอังกฤษ blackboard คาบญั ญัติศัพท์ กระดานดา คาภาษาอังกฤษ enjoy คาบญั ญัติศัพท์ สนุก คาภาษาองั กฤษ school คาบญั ญตั ิศัพท์ โรงเรยี น คายมื ภาษาจนี ที่มใี ชใ้ นภาษาไทย หลกั การสังเกตคาภาษาไทยที่มาจากภาษาจีน 1. นามาเปน็ ชอ่ื อาหารการกนิ เช่น ก๋วยเต๋ยี ว เต้าทงึ แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย เปน็ ตน้ 2. เป็นคาทเี่ กี่ยวกับส่งิ ของเครอ่ื งใชท้ เ่ี รารบั มาจากชาวจีน เชน่ ตะหลิว ตกึ เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซยุ้ 3. เป็นคาทเี่ กยี่ วกบั การค้าและการจัดระบบทางการคา้ เช่น เจ๋ง บว๋ ย หนุ้ ห้าง โสหุ้ย เปน็ ตน้ 4. เป็นคาท่ใี ช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นสว่ นมาก เชน่ กวยจบ๊ั กยุ๊ เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุน๋ เปน็ ตน้ การใชพ้ จนานกุ รม ( การเรยี งคาตามพจนานกุ รม ) เทคนิคพเิ ศษการเรยี งลาดบั คาตามพจนานุกรม 1. เรียงลาดบั คาในพจนานุกรมซึง่ เรียงลาดบั ตามรูปพยัญชนะมาก่อนรปู สระ ตัง้ แต่ ก-ฮ ข้อสังเกตจะมตี ัวอักษรเพมิ่ เตมิ 4 ตัว คือ ฤ ฤๅ จะอยูห่ ลัง ร และ ฦ ฦๅ จะอยหู่ ลัง ล จะเรยี งลาดับไดด้ ังน้ี ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ 2. คาในพจนานกุ รมจะไม่เรียงลาดับตามเสียงอ่าน แต่จะเรียงลาดบั ตามรูปพยญั ชนะ เชน่ คาว่า หญงิ มาก่อน คาวา่ หลาย เพราะ ญ มากอ่ น ล 3.คาทีข่ ึ้นต้นด้วยพยัญชนะตามดว้ ยพยัญชนะ จะมาก่อนคาท่ขี ึน้ ต้นดว้ ยพยัญชนะตามดว้ ยสระ เช่น คาว่า ของ มากอ่ น คาวา่ ขาย 4. คาทข่ี น้ึ ต้นด้วยพยญั ชนะและตามด้วยสระ ซ่ึงรูปสระเรียงลาดบั ดังนี้

 ตรงนี้ครขู อนาเสนอเทคนิคการเรยี งลาดบั รูปสระจาได้งา่ ย นาไปใชไ้ ด้จรงิ ลองดนู ะคะ สูตรท่ี 1 จะ จับ ตบ (ผัวะ) ตา ดา สูตรที่ 2 ดนิ ดี ถงึ มอื คุณ ครู สูตรท่ี 3 เต เตะ เงา เงาะ เงนิ สตู รท่ี 4 เฮยี เฮียะ เรอื เบอื ะ แก สูตรท่ี 5 แทะ โด โซะ ใน ไห 5.เรียงลาดบั ตามรปู วรรณยกุ ต์ โดย ไม่มีรูปวรรณยกุ ต์จะเรียงลาดบั กอ่ น ดงั น้ี สามญั เอก โท ตรี จตั วา 6. ไมไ้ ต่คู้ จะมาก่อน วรรณยุกต์ เอก โท ตรี จัตวา เชน่ เกง็ เก่ง เก้ง คาราชาศัพท์ คาท่ีใช้สาหรบั พระภกิ ษสุ งฆ์ คาสภุ าพ คาราชาศัพท์ หมายความว่า ศัพทห์ ลวง ศัพทร์ าชการ และหมายรวมถึงคาสุภาพซึ่งนามาใชใ้ หถ้ ูกต้องตามชน้ั หรือฐานะของ บุคคล บคุ คลผ้ทู ี่พดู ต้องใช้ราชาศพั ท์ดว้ ย จาแนกเป็น 5 ประเภท คือ 1. พระมหากษตั รยิ ์ 2. พระบรมวงศานวุ งศ์ 3. พระสงฆ์ 4. ข้าราชการชน้ั สูงหรอื ขนุ นาง 5. สภุ าพชนท่ัวไป คาราชาศัพทท์ ี่ควรทราบ (หมวดรา่ งกาย) ( หมวดเครอื ญาติ )

คาท่ใี ช้สาหรบั พระภกิ ษสุ งฆ์ คาสภุ าพ

ภาษาพูด – ภาษาเขยี น ภาษาพดู คอื ภาษาเฉพาะกลุ่ม หรอื เรียกวา่ ภาษาปาก เชน่ พวกภาษากล่มุ วัยรนุ่ บางคร้งั ฟงั แลว้ ดไู ม่สภุ าพ มักใช้พูด ระหว่างคนท่ีสนิทสนมกันมากๆ ภาษาเขียน คอื ภาษาเขยี นที่ลกั ษณะเคร่งครดั ในหลกั ทางภาษา เรยี กวา่ ภาษาแบบแผน ระดบั ไมเ่ ครง่ ครัดมากนัก เรียกว่า ภาษากึง่ แบบแผน หรือ ภาษาไม่เปน็ ทางการ ภาษาพูด ภาษาเขียน 1. เป็นไง 1.เป็นอยา่ งไร 2. เอาไงดี 2.ทาอยา่ งไรดี 3. จรงิ ๆ แล้ว 3.อนั ท่จี ริง 4. งานยุ่งชะมดั 4.มีงานมาก 5. ขนุนลูกนี้อร่อยจัง 5.ขนุนลกู (ผล) นอ้ี ร่อยมาก 6. ที่ริมคลองมีต้นไม้เยอะแยะเลย 6.ทรี่ ิมคลองมีต้นไม้มากมายหลายชนิด 7. ขอ้ สอบนกี้ ลว้ ยมาก 7.ข้อสอบนง้ี ่ายมาก คาคลอ้ งจอง คาคลอ้ งจอง คือ คาที่มีสระเสยี งเดยี วกันหรอื คาท่มี ีเสียงสระและตวั สะกดในมาตราเดียวกนั ขอ้ สาคัญในการแตง่ คาประพนั ธ์ทุก ชนดิ คอื คาคลอ้ งจอง ลกั ษณะของคาคล้องจอง * คาคลอ้ งจอง 1 พยางค์ คือคาที่ออกเสียงเพยี งคร้ังเดียว มีสระเสยี งเดยี วกัน ตัวสะกดมาตราเดยี วกนั สว่ นรูปและเสยี ง วรรณยุกต์ตา่ งกันได้คาคล้องจอง 1 พยางค์ มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. คาคลอ้ งจอง 1 พยางค์ ไม่มีตวั สะกด เช่น กา ตา มา พา ปลา ยา 2. คาคลอ้ งจอง 1 พยางค์ มีตัวสะกด เช่น กนิ ดนิ ปน่ิ หิน สิน้ นลิ * คาคล้องจอง 2 พยางค์ ทพี่ ยางค์สดุ ท้ายของกลมุ่ คาแรก มเี สยี งคลอ้ งจองกับพยางคแ์ รกของกลุม่ คาหลงั เช่น ความดี มอี ยู่ คู่กนั ฝันหวาน * คาคล้องจอง 3 พยางค์ ที่พยางค์สดุ ท้ายของกลุ่มคาแรก มเี สียงคลอ้ งจองกับพยางคแ์ รกของกลมุ่ คาหลัง เช่น ตั้งใจเรียน เพยี รศกึ ษา หาความรู้ คาคล้องจอง 3 พยางค์ ทีพ่ ยางคส์ ุดท้ายของกลมุ่ คาแรก มีเสยี งคล้องจองกับพยางค์ท่ีสองของกลุ่มคาหลงั เชน่ เราทกุ คน ฝกึ ฝนงาน ประสานใจ ความใฝร่ ู้ * คาคล้องจอง 4 พยางค์ ทพ่ี ยางคส์ ุดทา้ ยของกลุ่มคาแรก มเี สยี งคล้องจองกบั พยางค์แรกของกลุ่มคาหลงั เช่น ทรพั ยส์ นิ เงินทอง ของใชใ้ นบ้าน รา้ นขายหนงั สือ ถือของมากมาย คาคล้องจอง 4 พยางค์ ท่ีพยางค์สุดท้ายของกลุ่มคาแรก มเี สียงคลอ้ งจองกับพยางค์สองของกลุม่ คาหลัง เช่น เด็กไทยวนั นี้ ต้องดีต้องเก่ง รีบเรง่ ค้นควา้ สบื หาความรู้

ประโยคเพือ่ การสอ่ื สาร ประโยค คอื กล่มุ คาท่ีนามาเรียงต่อกันอยา่ งมรี ะบบ สามารถเข้าใจไดว้ า่ ใคร ทาอะไร แบ่งออกไดเ้ ป็น 6 ประเภท ตามการ สือ่ สาร ได้แก่ 1) ประโยคบอกเลา่ เปน็ ประโยคทีใ่ ช้บอกเล่าเรื่องราวตา่ งๆ เช่น - เมอ่ื วานน้ฉี ันดูละคร - นกั เรยี นรบั ประทานข้าว 2) ประโยคปฏิเสธ เป็นประโยคที่แสดงถึงการไมย่ อมรับ มักจะมคี าว่า “ไม่” ในประโยค เช่น - ฉันไม่รู้จักเขา 3) ประโยคคาถาม มักจะมคี าว่า ใคร ทาอะไร ทีไหน เมื่อไหร่ จะใช้ประโยคคาถามเมื่อต้องการคาตอบ เช่น - คุณคือใคร 4) ประโยคแสดงความต้องการ แสดงถึงความอยากได้ อยากมี อยากเป็น มกั มีคาว่า ปรารถนา อยาก ตอ้ งการ เช่น - เธอตอ้ งการกระเป๋าสีแดงใบนั้น - ฉนั อยากเป็นหมอ 5) ประโยคคาสงั่ เป็นประโยคทีใ่ ห้คนอื่นทาหรือไม่ทาสิง่ ใดส่ิงหนงึ่ มกั มคี าว่า จง ตอ้ ง ห้าม อยา่ เช่น - อย่าเดนิ ลดั สนาม 6) ประโยคขอร้อง แสดงถึงความตอ้ งการขอความช่วยเหลือหรือ ขอความร่วมมอื ในลักษณะต่างๆ มักจะมีคาว่าโปรด กรณุ า ช่วย นาหน้าประโยค ดังกล่าว เช่น - โปรดเอ้อื เฟอ้ื ท่นี ่งั ตอ่ คนชรา - กรณุ าระมัดระวงั การใช้ถนน ************************************************

โรงเรียนกสิณธรเซนต์ปเี ตอร์ สรุปเน้ือหาก่อนสอบ วชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 8 เศษส่วน ความหมายของเศษส่วน 1) เศษส่วน หมายถึง ส่วนหน่งึ ๆ ของจานวนทั้งหมดท่ีแบง่ ออกเปน็ ส่วนๆ เท่าๆ กัน เช่นแบ่งแตงโม 1 ผล ออกเปน็ 4 สว่ นเทา่ ๆ กัน แตงโม 1 ซีก หมายถึง 1 ใน 4 ของแตงโมทั้งหมด เขียนแทนด้วย 1 2) เศษส่วน หมายถึง ส่วนตา่ ง ๆ ของเซตทีถ่ ูกแบง่ ออกเปน็ เซตย่อยที่มีจานวนสมาช4ิกเท่ากัน เช่น เด็กชาย 2 คน คดิ เป็น 2/6 = 1/3 ของจานวนเด็กชาย 6 คน 3) เศษส่วน หมายถึง การเขยี นเลขในรูปของผลหาร โดยมเี ศษเปน็ ตัวต้ังและส่วนเป็นตวั หาร เชน่ แบง่ เด็ก 6 คน ออกเปน็ 3 กลุ่ม จะได้กลมุ่ ละกี่คน เขยี นแทนด้วย 6/3 = 2 คน การใช้สัญลกั ษณแ์ ทนเศษส่วน ส่วน หมายถึง จานวนทั้งหมดแบ่งออกเปน็ สว่ นเท่าๆกัน เศษ หมายถงึ จานวนทีต่ ้องการจากจานวนที่แบง่ เปน็ ส่วนๆ วธิ เี ขียนและอา่ นเศษส่วน 1 ใน 2 เขียน 1/2 อ่านวา่ เศษหนึง่ สว่ นสอง 5 ใน 9 เขยี น 5/9 อ่านวา่ เศษหา้ สว่ นเกา้

ชนิดเศษส่วนแบง่ ส่งออกเป็น 4 ชนิด 1.) เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนทมี่ คี ่าน้อยกวา่ 1 หรอื ตัวเศษมคี ่าน้อยกว่าสว่ น เช่น 3/4 , 9/10 เป็นต้น 2.) เศษส่วนเกิน คอื เศษสว่ นทม่ี ีค่ามากกวา่ 1 หรือตัวเศษมคี ่ามากกว่าส่วน เช่น 3/2 , 10/9 เป็นต้น 3.) เศษส่วนคละ คือ เศษสว่ นทีม่ จี านวนเต็มและเศษส่วนแทค้ ละกนั 4.) เศษซ้อน คือ เศษสว่ นทีเ่ ศษหรอื สว่ นเปน็ เศษส่วน หรอื ทั้งเศษส่วนเปน็ เศษสว่ น เศษสว่ นชนดิ เดยี วกนั เศษสว่ นชนิดเดียวกนั หมายถงึ เศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน

เศษสว่ นทีเ่ ท่ากัน เชน่ 2/6=1/3 การเปรียบเทียบเศษสว่ น 1) การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นชนิดเดยี วกนั (มีส่วนเท่ากนั ) ใหพ้ จิ ารณาดูเศษ เศษส่วนที่มเี ศษมากยอ่ มมีค่า มากกว่าเศษส่วนทมี่ ีเศษน้อย 2) การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นต่างชนิดกัน (มสี ่วนไม่เทา่ กัน) ก.) เศษส่วนทมี่ ีเศษเทา่ กันแต่ส่วนไม่เทา่ กันให้พิจารณาท่สี ่วนคอื เศษสว่ นท่มี สี ่วนนอ้ ยย่อมมีคา่ มากกว่าเศษส่วน ทีม่ ี ส่วนมาก ข.) เศษส่วนท่ีมเี ศษและส่วนไมเ่ ท่ากนั ให้ทาให้เศษส่วนเหลา่ นน้ั เป็นเศษสว่ นชนดิ เดยี วกันเสยี ก่อนแล้วจงึ พิจารณา เปรียบเทียบ การบวกลบเศษส่วน เศษส่วนชนดิ เดยี วกนั ให้เอาเศษมาบวกลบกันได้เลย สว่ นสว่ นมคี า่ คงเดิม เศษสว่ นที่มสี ว่ นไมเ่ ทา่ กนั ทาเศษส่วนให้เปน็ เศษสว่ นชนดิ เดียวกนั ก่อน แล้วจึงนาเศษส่วนมาบวกลบกันเหมือน วิธี 1

การแปลงเศษส่วน การแปลงเศษส่วน หมายถงึ การเปล่ียนแปลงเศษสว่ นจากชนิดหนงึ่ ไปเป็นเศษส่วนอีกชนอิ หนึ่ง โดยที่คา่ เศษสว่ นชดุ เดมิ นัน้ ไม่เปลย่ี นแปลงเชน่ เศษส่วนเกนิ เปน็ เศษสว่ นคละหรอื การแปลงเศษส่วนคละใหเ้ ปน็ เศษ ส่วนเกนิ เปน็ ตน้ การขยายเศษส่วน การขยายเศษสว่ น เปน็ การแปลงเศษสว่ นอกี ลักษณะหน่งึ โดยใหจ้ านวนเลขท่ีเป็น เศษส่วนมจี านวนมาก กว่าเดิม แต่ค่าของเศษสว่ นชดุ เดมิ ไมเ่ ปล่ียนแปลง การทอนเศษส่วน การทอนเศษส่วน คือ การแปลงเศษส่วนทท่ี าให้ตวั เลขทัง้ เศษและส่วนน้อยลง โดยค่าของเศษสว่ นนัน้ ไม่ เปลี่ยนแปลง หนว่ ยที่ 9 ทศนยิ ม ทศนิยมนนั้ จะเข้ามามบี ทบาทในชีวติ ประจาวนั ของเราตลอด ไมว่ ่าจะเปน็ การบอกค่าของเงินทีเ่ ราใชก้ ารบอก เวลา บอกหนว่ ยความยาว ฯลฯ ทศนยิ ม หมายถงึ ค่าของจานวนเตม็ ท่แี บง่ ออกเปน็ สบิ สว่ น รอ้ ยส่วน พนั ส่วน .... เท่า ๆ กนั ซง่ึ เขียนได้ในรูป ของเศษสว่ น

การอา่ นทศนิยม เลขท่อี ย่หู นา้ ทศนิยมเปน็ เลขจานวนเต็ม อ่านเช่นเดียวกบั ตวั เลขจานวนเตม็ ทว่ั ไป ส่วนตวั เลขหลังจุดทศนิยม เปน็ เลขเศษของเศษสว่ นซงึ่ มีค่าไม่ถงึ หนง่ึ อ่านตามลาดบั ตัวเลขไป เชน่ 635.1489 อ่านวา่ หกรอ้ ยสามสิบห้าจดุ หนงึ่ ส่ี แปดเก้า ถา้ เลขจานวนนัน้ ไม่มีจานวนเต็ม จะเขียน 0 (ศูนย)์ ไว้ตาแหน่งหลักหน่วยหน้าจุดได้ เชน่ .25เขียนเปน็ 0.25 ก็ได้ การเรียกตาแหน่งทศนิยม การกระจายทศนิยมจานวน 327.35 จะเขยี นให้อย่ใู นรปู กระจายได้ดังน้ี 3 อยใู่ นหลักร้อย มีค่า 300 2 อย่ใู นหลกั สิบ มีค่า 20 7 อยใู่ นหลักหน่วย มีค่า 7 3 อยหู่ ลังจุดเปน็ ตวั แรกเรียกว่าหลักสว่ นสบิ ซึ่งมีคา่ หรือ 0.3 5 อยหู่ ลังจดุ เป็นตัวที่สองเรียกวา่ หลกั ส่วนร้อย ซง่ึ มีค่า หรอื 0.05 ดังน้นั 327.35 อา่ นวา่ สามร้อยยส่ี บิ เจด็ จดุ สามห้าหรือสามารถเขยี นในรปู กระจายการบวกได้คือ 327.35 = 300 + 20 + 7 + 0.3 + 0.05

การบวกเลขทศนยิ ม คอื ตง้ั ใหจ้ ดุ ทศนิยมตรงกัน แล้วทาการบวกตามการบวกเลขธรรมดาทว่ั ๆ ไป เชน่ 35.05 , 27.09 35.05 + 27.09 62.14 การลบทศนิยม จะเห็นวา่ ได้ผลลพั ธ์เทา่ กนั ดังนน้ั ก็สามารถบอกไดว้ ่า การหาผลคณู โดยใชว้ ิธกี ารนาทศนิยมมาบวกซ้า ๆ กัน ให้เท่ากับจานวนที่เอามาคณู ได้ และอาจใชว้ ธิ ตี ง้ั หลักเลขและจุดทศนิยมใหต้ รงกัน แลว้ บวกกันโดยใช้หลักการ เชน่ เดยี วกบั การบวกจานวนนับ ทศนยิ มและเศษส่วน การเขียนทศนยิ มให้เปน็ เศษส่วน ตวั อย่าง จงเขยี น 2.5 ใหเ้ ปน็ เศษสว่ น วิธีทา 2.5 = 2 กบั 5 ใน 10 การเขียนเศษส่วนให้เป็นทศนิยม 1.) เศษส่วนที่มสี ่วนเป็น 10 หรือ 100 หรอื 10 ยกกาลัง สามารถเปลี่ยนเปน็ ทศนิยมได้เลย เช่น 75/100 = 0.75 2.) เศษส่วนท่ไี ม่มสี ่วนเป็น 10 หรือ 100 หรือ 10 ยกกาลัง ใหเ้ ปลยี่ นเปน็ เศษส่วนท่ีมีส่วนเปน็ 10 หรอื 100 หรอื 10 ยกกาลงั ก่อน เชน่

ทศนิยม และเศษส่วน การเขียนทศนิยมใหเ้ ปน็ เศษส่วน ตวั อย่าง จงเขยี น 2.5 ให้เปน็ เศษส่วน วธิ ที า 2.5 = 2 กับ 5 ใน 10 การเขยี นเศษสว่ นให้เป็นทศนิยม 1.) เศษส่วนทีม่ ีส่วนเปน็ 10 หรือ 100 หรือ 10 ยกกาลงั สามารถเปลีย่ นเปน็ ทศนิยมได้เลย เช่น 75/100 = 0.75 2.) เศษสว่ นท่ีไมม่ สี ว่ นเป็น 10 หรอื 100 หรือ 10 ยกกาลงั ใหเ้ ปลยี่ นเป็นเศษสว่ นที่มีสว่ นเป็น 10 หรือ 100 หรือ 10 ยก กาลังก่อน เช่น เรยี นรูเ้ พม่ิ เติม การเขยี นเศษสว่ นเป็นทศนยิ ม การกระจายทศนยิ ม จานวน 327.35 จะเขยี นให้อยู่ในรปู กระจายได้ดงั น้ี 3 อยใู่ นหลักร้อย มคี ่า 300 2 อยู่ในหลักสิบ มีคา่ 20 7 อยู่ในหลักหน่วย มคี ่า 7 3 อยหู่ ลังจดุ เปน็ ตวั แรกเรียกว่าหลักสว่ นสบิ ซึง่ มคี ่า หรอื 0.3 5 อยูห่ ลังจดุ เป็นตวั ท่สี องเรียกวา่ หลักสว่ นร้อย ซ่ึงมคี ่า หรือ 0.05 ดงั นน้ั 327.35 อา่ นวา่ สามรอ้ ยย่ีสิบเจ็ดจุดสามหา้ หรือสามารถเขียนในรปู กระจายการบวกได้คือ 327.35 = 300 + 20 + 7 + 0.3 + 0.05 หน่วยที่ 11 รปู เรขาคณิต จดุ เส้นตรง ส่วนของเสน้ ตรง รงั สี และมุม  จุด คือ สงิ่ ท่ีใช้แสดงตาแหน่งของสิง่ ต่างๆ เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั วา่ อยู่ในตาแหน่งใด นิยมใช้ชือ่ จุดเปน็ ตัวอักษร เช่น .ก อ่านว่า จดุ ก  เส้นตรง เส้นตรงมคี วามยาวไมจ่ ากดั และไม่คานึงถึงความกวา้ งของเส้นตรง  สว่ นของเสน้ ตรง คอื สว่ นหนง่ึ ของเส้นตรงที่มจี ุดปลาย 2 จดุ  รงั สี คือสว่ นหน่งึ ของเส้นตรงที่มีจดุ ปลายเพียงจุดเดียว  มมุ คอื รงั สสี องเสน้ ท่ีมจี ดุ ปลายเปน็ จุดเดียวกนั เรยี กรงั สีสองเสน้ น้วี า่ แขนของมุมและเรยี กจุดปลายทีเ่ ปน็ จุด เดียวกันน้ีว่า จุดยอดมมุ

มุม มุม เกิดจาก รงั สีหรือสว่ นของเส้นตรงสองเสน้ ท่ีมจี ดุ ปลายเป็นจดุ เดยี วกนั จุดนเี้ รียกวา่ จดุ ยอดมุม และรังสีหรือสว่ น ของเส้นตรงแตล่ ะเส้นเรยี กวา่ แขนของมมุ การเรยี กช่อื มุม จะเรยี กด้วยตัวอักษรท้ังสามตัว ซึ่งจะเรยี กช่อื จุดบนแขนของมมุ ขา้ งหน่งึ ข้างใดก่อนตามด้วยชอื่ จดุ ยอดมุม และชื่อจดุ บนแขนของมุมขา้ งทเ่ี หลอื ตามลาดบั หรอื อาจเรยี กชอ่ื มุมตามชอ่ื จุดยอดมุม ชนิดของมุม มมุ ฉาก คือ มมุ ท่ีมขี นาดเทา่ กบั 90 องศา มมุ แหลม คือ มุมท่ีมขี นาดเล็กกวา่ มุมฉาก เป็นมมุ ท่ีมีขนาดมากกวา่ 0 องศา แตไ่ ม่ถึง 90 องศา มุมป้าน คอื มมุ ท่มี ีขนาดใหญ่กวา่ มุมฉาก แตไ่ ม่ถึง 2 มมุ ฉาก เปน็ มมุ ทมี่ ีขนาดมากกว่า 90 องศา แต่ไมถ่ ึง 180 องศา มุมตรง คอื มุมทมี่ ีขนาดเทา่ กับ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก มุมกลบั คือ มุมทม่ี ขี นาดใหญ่กว่า 2 มมุ ฉาก แต่ไม่ถึง 4 มุมฉาก เปน็ มมุ ที่มขี นาดมากกว่า 180 องศา แต่ไม่ถึง 360 องศา เร่ือง ชนดิ ของมุม

หน่วยท่ี 12 รูปส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก พ้ืนท่รี ปู ส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก สี่เหล่ยี มที่มีมุมทกุ มุมเปน็ มุมฉากเราสามารถจะหาพนื้ ทีข่ องรปู สีเ่ หล่ียมมุมฉากได้จาก พืน้ ท่ีรูปส่ีเหล่ียมจัตุรสั = ความยาวของด้าน x ความยาวของดา้ น พน้ื ท่รี ปู สีเ่ หล่ียมผนื ผา้ = ความกว้าง x ความยาว โดยหน่วยของพ้ืนท่ีมี มีหน่วยเปน็ ตารางหน่วย

หาพนื้ ท่รี ูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก **************************************

โรงเรียนกสิณธรเซนต์ปีเตอร์ สรปุ เนือ้ หาบทเรียน ปลายภาคเรียนที่ 2/2563 วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ******************************************************************************** หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 วัสดุและสสาร วสั ดุ ประเภทของวสั ดุ โลหะ เปน็ วัสดทุ ีแ่ ข็ง มีหลายชนิด เช่น เหล็ก อะลูมเิ นียม ทองแดง จะนามาใชต้ ่างกนั ส่วนเหล็กมคี วามแขง็ แตเ่ ปน็ สนิม อะลูมิเนยี ม แขง็ น้อยกวา่ เหล็กแตเ่ บาและไมเ่ ป็นสนิม จึงใช้อะลูมิเนียมทาภาชนะหุงต้มทองแดงเป็นโลหะท่ีแขง็ เหมือนเหล็กแต่ เบากวา่ มากและดดั ให้โค้งเป็นรูปตา่ ง ๆ ได้ โลหะเปน็ วัสดทุ ่ีมลี กั ษณะผิวมนั วาว สามารถตีใหเ้ ป็นแผ่นเรียบ หรือดึงออกเปน็ เส้น หรืองอไดโ้ ดยไม่หกั นาไฟฟา้ และนาความร้อน ได้ดี เซรามกิ เปน็ ผลิตภัณฑ์ท่ีทามาจากดิน หิน หรอื แร่ธาตุอน่ื ๆ ท่ไี มใ่ ชโ่ ลหะ โดยทาเป็นรูปทรงต่างๆ แลว้ ผ่านการใหค้ วาม ร้อนท่ีอุณหภูมิสูงมาก ๆ ผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดจ้ ะมีความแข็ง แต่เปราะต่อแรงกระแทก ทนต่อสารเคมี ทนต่อสภาพอากาศและความช้นื มีสมบตั เิ ปน็ ฉนวนไฟฟ้า นยิ มทาเป็นของประดบั บ้าน และใชท้ าเปน็ วัตถทุ นไฟในอปุ กรณ์ไฟฟ้า พอลิเมอร์ ทามาจากวัสดุธรรมชาติ และสังเคราะหท์ ี่ผา่ นการสงั เคราะห์ มีนา้ หนักเบา ไม่นาความร้อน ไมน่ าไฟฟา้ สมบัติของวัสดุ ความแขง็ ของวัสดุ เป็นสมบัตขิ องวสั ดทุ ่ีมีความทนทานต่อแรงขดู ขีด วสั ดุมีความแข็งแรงมาก เมื่อขูดขดี กับวัสดอุ ่นื จะ ไม่เกิดรอยบนวสั ดหุ รอื เกิดรอยนอ้ ย ความยดื หยุน่ ของวสั ดุ เปน็ สมบตั ขิ องวสั ดเุ มือ่ ถูกแรงกระทา เช่น ดึง บบี กระแทก แล้วทาใหว้ สั ดุเปล่ยี นขนาดหรือ เปลีย่ นรปู ร่างไป แต่สามารถกลับคืนสสู่ ภาพเดิมหรือใกลเ้ คียงสภาพเดิมไดเ้ ม่ือหยดุ แรงกระทาต่อวสั ดนุ ้นั การนาความรอ้ นของวสั ดุ เปน็ สมบัตขิ องวสั ดุทพี่ ลังงานความร้อนสามารถถ่ายโอนผา่ นวัสดุนีไ้ ด้ เม่อื วสั ดไุ ด้รับความ ร้อนจากปลายดา้ นหน่ึง ความร้อนจะถ่ายโอนไปสปู่ ลายอีกดา้ นหนง่ึ เราจึงนาสมบัตกิ ารนาความรอ้ นของวัสดจุ าแนกวัสดไุ ดเ้ ป็น 2 ประเภท ดังนี้ วสั ดุทน่ี าความรอ้ น เรียกว่า ตัวนาความร้อน คือ วสั ดทุ ่คี วามร้อนนั้นผา่ นไดด้ ี วัสดทุ ี่ไมน่ าความร้อน เรยี กว่า ฉนวนความรอ้ น คอื วัสดุท่ี ความร้อนนัน้ ผา่ นได้ไมด่ หี รอื ผา่ นไม่ได้ การนาไฟฟ้า เปน็ สมบัตขิ องวสั ดทุ พ่ี ลงั งานไฟฟา้ สามารถถ่ายโอนผ่านวัสดุชนดิ น้ันได้ หากใชส้ มบตั กิ ารนาไฟฟ้าของวสั ดุ เป็นเกณฑ์ จะจาแนกวสั ดุเป็น 2 ประเภท ดังนี้ วสั ดุทน่ี าไฟฟ้า เรียกว่า ตัวนาไฟฟา้ คอื วัสดุทีย่ อมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ วสั ดทุ ่ีไม่นาไฟฟ้า เรยี กว่า ฉนวนไฟฟา้ คือ วสั ดทุ ก่ี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไม่ได้

สสาร สถานะของแข็ง • มมี วล ต้องการทอ่ี ยู่ สามารถสัมผัสได้ • มรี ปู ร่างและปริมาตรคงท่ี • มอี นุภาคยึดกันอย่างหนาแน่นเรยี งตวั ชิดกัน ไมส่ ามารถเคลื่อนทีไ่ ด้ สถานะของเหลว • มมี วล ต้องการท่ีอยู่ สามารถสมั ผสั ได้ • รูปรา่ งเปล่ียนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ • ปริมาตรคงท่ี • มอี นภุ าคอยู่ห่างกนั มากกว่าของแข็ง ทาใหเ้ คล่ือนที่ไดม้ ากขนึ้ สถานะของแก๊ส • มีมวล ต้องการท่ีอยู่ สามารถสมั ผสั ได้ • มรี ูปรา่ งและปริมาตรเปลี่ยนแปลงตามภาชนะทีบ่ รรจุ • มอี นุภาคกระจายอยหู่ า่ งจากกนั มากกวา่ ของเหลว ทาให้เคลอื่ นทไี่ ด้ทกุ ทิศทาง การหามวลของสสาร นาสสารทตี่ อ้ งการทราบมวลไปชัง่ มวล จากนั้น อ่านค่าและบนั ทึกผล การหาปรมิ าตรของของแขง็ 1) ใชส้ ูตรหาปริมาตรของของแข็ง ทรงสี่เหลี่ยม ปริมาตรของวัตถุ = กว้าง x ยาว x สงู 2) ใช้การแทนทน่ี ้าหาปรมิ าตรของแขง็ การหาปรมิ าตรของของเหลว ใชก้ ารตวง การหาปรมิ าตรของแก๊ส ใช้การแทนทน่ี ้าหาปริมาตรของแก๊ส

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 ปรากฎการณ์ของดวงจันทร์และระบบสรุ ยิ ะ การข้นึ - ตกของดวงจนั ทร์ การขน้ึ - ตกของดวงจนั ทร์ เกดิ จากการหมุนรอบตวั เองของโลกตามแกนเหนือ - ใต้ โดยหมุนจากทิศตะวนั ตกไปยังทศิ ตะวนั ออก จงึ ทาให้เห็นดวงจันทร์ทางทิศตะวนั ออก และเคลื่อนที่จนลบั ขอบฟ้าทางทิศตะวนั ตก เนอื่ งจากดวงจันทร์มีการโคจรไปรอบโลกจากทิศตะวนั ตกไปทศิ ตะวันออกซงึ่ เป็นทิศทางเดียวกนั กบั การหมุนรอบตัวเอง ของโลก แต่การหมุนรอบตัวเองของโลกกบั การโคจรของดวงจันทรร์ อบโลกใช้เวลาไม่เท่ากนั คือดวงจันทร์โคจรรอบโลกใช้เวลา มากกว่าจงึ ทาให้ดวงจันทร์มาปรากฏใหเ้ หน็ ณ ตาแหนง่ เดิมชา้ ลงทกุ วนั จงึ ทาให้การขึ้นและตกของดวงจนั ทร์เปลย่ี นแปลงไปทุก วนั รูปร่างลักษณะของดวงจันทร์บนฟา้ ดวงจันทรเ์ ปน็ วัตถทุ ้องฟา้ ท่ีอยู่ใกล้โลกทีส่ ดุ เปลย่ี นตาแหน่งและเปล่ียนรูปรา่ งเรว็ มาก กล่าวคอื ในชว่ งข้างข้ึน รปู รา่ งจะ ปรากฏโตขึ้นจากเป็นเสี้ยวเล็กทีส่ ุดเมื่อวนั ข้นึ 1 คา่ ถึงโตท่ีสุดเป็นรปู วงกลมหรือจันทรเ์ พญ็ เม่ือวันขึ้น 15 ค่า ทเี่ ปน็ เช่นนี้เพราะ ในแตล่ ะวนั ดวงจนั ทร์ด้านสว่างที่หันมาทางโลกมขี นาดไม่เทา่ กนั สดั ส่วนของด้านสว่างที่สะท้อนแสงมาทางโลกมขี นาดโตขึน้ สาหรบั วันข้างขึน้ และมสี ดั ส่วนน้อยลงสาหรบั วันขา้ งแรม จากภาพ จะเห็นดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ภาพดวงจันทร์ด้านใน (ดา้ นท่ีอยตู่ ดิ กบั โลก) คอื ธรรมชาติที่แทจ้ รงิ ของดวงจนั ทร์ ด้วย เหตเุ พราะดวงจนั ทร์ไม่มแี สงสวา่ งในตัวเอง ซ่ึงจะเหน็ ได้จากดวงจนั ทรจ์ ึงมีสว่ นสวา่ งครึ่งดวงคอื ดา้ นที่หนั เข้าหาดวงอาทิตย์ ใน ขณะเดียวกนั ดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก ส่วนท่ีโดนแสงอาทติ ย์หนั เขา้ หาโลกเปล่ยี นไปเมื่อมองจากโลกจึงเห็นรูปรา่ งของดวงจันทร์ เปล่ียนไป วงนอกเป็นภาพปรากฏของเส้ยี วดวงจันทร์ ทเ่ี ห็นจากผสู้ งั เกตบนโลก วงในคือตาแหน่งตา่ ง ๆ ของดวงจนั ทร์เม่ือโคจร รอบโลก 1 รอบโดยใช้ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ จดุ อ้างอิง

 วนั แรม 15 คา่ (New Moon): เมือ่ ดวงจนั ทรอ์ ย่รู ะหวา่ งโลกกับดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทรห์ ันดา้ นเงามดื เข้าหาโลก ตาแหนง่ ปรากฏของดวงจนั ทร์อยใู่ กล้กับดวงอาทติ ย์ แสงสว่างของดวงอาทิตย์ ทาให้เราไมส่ ามารถมองเห็นดวงจนั ทร์ ได้เลย  วันข้นึ 8 ค่า (First Quarter): เม่อื ดวงจนั ทร์เคลื่อนมาอยู่ในตาแหน่งมมุ ฉากระหวา่ งโลกกับดวง อาทติ ย์ ทาให้เรามองเห็นดา้ นสวา่ งและด้านมดื ของดวงจนั ทรม์ ีขนาดเท่ากัน  วันข้นึ 15 คา่ หรือ วนั เพญ็ (Full Moon): ดวงจันทร์โคจรมาอย่ดู ้านตรงข้ามกบั ดวงอาทติ ย์ ดวง จันทรห์ ันด้านท่ไี ด้รบั แสงอาทิตย์เข้าหาโลก ทาให้เรามองเหน็ ดวงจนั ทร์เตม็ ดวง  วันแรม 8 ค่า (Third Quarter): ดวงจนั ทรโ์ คจรมาอยู่ในตาแหนง่ มุมฉากระหวา่ งโลกกับดวงอาทิตย์ ทาใหเ้ รามองเหน็ ดา้ นสว่างและดา้ นมดื ของดวงจนั ทร์มีขนาดเทา่ กัน ส่วนประกอบของระบบสุริยะ 1. ดวงอาทิตย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษท์ อ่ี ยู่ตรงตาแหนง่ ศนู ย์กลางของระบบสรุ ิยะ และเปน็ ศนู ย์กลางขอแรงโน้มถว่ ง ทา ให้ดาวเคราะห์และบริวารทงั้ หลายโคจรล้อมรอบ 2. ดาวเคราะห์ 2.1 ดาวพุธ (Mercury)ดาวพธุ เปน็ ดาวเคราะห์ดวงลาดบั แรกในระบบสรุ ิยะ (Solar system) คือเป็นดาวเคราะห์ทอ่ี ยู่ ใกล้ดวงอาทิตยม์ ากท่สี ดุ 2.2 ดาวศกุ ร์ (Venus) ดาวศกุ รเ์ ปน็ ดาวดวงที่สองในระบบสรุ ิยะและเปน็ ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะท่มี ีความ คล้ายคลงึ กบั โลกมากที่สดุ ในเรอื่ งของขนาด มวล และความหนาแน่น บางคนจึงเรยี กดาวศกุ รว์ ่าดาวฝาแฝดหรือดาวน้องสาวของ โลก แต่ดาวศกุ ร์ก็มคี วามแตกต่างจากโลกอย่างสิน้ เชิงในเร่ืองของช้ันบรรยากาศทม่ี ีความหนาแน่นสงู และเต็มไปด้วยแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ทีร่ ้อนจัดถงึ 464 องศาเซลเซยี สซงึ่ สูงทส่ี ุดเมอ่ื เทยี บกับดาวเคราะห์อนื่ ในระบบสุริยะ 2.3 โลก (Earth) โลกท่อี ยอู่ าศัยของมนุษย์เรานนั้ เป็นดาวเคราะห์ลาดับท่ี 3 ในระบบสรุ ิยะ โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มี ขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ในบรรดาดาวเคราะห์หินทัง้ ส่ีในระบบสุริยะ(ไดแ้ ก่ ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ โลก และ ดาวองั คาร) โลกถอื วา่ เป็นดาว เคราะหเ์ พยี งดวงเดยี วที่มสี ง่ิ มีชีวติ อาศัยอยู่ เนื่องจากโลกมีชัน้ บรรยากาศท่ีมีออกซเิ จนและมีน้าที่มคี วามจาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ 2.4 ดาวองั คาร (Mars) ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ในลาดับทส่ี จี่ ากดวงอาทติ ย์ และเป็นดาวเคราะหล์ าดับสดุ ท้ายของ ดาวเคราะหห์ ิน * บางครั้งเรามกั เรียกดาวองั คารว่า \"ดาวแดง\" (Red Planet) เน่อื งจากดาวองั คารปรากฏเป็นสีแดงคล้ายสีโลหติ พ้นื ผวิ ของดาวองั คารจะมีความแตกต่างระหว่างหุบเหวทลี่ กึ มากและภเู ขาไฟทสี่ งู มากที่สุดเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์อ่ืนในระบบ สรุ ิยะ

สาเหตขุ องปัญหาทเ่ี กดิ การเปลี่ยนแปลง คือ 1) ความต้องการของคนไม่มีท่ีสน้ิ สดุ เพราะความโลภของคนทต่ี ้องการความสุขสบาย จงึ กอบโกยผลประโยชน์ทุกอย่าง จากสิ่งแวดลอ้ มทเี่ ป็นทรัพยากรธรรมชิต เช่น การตัดไมท้ าลายป่า เพอื่ นาไม้มาขาย และยดึ ครองพืน้ ท่ี การสรา้ งบา้ นรุกลา้ เขต แหลง่ น้า 2) ความร้เู ทา่ ไม่ถึงการณ์ เปน็ การกระทาท่ีไม่คดิ วา่ จะมผี ลกระทบทเ่ี สยี หายตามมามากมายภายหลงั เชน่ การทงิ้ ขยะ และสิง่ ปฏกิ ลู ลงในแหลง่ น้า ทาใหน้ า้ เนา่ เสยี สตั วน์ ้าตายการถางปา่ เพ่ือหาหรือเพิ่มพื้นที่ทากิน ทาให้เกดิ นา้ ทว่ ม หรือเกดิ ความ แหง้ แลง้ อยา่ งรุนแรง การล่าสัตว์เพือ่ เปน็ กีฬาทาใหส้ ัตว์ป่าสูญพันธ์ุ 3) เครอื่ งมือเคร่ืองใชท้ ีม่ เี ทคโนโลยีทันสมัย ทาใหเ้ กิดการทาลายสิ่งแวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาตใิ ห้เสยี หายอย่าง รวดเร็ว และในปรมิ าณมากมาย เชน่ การตดั ต้นไม้โดยใช้เลื่อยไฟฟา้ ผลของการเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ ม 1) ทาใหท้ รัพยากรธรรมชาตติ า่ ง ๆ ถกู นามาใช้และถูกทาลายใหเ้ สอ่ื มสภาพ ให้ประโยชนน์ ้อยลง บางอย่างหมดส้นิ ไป อยา่ งรวดเร็ว 2) ทาให้เกดิ มลพิษ และมลภาวะของส่งิ แวดลอ้ มในด้านตา่ ง ๆ เกิดผลเสียต่อสขุ ภาพและมชี ีวิตความเป็นอยทู่ ่ีเสือ่ มโทรม เช่น- มลพษิ ของอากาศ เป็นสภาพอากาศท่ีมคี วัน ฝ่นุ ละออง ปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดส์ งู จากโรงงานและท่อไอเสยี ของรถ เปน็ อันตรายต่อชวี ิต ถ้าเราหายใจโดยมสี ารพษิ เหล่านสี้ ะสมมาก จะทาใหว้ งิ เวยี นศรี ษะ เป็นลม อาจมผี ลต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ - มลพิษของนา้ เกิดจากการท้ิงน้าเสยี ลงในแหลง่ น้าของโรงงาน บ้านเรอื น การทิง้ ขยะ และสิ่งปฏิกลู ลงไป ทาให้เกิดการ เนา่ เหมน็ สัตว์นา้ ตายจานวนมาก มีกล่นิ เหม็น เปน็ แหล่งแพรเ่ ช้ือโรค ทาลายความสวยงามและแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ - มลภาวะของดิน เปน็ สภาพดินทเ่ี สียหาย ปลูกพืชไม่ไดผ้ ลเท่าทค่ี วร เพราะมีการใช้สารฆา่ แมลง สารกาจัดศตั รูพชื ทา ให้มีสารเคมีสะสมในดินมากเกินไป - มลภาวะทางเสียง ถ้าฟังเสียงท่ีดังมากนาน ๆ อาจทาใหห้ ูอือ้ หูพิการ เชน่ เสยี งจากเครอื่ งจกั ร เคร่ืองยนต์ เสยี งดนตรี ในแหล่งบนั เทงิ - ภยั จากธรรมชาติ สว่ นหนึ่งเกดิ จากการกระทาของคน เชน่ การตัดไม้ทาลายป่า ทาใหเ้ กิดน้าท่วมรนุ แรง ดินถล่ม 3) ผลกระทบจากมลพษิ และมลภาวะของส่ิงแวดลอ้ ม ทาใหเ้ กดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตามมาหลายดา้ นดงั กล่าว ทาให้คุณภาพ ชีวิตของคนในชุมชนต้องลดน้อยลง เกดิ การเจบ็ ป่วย ผลผลติ จากเกษตรกรรม มปี รมิ าณน้อย และคุณภาพต่า ไม่เพียงพอในการ บริโภค การอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มในจังหวดั อนรุ กั ษ์ หมายถงึ การดแู ลรักษาให้คงสภาพ และมีคณุ คา่ คงเดิมได้นานทส่ี ุด การอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติทมี่ ใี นทอ้ งถิ่นที่เราอยู่อาศัย เป็นเร่ืองท่สี าคัญ และจาเปน็ อย่างย่ิง ทกุ คนต้องช่วยกนั ดูแลรักษา และใชอ้ ยา่ งถกู ต้อง เพราะถ้าหากละเลยไม่ชว่ ยกนั อนรุ ักษ์จะมีผลทาให้ทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม เสอื่ มสภาพ เกิดมลพิษ และอาจหมดไปจากโลก จงึ เป็นภาระหน้าท่ีของทุกคนในท้องถิน่ ท่ีตอ้ งมจี ติ สานึกทดี่ รี ว่ มกัน โดยไมป่ ัด

ภาระในการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มไปให้ผใู้ ดหรือหน่วยงานใดโดยเฉพาะ ทุกคนที่อยใู่ นท้องถิ่นแตล่ ะจงั หวดั ต้องมสี ว่ นร่วมในการ อนุรักษ์ให้สงิ่ แวดลอ้ มคงสภาพเป็นปกติ ไม่ให้เกิดปัญหา หลักการของการมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปญั หา 1) การร่วมกนั คดิ คือ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับสาเหตุของปัญหา ผลทีจ่ ะเกดิ และช่วยกันเสนอแนวทางการ แก้ไขปญั หานัน้ 2) การร่วมกนั วางแผน คือ ช่วยกนั คดิ วางแผน และขัน้ ตอนในการดาเนินงาน แก้ไขปัญหาของสิ่งแวดลอ้ ม 3) การรว่ มกันตัดสนิ ใจ คือ การตดั สนิ ใจในการดาเนินงาน และร่วมมือกันในการปฏิบัติงานต่าง ๆ อย่างเต็มกาลงั และ เตม็ ใจ เพ่ือแก้ไขปญั หาให้ลุล่วงไป 4) การรว่ มกนั แก้ไขปัญหา คือ การทางานบางข้นั ตอน อาจมอี ปุ สรรคและปญั หา ต้องช่วยกันหาวธิ แี ละแก้ไขปญั หานั้น อยา่ งถูกวิธี เป็นการแก้ไขทย่ี ่ังยนื ไมก่ ่อใหเ้ กิดปญั หาอ่ืนตามมา 1) แนวทางการอนุรักษด์ นิ 1. ศกึ ษา และทาเกษตรกรรมใหถ้ กู หลกั วธิ ี ร้จู กั วธิ ีปรบั ปรงุ และบารงุ รักษาดนิ ให้คงมคี ุณภาพ 2. เพาะปลูกพชื คลุมดนิ เพอ่ื รักษาความชุ่มชืน้ และป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน จากฝนท่ีตกหนัก ซ่ึงพชื ที่ นยิ มปลกุ คือ พืชตระกลู ถว่ั เพราะชว่ ยเพิ่มธาตอุ าหารของพืชในดนิ ด้วย 3. ไม่ทิง้ ขยะ หรอื ส่ิงปฏิกูลลงในดิน เชน่ ขยะที่ไม่ย่อยสลาย คอื เศษพลาสตกิ เศษแกว้ เศษโฟม จะทาให้ขวางการซมึ ของน้าในดนิ หรือขยะจากสิง่ ขบั ถา่ ย ทาใหด้ ินเปน็ บอ่ เกดิ ของเช้ือโรค เช่น พยาธิตา่ ง ๆ 2) แนวทางการอนรุ ักษน์ า้ 1. ไม่ทงิ้ ขยะ สิง่ สกปรก หรือขบั ถา่ ยลงสู่แหล่งนา้ ทกุ แหง่ 2. แหลง่ นา้ ท่ีมีวัชพชื เช่น ผกั ตบชวา สาหร่าย ควรกาจดั อยูเ่ สมอ เพื่อไมใ่ หน้ ้าเน่าเสยี เพราะวัชพชื เหลา่ นี้เตบิ โตเร็ว มาก 3) แนวทางการอนุรักษ์ปา่ ไม้ 1. ไมล่ ักลอบตัดไม้ทาลายปา่ เพราะผดิ กฎหมาย และถือว่าทาลายชาตดิ ว้ ย 2. ใช้ไมท้ หี่ างา่ ย ปลูกง่าย แทนที่ไม้หายาก หรือใชว้ สั ดุอน่ื ทดแทนไม้ พืชท่เี จรญิ เตบิ โตเร็ว อาจจะมีเนื้อไมท้ ี่มคี ุณภาพ รองลงไป เช่น ไมย้ คู าลปิ ตัส ไมจ้ ามจรุ ี ไม้ตาล นามาใชท้ าเครือ่ งเรือนไดส้ วยงาม เป็นการทดแทนไมท้ ี่มเี นอื้ แขง็ ที่หายาก และ ราคาแพง 3. ไมท่ าไรเ่ ล่อื นลอย หรือเผาป่าเพื่อทาการเกษตร 4. ปลูกต้นไม้ทดแทนไม้ท่ีตัดไปใชป้ ระโยชน์ และปลูกอย่างต่อเน่ือง ถ้ามบี รเิ วณให้ปลกู ไมป่ ลอ่ ยทีด่ นิ ใหว้ ่างเปลา่

  1. แนวทางในการอนุรักษ์คณุ ภาพอากาศ 1. ลดการเผาขยะ หรอื การเผาไหมเ้ ศษวสั ดตุ ่าง ๆ โดยมีการจัดการทาลายขยะประเภทต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ไม่ให้ เกิดมลพิษทางอากาศ 2. ยานพาหนะท่ีใชใ้ นการคมนาคมขนสง่ ทาให้เกิดมลพิษจากควนั รถยนต์สู่อากาศ มีผลกระทบต่อสขุ ภาพมาก เราควร หลกี เลี่ยงให้มากทสี่ ดุ และทางการต้องควบคุมตรวจวดั ควันจากรถยนต์ การหม่นั ดูแลเคร่ืองยนต์ การใชน้ ้ามนั ไรส้ ารตะก่ัว 3. โรงงานอุตสาหกรรม ต้องมีอุปกรณ์ทรี่ ักษาสภาพแวดลอ้ มอาทางอากาศอยา่ งเป็นระบบ เช่น การคิดต้งั เคร่ืองกรอง อากาศ 4. ทกุ ชุมชนต้องสง่ เสรมิ และรณรงคก์ ารปลูกตน้ ไม้ รวมท้ังช่วยกันดแู ลรกั ษาให้คงสภาพทเ่ี หมาะสม ไม่รกรงุ รงั เพ่ือเพ่ิม ปริมาณแก๊สออกซิเจนในอากาศ และมีทศั นียภาพท่ีสวยงาม เกดิ ความรสู้ ึกท่ีสดช่ืนน่าอยู่ 5) แนวทางการลดปัญหาขยะในบา้ น และชุมชน ในชมุ ชนมีผคู้ นอยู่อย่างหนาแนน่ จะมีปรมิ าณของขยะมลู ฝอยมากขึน้ ก่อให้เกดิ ปัญหาอน่ื ตามมา ทุกคนควรมจี ิตสานึกร่วมกันในการรักษาสภาพแวดลอ้ มของชมุ ชน โดยช่ัวกนั ลดปญั หาขยะซึ่งมี วธิ กี ารจดั การ ดังน้ี 1. แยกขยะท่ยี อ่ ยสลายยาก เปน็ เศษวัสดอุ อกเปน็ พวกต่างหาก เชน่ เศษกระดาษ เศษโลหะ เศษไม้ เศษแก้ว เศษ พลาสติก เพื่อสะดวกแก่ผู้เก็บขยะ หรือบางอย่างรวบรวมขายได้ 2. ขณะที่ย่อยสลายได้งา่ ย คือ เศษอาหาร เศษพชื ผกั ผลไม้ ใบไม้แห้ง ตอ้ งแยกตา่ งหาก อาจจะนาไปแปรสภาพเป็นปุ๋ย หมัก ถา้ รูว้ ธิ ีการ 3. รกั ษาความสะอาดในบ้าน จัดสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ทาใหบ้ า้ นนา่ อยู่ ขจดั ขยะตา่ ง ๆ ออกไป และเป็นการ กาจดั สัตวท์ ม่ี าอาศัยในบา้ นด้วย เช่น แมลงสาบ มด หมู 4. ลดการใชภ้ าชนะที่ยอ่ ยสลายยากเข้ามาไว้ในบ้าน เช่น โฟม ถงุ พลาสตกิ ควรใชถ้ งุ ผ้าในการใสส่ ง่ิ ของตา่ ง ๆ ประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญในสมยั สโุ ขทัย ดงั นี้ พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์ พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ย์ เป็นกษัตริยพ์ ระองค์แรกของกรุงสโุ ขทัย ทรงรวบรวมกาลังคนไทยขบั ไลพ่ วกขอมท่ีมาปกครองอยู่ ในขณะนั้น ทาให้หลดุ พ้นจากอานาจขของขอม และได้รวบรวมคนไทยก่อต้ังอาณาจักรสโุ ขทัยอย่างมั่นคง ทาใหช้ นชาติไทยไดม้ ี อสิ ราและดารงเป็นประเทศชาติมาจนถงึ ทกุ วันนี้ พ่อขุนศรีอินทราทติย์ทรงเป็นตน้ ราชวงศพ์ ระรว่ ง พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ทสี่ ามของพ่อขุนศรีอินทราทติ ย์ เสดจ็ ข้ึนครอง ราชยต์ ่อจากพ่อขุน บานเมอื ง ซ่ึงเปน็ พระเชษฐา (พี่ชาย) ทรงปกครองประเทศใหม้ คี วามเจรญิ ก้าวหน้าในดา้ นต่าง ๆ มากมาย พระราชกรณียกิจท่ี สาคญั ไดแ้ ก่ 1) การสู้รบชนะขนุ สามชน เจ้าเมืองฉอด ที่ได้ยกกองทัพมารุกนาน เปน็ การแสดงความกลา้ หาญของพ่อขุนรามคาแหง มหาราช ทาใหด้ นิ แดนของอาณาจกั รสุโขทยั มีขอบเขตขยายออกไปกวา้ งขวาง 2) การคดิ ประดิษฐ์อกั ษรไทย โดยมีหลกั ฐานจากหลักศิลาจารกึ ทีบ่ ันทึกเร่อื งราวพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจ เป็นเรอ่ื งทส่ี าคัญมาก ทาใหเ้ รามภี าษาไทยของเรามาจนทกุ วันน้ี และมผี ลตอ่ การบนั ทกึ เรื่องราวตา่ ง ๆ มวี รรณคดที ี่สาคัญของ ไทยมากมายในยคุ สมยั ต่อมา นบั เปน็ วฒั นธรรมทางดา้ นภาษาของชาตไิ ทย 3) การรบั และนับถือพระพุทธศาสนา ทรงรบั พระพทุ ธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ให้มาเผยแผ่ในอาณาจกั รสุโขทยั ทาให้ ศาสนาพุทธมีความเจริญมน่ั คงในดนิ แดนชาติไทยสบื เน่ืองมาชา้ นาน ซ่ึงเป็นรากฐานของศิลปวฒั นธรรม และชวี ิตความเป็นอยู่ ของคนไทยตลอดมา 4) การมีสัมพันธท์ ด่ี ีกบั ประเทศจีนในดา้ นการคา้ ขาย ทาให้คนไทยได้เรียนรูศ้ ลิ ปะการทาเครอื่ งเคลือบดินเผาจากชาวจีน ทมี่ าทาการค้ากับไทย และยงั ไดร้ บั ความรูเ้ ก่ยี วกับการเดอื นเรอื ทะเลอีกดว้ ย ดงั นัน้ ยคุ สมัยสโุ ขทยั ในแผ่นดนิ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช จึงเปน็ ช่วงท่ีมีความเจริญรุง่ เรืองเป็นอยา่ งมาก พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) พระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ลาดบั ที่ 6 ประมาณ พ.ศ. 1890 – 1911 แห่งกรุงสโุ ขทัย ทรง ทะนุบารุงพระพทุ ธศาสนาให้มคี วามเจรญิ รุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคสมัยสโุ ขทัย สรุปพระราชกรณียกิจ คือ 1) ทรงออกผนวช และจาพรรษา ซึ่งเป็นพระราชศรทั ธาท่แี รงกลา้ 2) ทรงพระราชนพิ นธ์หนังสือเรอื่ ง “ไตรภมู ิพระรว่ ง หรอื เตภมู กิ ถา” ซ่ึงเปน็ เรื่องของผลการทาดแี ละทาช่วั 3) สง่ เสรมิ การสร้างวดั และพระพทุ ธรปู ท่ีเป็นศลิ ปะแบบสุโขทยั ทีง่ ดงาม ซึง่ พระพุทธรปู ยุคน้ที ช่ี าวไทยรจู้ กั กันดี คือ พระ พทุ ธชนิ ราช ประดษิ ฐานอยู่ท่ีวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ จงั หวัดพษิ ณุโลก และพระพทุ ธชนิ สหี ป์ ระดิษฐานอยทู่ ว่ี ัดบวรนิเวศฯ กรงุ เทพมหานคร 4) นางนพมาศ เป็นพระสนมเอกของพระมหาธรรมราชาท่ี 1 มีความรูท้ างดา้ นภาษา ศาสนา และศลิ ปะ เปน็ ผ้คู ิด ประดษิ ฐก์ ระทงลอยเพือ่ บูชา และขอขมาพระแม่คงคา จนเป็นประเพณลี อยกระทงในวันขึน้ 15 คา่ เดือนสิบสอง ทน่ี ิยมปฏิบัติ มาทุกปีจนถึงปจั จบุ ัน จากหลกั ฐานและร่องรอยทางประวตั ิศาสตร์ ทาใหร้ วู้ า่ ในสมยั สโุ ขทัยมภี มู ปิ ญั ญาของคนไทยเกิดขน้ึ หลายอย่าง ซ่ึงได้ กลา่ วมาแล้วเกยี่ วกับการสร้างวัด และพระพุทธรูป การคดิ ประดษิ ฐ์อักษรไทย แลว้ ยงั มเี รอ่ื งทน่ี า่ สนใจท่เี ปน็ ภมู ิปญั ญาและความ เจริญรุ่งเรอื งอกี ดงั น้ี

เครื่องปั้นดนิ เผา เครอ่ื งปั้นดนิ เผา เรยี กกันโดยท่วั ไปว่า “เครื่องถว้ ยชามสังคโลก” เตาทใ่ี ชเ้ ผาเครื่องปัน้ ดินเผาสมัยสโุ ขทยั เรยี กวา่ “เตา ทุเรียง” ซึ่งเป็นจานวนมากมายทย่ี งั มีปรากฏอยูท่ โี่ บราณสถานเมอื งสโุ ขทัยเกา่ และทเ่ี ขตโบราณสถานศรีสชั นาลัยในปัจจบุ นั เครอื่ งถว้ ยชามสงั คโลกสมัยสุโขทยั นอกจากทาใชก้ นั ในทอ้ งถ่นิ และในภมู ภิ าคอน่ื ของไทยแล้ว ยังส่งไปขายยงั ต่างประเทศที่ อินโดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปินส์ จนถงึ เกาหลี และญีป่ ุ่น จงึ นับว่าเคร่ืองสงั คโลกสมยั สโุ ขทยั เป็นศิลปะเครื่องปั้นดินเผาที่เป็นภูมิปญั ญาไทย ทมี่ ชี ื่อเสียงมากท่สี ุดของสมยั สโุ ขทยั การมีชลประทานเพือ่ การเกษตร ในสมยั สุโขทัย ราษฎรสว่ นใหญม่ อี าชีพหลกั คือ การเพาะปลูก มกี ารทานา ทาไร่ ทาสวน ได้คดิ ทาชลประทานเพ่อื การเกษตร คอื สร้างทานบกั้นนา้ และมที ่อสาหรับส่งนา้ ไปยงั ไร่นาของราษฎร ทาใหผ้ ู้คนได้ปลูกพืชพนั ธ์ุธญั ญาหารมากมาย ได้ ผลผลิตสูง และนาไปขายอย่างเสรี ไมม่ กี ารเก็บภาษีอากร ซึง่ ปัจจบุ ันยังเหน็ ร่องรอยของทานบ และท่อสง่ น้าอยบู่ า้ ง การประดษิ ฐ์อกั ษรไทย การประดิษฐอ์ กั ษรไทยทม่ี หี ลักฐานจากหลักศลิ าจารึกไดก้ ล่าวไปแล้ว นบั เป็นภมู ปิ ญั ญาสาคัญของไทยท่ีมีคณุ ค่ามา จนถงึ ปจั จบุ นั น้ี การเลือ่ มใสศรทั ธา และปฏิบัติกจิ กรรมทางศาสนา การทพ่ี ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงรบั พระพทุ ธศาสนามาเผยแผ่ใหร้ าษฎรไดน้ บั ถือ และปฏิบตั ิตามพระธรรมคาสอน ทาให้ชาวสุโขทัยยดึ มั่นเลือ่ มใสศรทั ธาในพระพุทธศาสนา อยใู่ นศีลธรรมปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจา เช่น ตกั บาตร ฟงั เทศน์ รักษาศลี ทาบุญให้ทาน สรา้ งวดั สร้างพระพุทธรูป ในวนั ธรรมสวนะ (วนั พระ) ได้นมิ นต์พระสงฆ์มาแสดงพระธรรมเทศนา บนแท่นมนังศลิ า การคดิ ประดิษฐก์ ระทงลอย การคดิ ประดิษฐ์กระทงลอย ซ่ึงผคู้ ิด คือ นางนพมาศ ซึง่ ทาให้เกิดประเพณลี อยกระทงมาช้านาน มีการนาวสั ดุธรรมชาติ มาประดิษฐเ์ ป็นกระทงอย่างสวยงาม เพื่อลอยไปบชู าและขอชมาตอ่ พระแม่คงคาในวนั ข้ึน 15 คา่ เดือน 12 ซ่ึงเป็นวนั ที่ พระจนั ทรเ์ ตม็ ดวง และแม่นา้ ลาคลองมีน้าเต็มเปยี่ ม ซึ่งกระทงลอยท่วั ไปส่วนมาก จะประดษิ ฐเ์ ปน็ รูปดอกบัว ********************************************************

เนื้อหาข้อสอบวชิ าภาษาองั กฤษ ป.4 .......................................................................................................................................................................................................... Present Simple Tense Present Simple Tense ก็คือ ปัจจุบนั กาลแบบเรียบง่าย เป็ นเหตุการณ์หรือการกระทาท่ีเกิดข้ึน ในปัจจุบนั โดยมีโครงสร้างของประโยค ดงั น้ี หมายเหตุ *.. ถ้าประธานเป็ นเอกพจน์ (He, She, It, Jane) กริยาจะตอ้ งเติม s, es หรือ ies โดยมีหลกั ดงั น้ี - คากริยาทว่ั ๆไปเติม s เช่น drink-drinks, forget-forgets, steal-steals, take-takes - คากริยาท่ีลงทา้ ยดว้ ย o, s, x, z, ss, sh และ ch ใหเ้ ติม es เช่น go-goes, wash-washes, watch-watches, miss-misses - คากริยาท่ีลงทา้ ยดว้ ย y มี 2 กรณีคือ - o ถา้ หนา้ y เป็นพยญั ชนะ ใหเ้ ปล่ียน y เป็น i เติม es เช่น cry-cries, study-studies, try-tries, fly-flies - o ถา้ หนา้ y เป็นสระ เติม s เช่น play-plays, buy-buys, enjoy-enjoys หลกั การใช้ Present Simple Tense มดี ังนี้ คือ ใชก้ บั เหตุการณ์หรือการกระทาท่ีเป็นความจริงหรือขอ้ เทจ็ จริงโดยทว่ั ไป หรือความจริงตามธรรมชาติ เช่น She goes to work by bus. (เธอไปทางานโดยรถประจาทาง) The earth moves around the sun. (โลกหมุนรอบดวงอาทิตย)์ He watches television every night. (เขาดูโทรทศั น์ทุกคืน) หมายเหตุ *.. Adverbs of frequency กริยาวเิ ศษณ์บอกความถ่ี (always, often, sometimes, never, hardly) มกั จะใชค้ ู่ กบั Present Simple Tense เม่ือเราตอ้ งการทาประโยคบอกเล่าใหเ้ ป็นประโยคคาถามหรือปฏิเสธ ในกรณีที่ประโยคมี Verb แท้ เราจะตอ้ งนา Verb to do มาช่วย โดยในประโยคคาถามน้นั Do/Does อยหู่ นา้ ประธาน ใชข้ ้ึนตน้ ประโยค

Do ใชก้ บั ประธานพหูพจน์ (they, we, Jim and Jack, dogs) Does ใชก้ บั ประธานเอกพจน์ (he, she, it, Nick, cat) Do they work at your company? (พวกเขาทางานที่บริษทั คุณหรือเปล่า) Dose Jane lives in Bangkok? (เจนอาศยั อยใู่ นกรุงเทพฯหรือเปล่า) ส่วนประโยคปฏิเสธ do/does + not (don’t/doesn’t) อยหู่ ลงั ประธาน They do not work at my company. (พวกเขาไมไ่ ดท้ างานที่บริษทั ฉนั ) Jane doesn’t live in Bangkok. (เจนไมไ่ ดอ้ าศยั อยใู่ นกรุงเทพฯ) Future Simple Tense Future Simple Tense คือ อนาคตกาลธรรมดาแบบเรียบง่าย เป็ นเหตุการณ์หรือการกระทาที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมี โครงสร้างของประโยค ดงั น้ี will ใชไ้ ดก้ บั ประธานทุกตวั ** shall หลกั ภาษาด้งั เดิม ใชไ้ ดก้ บั ประธาน I และ we เทา่ น้นั รูปแบบยอ่ She will- She’ll / I shall- I’ll They will-They’ll / We shall-We’ll We shall-We’ll / She will not-She won’t I shall not- I shan’t / They will not-They won’t We shall not-We shan’t หมายเหตุ *.. Verb1 ใน Future Simple Tense ที่ตามหลงั will/shall ซ่ึงทาหนา้ ที่เป็นกริยาช่วย (Auxiliary or helping verbs) จะตอ้ งไม่ผนั ตามอะไรท้งั น้นั คือ ไม่เติม s, es, ies, ing หรือ V2, V3 เพราะเป็นไปตามหลกั การใชก้ ริยาช่วยท่ีจะตอ้ งตามดว้ ย verb1 (infinitive) เท่าน้นั

หลกั การใช้ Future Simple Tense มีดงั น้ี คือ 1. ใชก้ ล่าวถึงเหตุการณ์หรือการกระทาที่จะเกิดข้ึนในอนาคต มกั จะมีคาระบุเวลาเหล่าน้ีบง่ บอกไวใ้ นประโยค - Paul will come to Thailand next month. (พอลจะมาเมืองไทยเดือนหนา้ ) - Jim will go to post office tomorrow. (จิมจะไปท่ีทาการไปรษณียพ์ รุ่งน้ี - He will watch football game tonight. (เขาจะดูเกมส์ฟุตบอลคืนน้ี) - They will visit their grandma next week. (พวกเขาจะไปเยย่ี มยายของพวกเขาอาทิตยห์ นา้ ) - Will you do it tomorrow? (คุณจะทามนั ม้ยั พรุ่งน้ี) - I won’t go to university next week. (ผมจะไม่ไปมหาวทิ ยาลยั อาทิตยห์ นา้ ) Present Continuous Tense หลกั การใช้ Present Continuous Tense Present Continuous Tense หรือ Present Progressive Tense สรุปง่ายๆ คือ เป็น Tense ที่ใชบ้ อกการกระทาท่ีกาลงั เกิดข้ึน หรือการกระทาท่ีกาลงั จะเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงเป็นการวางแผนไวเ้ ป็นที่เรียบร้อยแลว้ โครงสร้าง และหลกั การใช้ Present Continuous Tense โครงสร้าง present continuous tense Subject V.to be V. ing I am eating He, She, It, A cat is eating You, We, They, Cats are eating หลกั การใช้ present continuous tense ใชก้ ล่าวเหตุการณ์ท่ีกาลงั เกิดข้ึนขณะที่พูดอยู่ หรือในระหวา่ งอาทิตยน์ ้นั เดือนน้นั ก็ได้ ซ่ึงอาจจะมีคาเหล่าน้ีอยดู่ ว้ ยก็ได้ now / right now ตอนน้ี at the moment ตอนน้ี หลกั การแปล ใหแ้ ปลรวบ is am are กบั กริยาที่เติม ing วา่ ” กาลงั ….” I am studying hard, John. จอห์น ฉนั กาลงั เรียนหนกั นะ (ไมใ่ ช่ขณะน้ี แตเ่ ป็ นพกั น้ี) He is driving a car. เขากาลงั ขบั รถ She‘s eating an apple. หล่อนกาลงั กินแอปเปิ้ ล It is raining at the moment. มนั กาลงั ฝนตกขณะน้ี (ฝนกาลงั ตก) A cat is sleeping in the room. แมวกาลงั นอนหลบั ในหอ้ ง You are sitting on my book. คุณกาลงั นง่ั บนหนงั สือของฉนั

We are running right now. พวกเรากาลงั วงิ่ ขณะน้ี They are going to school. พวกเขากาลงั ไปโรงเรียน ตัวอย่างประโยคคาถาม Is he driving a car? เขากาลงั ขบั รถใช่ไหม yes, he is./ No, he isn’t. Is she eating an apple? หล่อนกาลงั กินแอปเปิ้ ลใช่ไหม Yes, she is. / No, she isn’t. Is it raining at the moment? มนั กาลงั ฝนตกขณะน้ีใช่ไหม Yes, it is./ No, it isn’t. Is a cat sleeping in the room? แมวกาลงั นอนหลบั ในหอ้ งใช่ไหม Yes, it is./ No, it isn’t. ตัวอย่างประโยคปฏเิ สธ You‘re sitting on my book. คุณไมไ่ ดก้ าลงั นงั่ บนหนงั สือของฉนั We‘re not running right now. พวกเราไม่ไดก้ าลงั วงิ่ ขณะน้ี They‘re not going to school? พวกเขาไมไ่ ดก้ าลงั ไปโรงเรียน ตวั อย่างประโยค Wh-questions What are doing? คุณกาลงั ทาอะไร I’m walking. ฉนั กาลงั เดิน Who is taking. ใครกาลงั พดู Jo is talking. โจกาลงั พดู Where are you going? คุณกาลงั ไปไหน I’m going home. ฉนั กาลงั กลบั บา้ น How are you doing? สบายดีไหม I’m good. สบายดี Why is she crying? หล่อนร้องใหท้ าไม Her cat is dead. แมวของหล่อนตาย Past Simple Tense Past Simple Tense ใชใ้ นเหตุการณ์ในอดีตท่ีจบไปแลว้ หรือ ใชบ้ อกในเรื่องท่ีเป็นกิจวตั รประจาในอดีต หรือเคยไปที่ ไหนในอดีตมาแลว้ หลกั การใช้และโครงสร้างของ Past Simple Tense 1. ใชก้ บั เรื่องที่เกิดข้ึนในอดีตและจบสิ้นลงไปเรียบร้อยแลว้ สงั เกตง่าย ๆ วา่ มกั จะมีการระบุช่วงเวลาไวด้ ว้ ยวา่ เกิดข้ึน เม่ือไหร่ และใชก้ ริยาช่อง 2 โครงสร้างและตัวอย่างประโยค...

Key word บอกเวลาซ่ึงจบไปแลว้ ที่พบบ่อย ๆ ในประโยค Past Simple Tense ไดแ้ ก่ Yesterday, Last, Ago โดยใชร้ ่วมกบั คา บอกเวลาอื่น ๆ ตวั อยา่ งเช่น เมื่อกริยาช่อง 2 เป็นองคป์ ระกอบสาคญั เราจึงตอ้ งท่องคากริยาท่ีอยใู่ นช่อง 2 ให้ดีวา่ เติม –ed หรือ -d หรือไม่ ตวั อยา่ งกริยา ช่อง 2 ช่อง ตัวอย่างประโยค They came here yesterday. (พวกเขามาท่ีนี่เม่ือวานน้ี) He left home ten minutes ago. (เขาออกจากบา้ นเมื่อ 50 นาทีที่แลว้ ) I bought a new phone two days ago. (ฉนั ซ้ือโทรศพั ทใ์ หม่มาเม่ือ 2 วนั ก่อน) He always went to office late last month. (เขาไปสานกั งานสายเสมอเมื่อเดือนท่ีแลว้ )

Question Words Question Words คือคาที่ใชข้ ้ึนตน้ ประโยค เพื่อทาใหป้ ระโยคน้นั กลายเป็นประโยคคาถาม ซ่ึงตอ้ งการคาตอบ ประโยค คาถามส่วนใหญจ่ ะข้ึนตน้ ดว้ ย “W” และ “H” ในท่ีนี่ขอเสนอ Question Words ท้งั สิ้น 8 คาไดแ้ ก่ What? Where? When? Why? Which? Who? Whose? และ How? 1. What? (อะไร) -ถามแบบตอบไดก้ วา้ งๆ เช่น ถามช่ือ หรือชื่นชอบอะไร เช่น What is your favorite football club? หรือ What is your name? -ถามแบบตอ้ งการคาตอบที่เฉพาะเจาะจง เช่น What is your age? 27 What day are you are coming to school? (Specific day)Wednesday What time is it? (Specific time) – 10:20 What year were you born? (Specific year) 1999 -ถามเพื่อขอเหตุผล เช่น What made you do that for? 2. Where? (ทไ่ี หน) -ถามถึงสถานท่ี หรือตาแหน่ง เช่น Where are you now? หรือ Where do you live? 3. When? (เม่ือไหร่) -ถามถึงเวลา วนั หรือวนั ที่ เช่น Q:When were you born? A: I was born on 30th November, 1988. Q: When are you coming to visit? A: On Friday/Later/In the afternoon/At night/3pm. 4. Why? (ทาไม) -ใช้ why เพ่อื ถามเพ่อื หาคาตอบ พร้อมเหตุผล เช่น Why did you mess up my bedroom? หรือ Why did you cheat on your husband? -ใช้ Why don’t/Why not เพือ่ เสนอขอ้ คิดเห็น หรือคาแนะนา เช่น Why don’t we visit Valencia Cathedral next Tuesday? 5. Which? (คนไหน ตวั ไหน หรืออนั ไหน) -Which แปลวา่ คนไหนตวั ไหน หรืออนั ไหน ใชไ้ ดก้ บั คน สัตว์ และส่ิงของ และสามารถเป็นไดท้ ้งั ประธาน และกรรมของกริยา เช่น Which colour is better? Red or blue? หรือ Which football club do you support? Inter Milan or Chelsea? 6. Who? (ใคร) -ถามถึงบุคคล เช่น Who assassinated the president?

7. Whose? (ของใคร) -Whose + นาม + กริยา + (กรรม) ? เช่น Whose shoes is this? -Whose ทาหนา้ ที่เป็นกรรม เช่น Whose car will you rent? 8. How? (อย่างไร) -ถามอาการ ความเป็นอยู่ เพ่ือขอทราบรายละเอียดที่มากข้ึน เช่น How are you today? -ถามถึงผลลพั ธ์ เช่น How was the performance? -ถามเพอ่ื ทาความเขา้ ใจ และทราบขอ้ มูลใหม้ ากข้ึน เช่น How do you normally get to your office? หรือ How did you arrive at your answer? -ถามเกี่ยวกบั ปริมาณ เช่น How many students are there in the classroom? หรือ How much flour is needed to bake the cake? -ถามจานวน เช่น How much for 1kg of apples? -สอบถามถึงเหตุผล แบบไมเ่ ป็นทางการนกั เช่น How come this unfortunate incident had to happen now? -ถามความยาว เช่น How long is the king cobra? หรือ How long were you away from home? -ถามความสูง/เต้ีย How short/tall of…? -ถามระยะทางใกล/้ ไกล เช่น How far/near away is your school from your home? -ถามอายุ เช่น How old are you this year? หรือ How young is she? -ถามเพ่อื ตอ้ งการการตอบรับ เช่น How do you find the new teacher?

Adverbs of Frequency Adverb of Frequency หรือกริยาวเิ ศษณ์ที่บ่งบอกถึงความถ่ีในการกระทากริยาบางอยา่ ง Subject + Adverb + Verb (ทผี่ นั ตามประธาน) ตัวอย่างประโยค Ex. I always get up at 6 AM. (ฉนั ต่ืนนอนหกโมงเชา้ เสมอ) Ex. They usually hang out here very Friday’s night. (พวกเขามาสงั สรรคก์ นั ที่น่ีเป็ นประจาทุกวนั ศุกร์) Ex. I often watch Netflix before bed. (ฉนั จะดูเน็ตฟลิกซ์ก่อนนอนบอ่ ย ๆ) Ex. I sometime play basketball on the weekend. (บางคร้ังฉนั ก็เล่นบาสเก็ตบอลช่วงวนั หยดุ เสาร์อาทิตย)์ Ex. I seldom go shopping alone. (นาน ๆ ทีฉนั จะไปช็อปปิ้ งคนเดียว) Ex. I never go to opera, it’s really not my thing. (ฉนั ไม่เคยไปดูโอเปราเลย มนั ไม่ใช่ทางของฉนั จริง ๆ)

Countable and Uncountable Nouns หลกั การใช้ countable and uncountable nouns 1.Countable Nouns ( นามนับได้ ) เป็นนามท่ีสามารถแยกนบั จานวนหน่ึง สอง สาม... ได้ ไม่วา่ จะมีหรือไมม่ ีรูปร่างกไ็ ด้ มีรูปร่าง (สามารถสมั ผสั ได้ ) – เช่น dog, chair , tree, school, country, student, biscuit ไม่มีรูปร่าง ( ไมส่ ามารถสมั ผสั ได้ ) - เช่น day , month, year, weekend, journey กิจกรรม : job, assignment มีท้งั รูปเอกพจน์และพหูพจน์ เอกพจน์: เช่น dog, country, day, year หูพจน:์ เช่น dogs, countries, days, years การใช้ นามนับได้เอกพจน์ ต้องนาหน้าด้วย determiners อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น I want an orange. (ไม่ใช่ I want orange.) Where is the bottle? ( ไม่ใช่ Where is bottle?) Do you want this book? การใช้นามนับได้พหูพจน์อาจจะนาหน้าด้วย articles หรือไม่กไ็ ด้ เช่น I like to feed the birds. ( เฉพาะเจาะจง ตอ้ งมี articles ) Cats are interesting pets. ( ไม่เฉพาะเจาะจง ไมต่ อ้ งมี article ) I want those books on the table. ( those เป็น determiners ) 2. Uncountable Nouns ( นามนับไม่ได้ ) เป็นนามที่นบั ไมไ่ ด้ เน่ืองจากภาษาองั กฤษมองส่ิงน้นั ในภาพรวมและคิดวา่ ไม่สามารถจะแยกเป็นส่วนไดร้ วมท้งั ความคิด การ กระทาต่างๆท่ีเป็นรูปธรรม( abstract nouns ) ดว้ ย เช่น Concrete: เช่น water, milk, butter, furniture, luggage, iron, equipment, clothing, garbage, junk Abstract : เช่น anger, courage, satisfaction, happiness, knowledge ชื่อภาษา: เช่น English, German, Spain กีฬาตา่ งๆ : เช่น hockey, football, tennis ช่ือวชิ าต่างๆ: เช่น sociology, medicine, anthropology กิจกรรมตา่ งๆ: swimming, eating อื่นๆ : news, money, mail ,work, homework, gossip, education, weather, difficulty, information, feminism, optimism, machinery, information, research, traffic, scenery, breakfast, accommodation, advice, permission มรี ูปเอกพจน์ และเมื่อกล่าวถึงเป็นการทว่ั ๆไป หรือ ไมไ่ ดก้ ล่าวถึงมาก่อน ไม่ตอ้ งนาดว้ ย articles เช่น I have bread and butter for breakfast every morning. ( ฉนั กินขนมปังและเนยเป็ นอาหารเชา้ ทุกวนั ) We cannot live without air and water. ( เราไม่สามารถมีชีวติ อยไู่ ดโ้ ดยปราศจากอากาศและน้า ) Information is often valuable.( ขอ้ มูลขา่ วสารมกั จะมีคุณคา่ )

Sunlight and water are usually required for plants to grow. ( แสงแดดและน้าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเจริญเติบโต ของพชื ) My favorite breakfast is cereal with fruit, milk, orange juice, and toast. Uncountable nouns ที่ทาหนา้ ทีประธานของประโยค จะตอ้ งใช้ verb ดว้ ยหลกั การเดียวกบั คานามเอกพจน์ เช่น Butter is fattening. ( เนยทาใหอ้ ว้ น ) ปกติจะมีรูปเป็ นเอกพจน์ แต่ทาใหเ้ ป็นพหูพจน์ไดโ้ ดยบอกจานวนตามภาชนะท่ีบรรจุ กลุ่ม น้าหนกั และลกั ษณะนาม เช่น two cups of water, three pieces of information, five patches of sunlight , three games of hockey, two lumps of sugar I need two lumps of sugar for my coffee. ฉนั กินกาแฟตอ้ งใส่น้าตาล 2 กอ้ น Two glasses of milk are enough. นมสองแกว้ กเ็ พยี งพอแลว้ ( ใช้ are เน่ืองจาก glasses เป็นพหูพจน์ ) 3. คานามทเ่ี ป็ นได้ท้งั Countable และ Uncountable คานามบางคาสามารถเป็ นได้ท้งั นามนับได้และนามนับไม่ได้ แล้วแต่การ ใช้ เช่น ตัวอย่างเช่น I like duck. ฉนั ชอบกินเน้ือเป็ด ( uncountable noun ) I like ducks. ฉนั ชอบเป็ด (ชอบสตั วท์ ่ีเรียกวา่ เป็ด ) ( countable noun ) Beer is a bitter drink. เบียร์เป็นเคร่ืองดื่มท่ีมีรสขม ( uncountable noun ) I think I ordered two beers. ฉนั คิดวา่ ฉนั ส่งั เบียร์ไปสองแกว้ นะ ( countable noun )

เอกพจน์ ต้องเติม s ไหม

- ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ ( He, She, It, Tom, My sister, Chip ) ที่คำกริยา จะต้องเติม s หรือ es. - ถ้าประธานเป็นพหูพจน์ ( They, We, You, I, My sisters, Chip and Trig ) ที่คำกริยาคงไว้เหมือนเดิม

Fish เติม s ได้ไหม

พอจะมองเห็นความแตกต่างของ fish ทั้ง 3 ความหมายในประโยคนี้ไหมคะ fishes ที่เติม es เป็นพหูพจน์ได้นั้น จะหมายความถึงสายพันธุ์ปลาค่ะ ในภาษาไทยนับลักษณะนามได้ว่า พันธุ์ แต่ในขณะที่ fish ที่เป็นคำนามนับไม่ได้ นั้นจะหมายความถึง ปลาเป็นตัวๆ และ เนื้อปลา ที่เรานำมาใช้ประกอบอาหารนั่นเอง นอกจาก Fish แล้วเราจะเห็นศัพท์ในทำนอง ...

เติม s ในกรณีไหน

หลักการเติม s/es ก็คือ.

1. เติม s หลังคำกริยาได้ทั่วๆไปเลย eat eats. walk walks. stay stays..

2. ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วย s, sh, ch, x, z และ o เราต้องเติม es หลังกริยานั้นๆ miss misses. wish wishes. watch watches. fix fixes. buzz buzzes. go goes. ประเด็นคือ ให้เราฝึกฟอร์มประโยคบ่อยๆ เพราะเวลาใช้จริงๆ จะได้ไม่ลืม!.

ประธาน เติม s คืออะไร

** คุณครูมีเทคนิคการจำง่ายๆ มาฝากคะ ** 1.ให้ดูว่าประธานในประโยคเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ ถ้าประธานเป็นเอกพจน์เราจะต้องเติม s , es ให้ ประธานทุกครั้งเนื่องจากประธานเหงาอยู่คนเดียวดังนั้นจึงต้องเติม s , es เป็นเพื่อนค่ะ เช่น Suda goes to school every day.