กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้จัดตั้ง คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานในระดับกรม สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่ดูแลภาพรวมด้านพลังงานของประเทศ แต่เนื่องจากหน่วยงานด้านพลังงานต่างกระจายออกไปสังกัดในกระทรวงที่ต่างกัน ทำให้มีปัญหาในเรื่องการประสานงาน รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จึงมีมติเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 จัดตั้ง “ทบวงพลังงาน” และต่อมาเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2545 ที่ประชุมร่วมระหว่างนายกรัฐมนตรี กับรองนายกรัฐมนตรี ที่กำกับการบริหารราชการแต่ละกระทรวง ทบวง รวม 5 ท่าน ได้มีมติให้ยกระดับส่วนราชการ “ทบวงพลังงาน” เป็น “กระทรวงพลังงาน”

กระทั่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม พ.ศ. 2545 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จึงถือเป็นการก่อตั้งกระทรวงพลังงานอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545

รายนามปลัดกระทรวง[แก้]

รายนาม วาระ เชิดพงษ์ สิริวิชช์ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 30 กันยายน พ.ศ. 2549 พรชัย รุจิประภา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ณอคุณ สิทธิพงศ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 - 30 กันยายน พ.ศ. 2556 สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 คุรุจิต นาครทรรพ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2558 อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 ธรรมยศ ศรีช่วย 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561 กุลิศ สมบัติศิริ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - 30 กันยายน พ.ศ. 2566 ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - ปัจจุบัน

ที่ตั้ง[แก้]

กระทรวงพลังงาน เดิมตั้งอยู่ที่บ้านพิบูลธรรม เลขที่ 17 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ปัจจุบันกระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมธุรกิจพลังงาน ได้ย้ายมาตั้งที่อาคารศูนย์เอเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ ถนนวิภาวดีรังสิต คงเหลือกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ที่ยังอยู่ที่บ้านพิบูลธรรมเช่นเดิม

ตราสัญลักษณ์[แก้]

โลกุตระ สื่อความหมายถึง พุทธปัญญา ความหยั่งรู้ในการทำให้หลุดพ้น นอกจากนี้สัญลักษณ์นี้ ยังอาจดูได้ประหนึ่งคล้าย "เปลวไฟ" ที่กำลังลุกโชติช่วง ให้ความสว่างไสว สะท้อนถึงพลังงานที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และความเจริญของประเทศ

หน่วยงานในสังกัด[แก้]

ส่วนราชการ[แก้]

กระทรวงพลังงานมีหน่วยงานระดับกรมในสังกัด 6 หน่วยงาน ดังนี้

  • สำนักงานรัฐมนตรี
  • สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน
  • กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
  • สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
  • กรมธุรกิจพลังงาน
  • กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

รัฐวิสาหกิจ[แก้]

  • บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

หน่วยงานที่กำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน[แก้]

  • สำนักงานกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง

อ้างอิง[แก้]

ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558

พิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน กกพ. และสำนักงาน กกพ. ประจำปีพุทธศักราช 2566

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 14.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานผ้าพระกฐินให้คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ตามที่ขอพระราชทานเพื่อน้อมนำไปถวายพระสงฆ์ จำพรรษาถ้วนไตรมาส เพื่อเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาพร้อมทั้งถวายเครื่องไทยธรรมแด่พระสงฆ์ โดยมี นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เป็นประธาน ถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ประจาปี 2566 ณ วัดหัวลำโพง พระอารามหลวง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

13 พ.ย. 2566

img

สำนักงาน กกพ. ร่วมน้อมรำลึกและเทิดพระเกียรติ วันนวมินทรมหาราช พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย

วันนี้ (12 ตุลาคม 2566) สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจารพลังงาน (สำนักงาน กกพ.) นำโดย นายประสิทธิ์ สิริทิพย์รัศมี รองเลขาธิการสำนักงาน กกพ. และผู้บริหาร เข้าร่วมกิจกรรมน้อมรำลึกและเทิดพระเกียรติ วันนวมินทรมหาราช พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย โดยกิจกรรมประกอบด้วย พิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ และเยี่ยมชมนิทรรศการภาพวาดพระราชกรณียกิจ ร.9 รวมถึงเยี่ยมชมนิทรรศการ ธ ทรงเป็นแรงบันดาลใจ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ บริเวณลานพระพรหม และโถงล็อบบี้ อาคารบี ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ กรุงเทพฯ

12 ต.ค. 2566

img

กิจกรรมน้อมรำลึกและเทิดพระเกียรติ วันนวมินทรมหาราช พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย

สำนักงาน กกพ. นำโดย นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พร้อมกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างสำนักงาน กกพ. เข้าร่วมกิจกรรมน้อมรำลึกและเทิดพระเกียรติ วันนวมินทรมหาราช พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย ณ โถงหน้าพระสุริยเทพ ชั้น 19 สำนักงาน กกพ. เพื่อน้อมนำสืบสานพระราชปณิธาน โดยคำนึงถึงการสร้างประโยชน์คุโนปการด้านพลังงาน แก่ประเทศชาติและประชาชนสืบไป

11 ต.ค. 2566

การซื้อขายไฟฟ้าแบบ P2P (Peer-to-Peer Energy Trading)

การซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer (P2P) เป็นรูปแบบธุรกิจที่ใช้แพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อถึงกันซึ่งทำหน้าที่เป็นตลาดออนไลน์ที่ผู้บริโภคและผู้ผลิต ”พบปะ” เพื่อซื้อขายไฟฟ้าโดยตรงโดยไม่จำเป็นต้องใช้คนกลาง เป็นแพลตฟอร์มที่อนุญาตให้แหล่งผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว (distributed energy generators) ในพื้นที่สามารถขายไฟฟ้าได้ในราคาที่ต้องการให้กับผู้บริโภคที่ยินดีจ่ายราคานั้น โดยเป็นการจับคู่ราคาเสนอซื้อและราคาเสนอขายระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายซึ่งเป็นสมาชิกในแพลตฟอร์ม ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า การซื้อขายไฟฟ้าแบบ P2P เปรียบเสมือนเป็น “Uber” หรือ “Airbnb” ของวงการพลังงาน โดยปกติผู้เสนอขายจะแสวงหาราคาสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยคำนึงถึงต้นทุนและผลกำไรด้วย ขณะที่ผู้ใช้ไฟฟ้าจะเสนอซื้อราคาต่ำสุดที่เป็นไปได้ตามความต้องการของตน

img

การซื้อขายไฟฟ้าแบบ P2P (Peer-to-Peer Energy Trading)

การซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer (P2P) เป็นรูปแบบธุรกิจที่ใช้แพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อถึงกันซึ่งทำหน้าที่เป็นตลาดออนไลน์ที่ผู้บริโภคและผู้ผลิต ”พบปะ” เพื่อซื้อขายไฟฟ้าโดยตรงโดยไม่จำเป็นต้องใช้คนกลาง เป็นแพลตฟอร์มที่อนุญาตให้แหล่งผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว (distributed energy generators) ในพื้นที่สามารถขายไฟฟ้าได้ในราคาที่ต้องการให้กับผู้บริโภคที่ยินดีจ่ายราคานั้น โดยเป็นการจับคู่ราคาเสนอซื้อและราคาเสนอขายระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายซึ่งเป็นสมาชิกในแพลตฟอร์ม ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า การซื้อขายไฟฟ้าแบบ P2P เปรียบเสมือนเป็น “Uber” หรือ “Airbnb” ของวงการพลังงาน โดยปกติผู้เสนอขายจะแสวงหาราคาสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยคำนึงถึงต้นทุนและผลกำไรด้วย ขณะที่ผู้ใช้ไฟฟ้าจะเสนอซื้อราคาต่ำสุดที่เป็นไปได้ตามความต้องการของตน

06 พ.ย. 2566

img

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาดจิ๋วตัวละครหลักในการส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน

พลังงานที่สะอาดและยั่งยืนไม่เคยมีความสำคัญเท่านี้มาก่อน ”SMR (Small Modular Reactor) เป็นผู้เปลี่ยนเกมในโลกแห่งพลังงานสะอาด โรงไฟฟ้าขนาดเล็กเหล่านี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อควบคุมพลังงานนิวเคลียร์อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในทางกลับกัน พวกมันปลอดภัยกว่าและยั่งยืนกว่า!”

16 ต.ค. 2566

img

สรุปประเด็นสำคัญจากงานสัมมนาเชิงวิชาการ ERC Forum 2023

เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม 2566 คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สํานักงาน กกพ.) ได้จัดสัมมนาเชิงวิชาการระหว่างประเทศประจําปี พ.ศ. 2566: ERC Forum 2023 ภายใต้หัวข้อหลัก “Renewable and Sustainable Energy Transition” โดยมี กกพ. และผู้บริหารสํานักงาน กกพ. และผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานระดับสากลทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ รวมทั้งส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านพลังงาน (Energy Transition) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานที่ยั่งยืนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำ โดยงานสัมมนาดังกล่าวจัดขึ้น ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ ประกอบด้วยการเสวนาและการบรรยาย รวมทั้งสิ้น 5 ช่วง (Session)

08 ก.ย. 2566

img

ไฮโดรเจน : อนาคตแห่งพลังงานโลก (ตอนที่ 3)

ไฮโดรเจนถูกมองว่าเป็นแกนหลักของความพยายามในการลดคาร์บอนในทศวรรษต่อจากนี้ ด้วยคุณสมบัติเฉพาะตัวช่วยให้สามารถใช้งานไฮโดรเจนในภาคส่วนต่างๆ ของเศรษฐกิจ เช่น อุตสาหกรรม การขนส่ง และการผลิตไฟฟ้า ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้หลายแนวทาง ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบคาร์บอนต่ำ วิถีดั้งเดิมหมายถึงการผลิตไฮโดรเจนจากก๊าซธรรมชาติและถ่านหิน ซึ่งครอบคลุมมากกว่า 80% ของอุปทานไฮโดรเจนในปัจจุบันทั่วโลก

15 ส.ค. 2566

img

ไฮโดรเจน : อนาคตแห่งพลังงานโลก (ตอนที่ 2)

ด้วยวิกฤตการณ์สภาพอากาศแปรปรวน (Climate Change) ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาอันเนื่องมาจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก ทำให้นานาประเทศหันมาใช้มาตรการต่างๆ ในการลดการปลดปล่อยคาร์บอน เพื่อบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Emission) โดยประเทศไทยได้ให้คำมั่นในการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 26 (COP26) ว่า ไทยจะก้าวเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2050 และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2065 อันนำมาสู่การจัดทำแผน ”นโยบายอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน” เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานพร้อมสร้างความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม โดย 1 ใน 5 แนวทางหลักในการดำเนินการสู่เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน คือ การใช้พลังงานไฮโดรเจนซึ่งเป็นพลังงานสีเขียวนั่นเอง ซึ่งประเทศไทยพบว่า พลังงานไฮโดรเจนเป็นความหวังใหม่ที่จะมานำมาซึ่งเสถียรภาพการผลิตไฟฟ้า โดยจะเริ่มจากไฮโดรเจนสีฟ้า (blue hydrogen) พัฒนาต่อสู่ไฮโดรเจนสีเขียว (green hydrogen) ควบคู่กับระบบการกักเก็บคาร์บอน ที่จะมาช่วยแก้จุดอ่อนเสริมจุดแข็งด้านพลังงานของประเทศไทยอย่างยั่งยืนตามแนวทางโลก

11 ส.ค. 2566

img

ไอเดียและเทคโนโลยีที่น่าจับตามองในปี 2023

พัฒนาการทางด้านนวัตกรรมใหม่ของโลกปัจจุบันก้าวล้ำเกินกว่าที่มนุษย์อย่างเราจะคาดการณ์ได้มากมายนัก บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอไอเดียและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอันน่าตื่นเต้นที่เราคาดว่าจะได้เห็นในอนาคตอันใกล้นี้ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีของ Deep Neutral Networks, Adaptive Robotics, Autonomous Mobility, Next Gen Cloud, Intelligent Devices การนำ AI มาพัฒนาเรื่องพันธุกรรม และอื่นๆ อ้างอิงจากเอกสารของ Active Research Knowledge ซึ่งเป็น บลจ. เชื้อสายอเมริกันที่ Catherine Wood อดีต CIO ของ AllianceBernstein ครอบคลุมเนื้อหาด้านวิทยาการหุ่นยนต์ การพิมพ์ 3 มิติไปจนถึงกระเป๋าเงินดิจิทัลและเครือข่ายสัญญาณอัจฉริยะ ที่มีวิวัฒนาการน่าอัศจรรย์มากมายให้คุณได้ติดตามอย่างใกล้ชิด

16 มิ.ย. 2566

รับฟังความคิดเห็นเสร็จสิ้นแล้ว


สถิติพลังงาน

สถานการณ์การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติของผู้ได้รับใบอนุญาต ในปี พ.ศ. 2565

กำลังการผลิตรวมไฟฟ้าพลังงานน้ำของประเทศไทย

การจัดหาก๊าซธรรมชาติ

กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

Myanmar Gas

กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

LNG

กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

Gulf Gas

การผลิตพลังงานไฟฟ้าในระบบ

(กฟผ. กฟภ. และ กฟน.) แยกตามเชื้อเพลิง

  • Diesel Oil
  • Fuel Oil
  • Hydro
  • Coal
  • Lignite
  • Renewable
  • Import
  • Natural Gas

Calendar And Announcement

กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

กระทรวงพล งงาน ภ ม ภาค ประเทศอ น ทำอะไรบ าง

ความมั่นคงของพลังงาน

ทั้งปัจจุบัน และอนาคต คือ หน้าที่ของเรา

กำกับดูแลประกอบกิจการพลังงานให้มีระบบการบริหารจัดการพลังงานให้มีความมั่นคงและเชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพเป็นธรรม ต่อผู้ใช้และผู้ประกอบกิจการพลังงาน ตลอดจนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ความรู้คู่พลังงานไทย

ต้นแบบโรงไฟฟ้าขยะชุมชนไร้มลพิษ แห่งแรกในไทย

ถ้าให้มองสถานการณ์ของการผลิตไฟฟ้าแบบดั้งเดิมโดยใช้ก๊าซธรรมชาติ มันมีความเสี่ยงที่จะทำให้ในอนาคตประเทศไทย จะเสี่ยงต่อการที่ค่าไฟจะขึ้นราคาไปมากกว่านี้ เพราะปริมาณก๊าซในอ่าวไทยที่เราผลิตได้เองก็ลดน้อยลงทุก ๆ ปี

บทความด้านพลังงาน

การซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer (P2P) เป็นรูปแบบธุรกิจที่ใช้แพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อถึงกันซึ่งทำหน้าที่เป็นตลาดออนไลน์ที่ผู้บริโภคและผู้ผลิต ”พบปะ” เพื่อซื้อขายไฟฟ้าโดยตรงโดยไม่จำเป็นต้องใช้คนกลาง เป็นแพลตฟอร์มที่อนุญาตให้แหล่งผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว (distributed energy generators) ในพื้นที่สามารถขายไฟฟ้าได้ในราคาที่ต้องการให้กับผู้บริโภคที่ยินดีจ่ายราคานั้น โดยเป็นการจับคู่ราคาเสนอซื้อและราคาเสนอขายระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายซึ่งเป็นสมาชิกในแพลตฟอร์ม ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า การซื้อขายไฟฟ้าแบบ P2P เปรียบเสมือนเป็น “Uber” หรือ “Airbnb” ของวงการพลังงาน โดยปกติผู้เสนอขายจะแสวงหาราคาสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยคำนึงถึงต้นทุนและผลกำไรด้วย ขณะที่ผู้ใช้ไฟฟ้าจะเสนอซื้อราคาต่ำสุดที่เป็นไปได้ตามความต้องการของตน