ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

  • All
  • Anime

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

24:02

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

1:03:46

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:59

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

25:04

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:31

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:16

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:37

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:32

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

1:44:30

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

23:14

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

5:06

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

24:00

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

22:45

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

54:10

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

7:14

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

12:41

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

12:15

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

2:23

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

7:31

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

12:18

Home>Bleach Movie Memories of Nobody - บลีช เทพมรณะ เดอะมูฟวี่ 1 ความทรงจำแห่งผู้ไร้ตัวตน [พากย์ไทย]\>

บทความเชิงชีวประวัตินี้ มีแหล่งอ้างอิงอยู่แล้ว แต่ไม่น่าเชื่อถือ หรือต้องการเพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ในการพิสูจน์ความถูกต้อง โปรดช่วยเพิ่มแหล่งอ้างอิงที่ขาดไปและที่เชื่อถือได้ เนื้อหาอันเป็นประเด็นถกเถียง โดยเฉพาะที่เป็นเชิงหมิ่นประมาท ใส่ความ หรือว่าร้าย ซึ่งไม่มีแหล่งอ้างอิงโดยสิ้นเชิง หรือมี แต่เชื่อถือมิได้นั้น ให้นำออกทันที

ภัทรวุฒิ สมุทรนาวี (ชื่อเล่น: หนึ่ง) (เกิดวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักพากย์ชาวไทย มักได้รับบทพระเอกอยู่เสมอ เริ่มทำงานมาตั้งแต่ พ.ศ. 2536 ปัจจุบันพากย์ประจำที่ ทรูวิชั่นส์ แต่ก็รับงานบริษัทอื่น ๆ หลายแห่ง อาทิ ไทก้า, เดกซ์, อามีโก้ และบริษัทอื่นๆ

บทความนี้เกี่ยวกับวิดีโอเกมสตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี เวอร์ชันเพลย์สเตชัน และเซกา แซตเทิร์น สำหรับเกมอาร์เคดที่สร้างจากภาพยนตร์เรื่องเดียวกัน ดูที่ สตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี (เกมอาร์เคด)

สตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย

ปกเซกา แซตเทิร์น เวอร์ชันอเมริกาเหนือ

ผู้พัฒนาแคปคอมผู้จัดจำหน่าย

  • ญี่ปุ่น: แคปคอม
  • อเมริกาเหนือ/ยุโรป: อะเคลมเอนเตอร์เทนเมนต์

เครื่องเล่นเซกา แซตเทิร์น, เพลย์สเตชันวางจำหน่ายเซกา แซตเทิร์น

  • ญี่ปุ่น: 11 สิงหาคม ค.ศ. 1995
  • อเมริกาเหนือ: 23 สิงหาคม ค.ศ. 1995
  • ยุโรป: กันยายน ค.ศ. 1995

เพลย์สเตชัน

  • ญี่ปุ่น: 11 สิงหาคม ค.ศ. 1995
  • อเมริกาเหนือ: 9 กันยายน ค.ศ. 1995
  • ยุโรป: 29 กันยายน ค.ศ. 1995

แนวต่อสู้รูปแบบผู้เล่นสูงสุด 2 คนพร้อมกัน

สตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี (อังกฤษ: Street Fighter: The Movie) เป็นเกมต่อสู้ตัวต่อตัว ที่วางจำหน่ายสำหรับเพลย์สเตชัน และเซกา แซตเทิร์น ใน ค.ศ. 1995 ซึ่งมีฐานรากมาจากภาพยนตร์ ค.ศ. 1994

รูปแบบการเล่น[แก้]

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ริวเผชิญหน้าบลังก้า

แม้ว่ากราฟิกจะประกอบด้วยภาพดิจิทัลแบบเดียวกันกับนักแสดงในภาพยนตร์ที่ใช้สำหรับเวอร์ชันอาร์เคด แต่สไปรต์ได้รับการประมวลผลต่างกัน ฉากหลังต่างกันทั้งหมด และระบบการต่อสู้ใกล้เคียงกับซูเปอร์สตรีทไฟเตอร์ II X: แกรนด์มาสเตอร์ชาลเลนจ์ มาก นอกเหนือจากท่าพิเศษแบบปกติและซูเปอร์คอมโบแล้ว ผู้เล่นยังสามารถปฏิบัติการท่าพิเศษของตัวละครในเวอร์ชันที่ทรงพลังยิ่งขึ้น ซึ่งรู้จักกันในชื่อ "ซูเปอร์สเปเชียลมูฟ" เหมือนกับ "อีเอส มูฟ" ที่มีในเกมไนต์วอร์ริเออส์ และ "อีเอกซ์ สเปเชียล" ที่ในภายหลังเปิดตัวในสตรีทไฟเตอร์ III: เซคันด์อิมแพกต์ โดยท่าซูเปอร์สเปเชียลต้องการให้เกจซูเปอร์คอมโบเต็มอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง (หลังจากที่ส่วนที่เติมของเกจเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน) และสามารถทำได้โดยดำเนินการคำสั่งเดียวกันกับท่าพิเศษแบบปกติ แต่กดปุ่มโจมตีสองปุ่มแทนปุ่มเดียว

มีโหมดเกมสี่โหมดให้เลือก โหมดผู้เล่นเดี่ยวหลักอย่าง "มูฟวีแบตเทิล" เป็นโหมดเนื้อเรื่องซึ่งเป็นไปตามเนื้อเรื่องของภาพยนตร์ ผู้เล่นเข้าควบคุมไกล์ซึ่งกำลังปฏิบัติภารกิจแทรกซึมที่หลบซ่อนของไบสัน (ในเกมเวอร์ชันภาษาญี่ปุ่นคือเวก้า) ในเมืองชาโดลู ผู้เล่นสามารถเลือกระหว่างจุดแตกแยกที่แตกต่างกันหลังจากการแข่งบางแมตช์ ซึ่งกำหนดจำนวนคู่ต่อสู้ที่จะเผชิญหน้าก่อนจุดแยกถัดไป จนกระทั่งถึงแมตช์สุดท้ายกับสกัด, ไบสัน และไฟนอลไบสัน หลังจากเสร็จสิ้นโหมดมูฟวีแบตเทิล มิวสิกวิดีโอของเพลงประกอบภาพยนตร์ที่ชื่อ "ซัมติงแดร์" โดยเชจแอนด์อัสกะจะเริ่มบรรเลง

โหมดอื่น ๆ รวมถึงโหมดสไตล์อาร์เคดที่เรียกว่า "สตรีทแบตเทิล" ซึ่งผู้เล่นสามารถเลือกตัวละครแล้วเผชิญหน้ากับตัวละครที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์สิบสองตัว ปิดท้ายด้วยแซนกีฟ, ดี เจย์, สกัด และไบสัน ส่วน "เวอร์ซัสโหมด" ซึ่งเป็นโหมดมาตรฐานสำหรับผู้เล่นสองคน เป็นเช่นเดียวกับในเวอร์ชันคอนโซลก่อนหน้าของสตรีทไฟเตอร์ และ "ไทรเอิลโหมด" ที่ผู้เล่นต่อสู้กับบัญชีรายชื่อทั้งหมดเพื่อทำไฮสกอร์ หรือสถิติเวลาที่รวดเร็ว นอกจากนั้น ในระหว่างการต่อสู้ ตัวละครได้มีธีมดนตรีใหม่สำหรับเกมภาคนี้

ตัวละคร[แก้]

เวอร์ชันประจำบ้านของสตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี มีตัวละครหลายตัวที่เหมือนกันจากเกมอาร์เคด โดยมีความแตกต่างที่สำคัญเล็กน้อยในบัญชีรายชื่อ ตัวละครในภาพยนตร์ต้นฉบับอย่างกัปตันซาวาดะมีอยู่ในทั้งสองเวอร์ชัน อย่างไรก็ตาม ท่าพิเศษของเขานั้นแตกต่างจากที่มีในเวอร์ชันอาร์เคด ส่วนตัวละครดั้งเดิมอย่างเบลดจากเกมอาร์เคดพร้อมกับทหารม้าของไบสันที่สลับสีชุดอื่น ๆ นั้นไม่มีอยู่ในเวอร์ชันประจำบ้าน สำหรับอากูมะ (รับบทโดยเออร์นี เรเยส ซีเนียร์ ซึ่งในเกมเวอร์ชันภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิมคือโกกิ) ผู้เป็นตัวละครปกติในเกมอาร์เคด ได้กลับมาเป็นตัวละครที่ซ่อนอยู่อีกครั้ง ซึ่งสามารถเลือกได้โดยใช้สูตรลับเท่านั้น และสามารถต่อสู้ได้ในฐานะคู่ต่อสู้คนสุดท้ายในไทรเอิลโหมดเท่านั้น ขณะที่ตัวละครสองตัวจากภาพยนตร์สตรีท ไฟท์เตอร์ ยอดคนประจัญบาน ที่ไม่ได้อยู่ในเวอร์ชันอาร์เคดก็รวมอยู่ในภาคนี้ด้วย อันได้แก่ ดี เจย์ (รับบทโดยมิเกล อา. นูเญซ จูเนียร์) และบลังก้า (รับบทโดยคิม เรเปีย)

ด้านราอูล จูเลีย ได้เตรียมกลับมารับบทเอ็ม. ไบสัน ในเวอร์ชันวิดีโอเกม แม้ว่าเขาจะได้พบกับทีมงานของเกม แต่เขาก็ป่วยหนัก และท้ายที่สุดก็ไม่สามารถเข้าร่วมในโครงการนี้ได้ เนื่องจากเขาเสียชีวิตในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1994 ดาร์โก ทัสแกน สตันต์ของจูเลียจากภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงเข้ามาเติมเต็มบทบาทแทน ส่วนนักแสดงเพียงคนเดียวที่จะไม่แสดงบทบาทของเขาจากภาพยนตร์เรื่องนี้คือโรเบิร์ต แมมโมเน ผู้แสดงเป็นบลังก้า ซึ่งคิม เรเปีย ได้มาสวมบทบาทเพื่อเซตการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนของบลังก้า

ความแตกต่างระดับภูมิภาค[แก้]

เวอร์ชันคอนโซลได้รับการเปิดตัวในชื่อสตรีทไฟเตอร์: เรัยลแบตเทิลออนฟิล์ม ณ ประเทศญี่ปุ่น เพื่อแยกความแตกต่างจากเกมสตรีทไฟเตอร์ II มูฟวี ที่ไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งสร้างจากภาพยนตร์อนิเมะในชื่อเดียวกัน นอกเหนือจากการแปลข้อความแล้ว ตัวอย่างเสียงของตัวละครในเวอร์ชันภาษาญี่ปุ่นและภาษาอังกฤษจะแตกต่างกัน เช่นเดียวกับในพากย์ญี่ปุ่นของภาพยนตร์ หัวหน้าสามคนจากสตรีทไฟเตอร์ II ที่มีการเปลี่ยนชื่อระหว่างเวอร์ชันญี่ปุ่นและอเมริกา (บัลร็อก, เวก้า และเอ็ม. ไบสัน) ได้ถูกเรียกโดยชื่อโลกฝั่งตะวันตก ในทางตรงกันข้าม อากูมะถูกเรียกว่าโกกิในเวอร์ชั่นภาษาญี่ปุ่น

การตอบรับ[แก้]

การตอบรับคะแนนปฏิทรรศน์สิ่งพิมพ์เผยแพร่คะแนนออลเกม

ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
(แซตเทิร์น)อิเล็กทรอนิกเกมมิงมันทลี6.625/10 (แซตเทิร์น)เกมแฟน251/300 (แซตเทิร์น)ไฮเปอร์74 เปอร์เซ็นต์ (แซตเทิร์น)เนกซ์เจเนอเรชัน
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
(แซตเทิร์น)
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
(เพลย์สเตชัน)ออฟฟิเชียลเพลย์สเตชันแมกกาซีน (สหราชอาณาจักร)6/10 (เพลย์สเตชัน)นิตยสารเพลย์85 เปอร์เซ็นต์ (เพลย์สเตชัน)อิเล็กทรืกเพลย์กราวด์5/10 (แซตเทิร์น)แมกซิมัม
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
ก นด ม บ ลไฟเตอร ไทร เดอะม ฟว พากย ไทย
(แซตเทิร์น)เซกา แซตเทิร์น แมกกาซีน49 เปอร์เซ็นต์ (แซตเทิร์น)

เวอร์ชันเพลย์สเตชันประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์เมื่อเปิดตัว โดยขายหมดในร้านค้าปลีกภายในหนึ่งเดือนหลังจากวางจำหน่าย ณ ทวีปอเมริกาเหนือในเดือนกันยายน ค.ศ. 1995

เกมดังกล่าวได้รับการวิจารณ์เชิงลบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งการวิจารณ์เวอร์ชันแซตเทิร์นนั้น เรเดียน ออโตเมติก จากนิตยสารเซกา แซตเทิร์น แมกกาซีน ได้บ่นว่าเกมช้าลงมากเกิน และความจริงที่ว่าเกมนี้ไม่ใช่การแปลงเกมอาร์เคดที่มีชื่อเดียวกัน แต่เป็นอีกพอร์ตหนึ่งของซูเปอร์สตรีทไฟเตอร์ II X: แกรนด์มาสเตอร์ชาลเลนจ์ ที่มีการแปลงเป็นดิจิทัลกราฟิก ส่วนนักวิจารณ์ทั้งสี่รายของนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์เกมมิงมันทลีได้ติเตียนการควบคุม แต่ยกย่องภาพยนตร์ฟูลโมชันวิดีโอ และกลไกรูปแบบการเล่น ซึ่งไม่ใช่นักวิจารณ์ทุกคนที่ตระหนักว่าเกมนี้ไม่ใช่การแปลงเกมอาร์เคดที่มีชื่อเดียวกัน จึงทำให้เกิดความสับสน ด้านนิตยสารเกมโปรให้ความเห็นเชิงลบอย่างหนักแน่นในเวอร์ชันของแซตเทิร์น ซึ่งหาได้ยากสำหรับสิ่งพิมพ์ในเวลานั้น นักวิจารณ์ติเตียนแอนิเมชันที่ช้า และขาด ๆ หาย ๆ, เสียงการต่อสู้ที่อ่อนแอ, การวาดเฟรมที่คาดเดาไม่ได้ และเวลาคืนสภาพอย่างรวดเร็วของเหล่านักสู้ โดยกล่าวว่าผลลัพธ์นี้เป็น "เกมป้องกันที่รอและโจมตี มากกว่าการแข่งสตรีทไฟเตอร์ที่แท้จริง" รวมถึงนักวิจารณ์จากแมกซิมัมได้ติเตียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อคุณภาพที่ไม่ดีของการแปลงเป็นดิจิทัลและอัตราเฟรม เขายังให้ความเห็นด้วยว่าในขณะที่รูปแบบการเล่นนั้นเป็นพอร์ตของซูเปอร์สตรีทไฟเตอร์ II X: แกรนด์มาสเตอร์ชาลเลนจ์ ซึ่งก็ถูกทำให้หมดอำนาจจากการลดความเร็ว "การตอบสนองที่ลื่นไหล ตามสัญชาตญาณของเกมที่มีในสตรีทไฟเตอร์ก่อนหน้านี้ดูเหมือนจะหายไป และด้วยเหตุนี้ จึงเป็นการบีบบังคับให้เล่นเกมนี้อย่างแท้จริง" ส่วนนักวิจารณ์ของนิตยสารเนกซ์เจเนอเรชันได้ให้บทวิจารณ์ต่อเกมดังกล่าวเป็นบวกอย่างสมบูรณ์ เขายกย่องการเลือกตัวละครที่ครอบคลุม และมีโหมดต่าง ๆ จำนวนมากให้เล่น รวมทั้งสรุปว่าเกมนี้ "ดูและเล่นได้ดีมาก"

ในขณะที่นักวิจารณ์ของนิตยสารเกมโปรคนอื่น ๆ ได้กล่าวถึงเวอร์ชันเพลย์สเตชัน เขาก็วิจารณ์เกมในแง่ลบอย่างมากเช่นกัน โดยกล่าวว่าเกมใช้เวลาโหลดนาน, มีข้อบกพร่องที่เด่นชัด, ความล่าช้าในการควบคุม, การแสดงเสียงไม่ดี และสไปรต์แบบคลุมเครือที่ไม่เหมือนกับนักแสดงในภาพยนตร์ แม้ว่าพวกเขาจะวิจารณ์เวอร์ชันแซตเทิร์นในเชิงบวก แต่บทวิเคราะห์สั้น ๆ ต่อเวอร์ชันเพลย์สเตชันโดยนิตยสารเนกซ์เจเนอเรชันได้กล่าวถึงเกมนี้ว่าเป็น "ความผิดพลาดครั้งใหญ่รอบด้าน"

บ็อบ แมกกี จากยูเอสเกมเมอร์ระบุว่าสตรีทไฟเตอร์: เดอะมูฟวี เป็นหนึ่งในเกมเปิดตัวที่แย่ที่สุดสำหรับเพลย์สเตชัน โดยสังเกตว่าเกมนี้ "ส่วนใหญ่จำได้ว่าเป็นความอับอายที่น่าสังเวช" และจากการระลึกถึงความหลัง มาริสซา แมลี จากยูจีโอ.คอม ได้ให้เกมนี้อยู่อันดับที่ 102 ใน 102 เกมที่แย่ที่สุดตลอดกาลของเธอ

การสืบทอด[แก้]

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2018 สิทธิ์ในการเผยแพร่เกมของเวสเทิร์นได้ถูกซื้อกิจการโดยลิควิดมีเดียกรุป ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตของแคนาดา พร้อมกับเกมอื่น ๆ ที่บริษัทอะเคลมเอนเตอร์เทนเมนต์เป็นเจ้าของแต่เดิม

หมายเหตุ[แก้]

  • วางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นในชื่อสตรีทไฟเตอร์: เรัยลแบตเทิลออนฟิล์ม (ญี่ปุ่น: ストリートファイター リアルバトル オン フィルム; อังกฤษ: Street Fighter: Real Battle on Film) เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนกับเกมสตรีทไฟเตอร์ II มูฟวี ซึ่งอิงจากสตรีทไฟเตอร์ II: ดิแอนิเมเต็ดมูฟวี การวิจารณ์เวอร์ชันเซกา แซตเทิร์น ของนิตยสารเกมแฟนนั้นมาจากนักวิจารณ์สามคนที่มอบคะแนนต่างกัน ได้แก่ 84, 85 และ 82