ความพ งพอใจและความคาดหว งท ม ต อบร การในห องสม

ต่างๆ หรอื อปุ กรณ์โสตทศั นวสั ดุและมกี ารจดั ไว้อยา่ งเปน็ ระบบเพ่อื อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการ

ค้นคว้า ท่เี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ประจำอำเภอพานทอง โดยมีชื่อเตม็ วา่ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง

บรกิ ารหอ้ งสมดุ หมายถงึ บรกิ ารตา่ งๆ ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ได้แก่ บรกิ ารยมื -คืน

หนงั สือ/ส่ือสารสนเทศท่ัวไป บริการซดี ี/ดวี ีดี บริการท่นี ง่ั อา่ น บรกิ ารตอบคำถามและช่วยการคน้ คว้า ระเบียบการ

ใชห้ อ้ งสมดุ สภาพแวดล้อม อาคารสถานท่ี ครภุ ัณฑ์ ซ่ึงทางหอ้ งสมุดไดจ้ ดั เตรียมไว้เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ผ้ใู ช้

หอ้ งสมุด

ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สกึ หรือทัศนคตขิ องบคุ คลที่มีต่อสงิ่ หนงึ่ หรอื ปัจจยั ตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

ในท่ีน้ี คือ ความรู้สกึ หรือทศั นคติของผูใ้ ชห้ ้องสมดุ ท่มี ีต่อการรบั บริการประเภทตา่ งๆ ของหอ้ งสมดุ บริการดา้ น

ต่างๆ ของห้องสมดุ ทั่วไป มเี น้ือหาครอบคลมุ หลกั ๆ ท้งั 5 ด้าน คือ 1. ด้านบุคลากร 2. ด้านอาคารสถานที่

บรรยากาศและสภาพการจัดหอ้ งสมุด 3. ดา้ นทรัพยากรสารสนเทศและเคร่ืองมือช่วยสืบคน้ 4. ดา้ นบรกิ ารตอบ

คำถามและชว่ ยการคน้ คว้า 5. ดา้ นบรกิ ารยืม-คนื หนังสือ/สอ่ื สารสนเทศ รวมเปน็ รายขอ้ 20 ข้อ

7

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบถงึ ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการที่มีตอ่ การใช้บริการหอ้ งสมดุ ตลอดจน

ทราบถงึ ศักยภาพการบรกิ ารของงานห้องสมุดในการสนองตอบตอ่ ปญั หาและความต้องการของผู้ร่วมกิจกรรมและ ใชบ้ ริการาเพอ่ื เปน็ การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านหอ้ งสมุด

2. เพอื่ เป็นแนวทางในการปรบั ปรุง ระบบ กระบวนการ และพฤตกิ รรมของบคุ คลผู้ให้บริการได้ตรงจดุ เพือ่ ปรับปรุงพฒั นางานหอ้ งสมดุ ใหม้ ีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลมากยิง่ ขึ้น

8

บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง

ในการศกึ ษาครง้ั นี้ ผ้ทู ำการวิจยั ได้นำทฤษฎแี ละเอกสารงานวจิ ัยตา่ งๆ ที่มีความเกีย่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาถงึ ความพงึ พอใจของนกั ศึกษา กศน.อำเภอพานทอง ทมี่ ารับบริการหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 2.1 ทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง

2.1.1 ทฤษฎอี ุปสงค์ (Demand Theory) อปุ สงค์ หมายถึง ปริมาณความตอ้ งการเสนอซอื้ ซงึ่ ในทางเศรษฐศาสตร์ คำว่าอุปสงค์หรือปริมาณความ

ต้องการเสนอซอื้ จะหมายถงึ อปุ สงคท์ ีม่ ีอทิ ธิพล(effective demand) กล่าวคือ เป็นความตอ้ งการเสนอซ้ือสินคา้ และบริการของผู้บรโิ ภคอันเน่ืองมาจากผู้บรโิ ภคมีความปรารถนาทีจ่ ะบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ ารชนิดน้ัน และ ผู้บริโภคจะตอ้ งมคี วามสามารถและเต็มใจท่จี ะหาซือ้ หาสินค้าและบรกิ ารมาบำบัดความต้องการของตน การ พจิ ารณาอุปสงคจ์ ะเปน็ การพิจารณาถึงความต้องการซือ้ สินค้าของผู้ซื้อหรอื ผู้บริโภค (ธเนศ ศรวี ิชัยลำพันธ์,2548)

ผู้บริโภคทกุ คนยอ่ มมีความปรารถนาท่ีจะได้รบั ความพึงพอใจสงู สุดในการบริโภคสินค้าและบรกิ ารจาก การใชจ้ ่ายรายได้ท่ีได้รับอยู่เสมอ สง่ิ ทผี่ ้บู รโิ ภคไดร้ ับความพอใจจากการบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ ารชนิดหนง่ึ ผบู้ ริโภค จะตอ้ งมีปจั จยั หลายประการในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการน้ัน และระดับราคาสนิ ค้าและบริการชนิดอ่นื ที่ เกีย่ วข้อง เป็นต้น

ดงั น้นั ตัวกําหนดอปุ สงค์ หมายถงึ ตวั แปรหรือปจั จัยต่างๆ ซ่ึงมอี ทิ ธิพลต่อจำนวนสนิ คา้ ท่ีผบู้ ริโภค ปรารถนาทีจ่ ะซ้อื ปจั จยั เหล่าน้ีจะมีอทิ ธพิ ลตอ่ ปริมาณซ้ือมากน้อยไม่เท่ากัน ทง้ั น้ขี ึน้ อยกู่ ับพฤตกิ รรมของผู้บริโภค แต่ละคน และกาลเวลา ซง่ึ ปจั จัยดังกลา่ วมีดงั น้ี

1. ปริมาณซื้อข้นึ อยู่กบั ราคาของสินค้านั้น ตามปกตเิ ม่อื ราคาสนิ ค้าเพ่มิ สงู ขน้ึ ปริมาณซ้ือจะลดลง แต่ ถา้ ราคาสินค้าลดลง ปริมาณซือ้ จะเพ่ิมขึ้น

2. ปรมิ าณซื้อขน้ึ อยู่กับรสนิยมของผู้บรโิ ภคและความนิยมของคนสว่ นใหญ่ในสงั คม รสนยิ มอาจ เกย่ี วขอ้ งกับความรูส้ กึ ซึง่ เปลี่ยนไปอยา่ งรวดเรว็ เช่น แบบเสอื้ สตรี ภาพยนตร์ และเทปเพลง เปน็ ต้น แตบ่ างกรณี ความนยิ มนัน้ กค็ งอยนู่ าน เชน่ รูปแบบของสิง่ กอ่ สร้าง รถยนต์ และน้าํ อดั ลม ส่ิงทก่ี ำหนดรสนิยมของผบู้ รโิ ภคได้แก่ อายุ เพศ ความเชื่อ ค่านยิ ม การศกึ ษา แฟชน่ั อิทธิพลของการโฆษณา เพ่ือหวังผลในการเปลี่ยนแปลงรสนิยม หรอื เพอ่ื รกั ษารสนยิ มของผู้บริโภคให้คงเดิม

3. ปริมาณซื้อข้ึนอยกู่ บั จำนวนประชากร ตามปกติเมอ่ื ประชากรเพมิ่ จำนวนขึน้ ความต้องการสินคา้ และ บริการจะเพ่ิมตาม แต่การเพิ่มจำนวนประชากรยงั ไม่เป็นการเพียงพอ ประชากรเหลา่ น้จี ะตอ้ งมีอำนาจซือ้ ดว้ ย จึง จะสามารถซือ้ สนิ ค้าได้มากขึน้

4. ปรมิ าณซือ้ ขนึ้ อยูก่ ับรายไดเ้ ฉล่ียของครอบครัว โดยท่วั ไปเมื่อประชากรมีรายไดโ้ ดยเฉล่ยี สงู ขึน้ ความ ต้องการสินคา้ และบรกิ ารจะเปล่ยี นไป คอื มกั จะลดการบริโภคสนิ ค้าราคาถูกและขณะเดยี วกนั ก็หนั ไปบริโภคสนิ ค้า ราคาแพง

9

5. ปรมิ าณซ้อื ขน้ึ อยกู่ บั สภาพการกระจายรายได้ในระบบเศรษฐกจิ ลองพจิ ารณาถงึ สงั คมบางแห่ง เช่น ประเทศทีม่ บี ่อนํา้ มัน ปรากฏว่ารายได้ส่วนใหญ่ตกอย่ใู นมือของคนกลมุ่ นอ้ ย สว่ นคนกลุ่มใหญจ่ ะมีรายไดต้ ํา่ มาก สังคมแบบนก้ี ารบริโภคจะแตกต่างจากสงั คมที่มีการกระจายรายได้

6. ปรมิ าณซอื้ ข้นึ อยู่กบั ราคาสนิ คา้ อื่นๆทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ตามปกตคิ วามตอ้ งการของผู้บรโิ ภคอาจสนองไดด้ ว้ ย สินค้าหลายชนิด ถา้ สินค้าชนดิ หนง่ึ มรี าคาสูงขนึ้ ผู้บรโิ ภคก็จะซอ้ื สนิ คา้ ท่ตี อ้ งใชป้ ระกอบกัน เชน่ นา้ํ ตาลกับกาแฟ เมื่อผบู้ ริโภคตอ้ งการบรโิ ภคกาแฟมากข้ึน จึงจะต้องบริโภคน้าํ ตาลมากขึน้ ดว้ ย

7. ปรมิ าณซ้อื ขึน้ อยูก่ บั ฤดูกาล เชน่ ในประเทศที่อยูใ่ นเขตฤดหู นาว เมอ่ื ยา่ งเขา้ สฤู่ ดหู นาว ประชาชน จำเป็น ตอ้ งหาเครือ่ งนุ่งห่มกนั หนาว ทำให้ความต้องการสนิ คา้ และเครื่องกันหนาวต่างๆ ในชว่ งเวลาดงั กล่าว เพม่ิ ขน้ึ

2.1.2 ทฤษฎีพฤตกิ รรมผ้บู ริโภค พฤติกรรมผบู้ ริโภค (Consumer Behavior) หมายถงึ การกระทำของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ

เลอื ก การซอ้ื การใชง้ าน และการกำจดั ส่วนทเ่ี หลือของสนิ คา้ หรือบริการตา่ งๆ เพอื่ ตอบสนองความต้องการและ ความปรารถนา ของตน

การตัดสนิ ใจเลอื กใช้ (Select) หมายถึง พฤติกรรมและกระบวนการทางจติ ใจของผบู้ ริโภคในการ ตดั สินใจซือ้ สนิ คา้ หรอื บริการ โดยครอบคลุมพฤติกรรมตา่ งๆ ตั้งแต่การตระหนักถึงความต้องการ การค้นคว้าข้อมลู การประเมนิ ทางเลือกตา่ งๆ และการตดั สนิ ใจซ้อื

การซ้ือ (Purchase) หมายถงึ การดำเนินการเพือ่ ใหไ้ ด้มาซ่งึ สนิ ค้าหรอื บริการท่ผี ้บู รโิ ภคต้องการ ตัง้ แต่ การเลอื กแหล่งท่ีจะซอื้ และวธิ ีการจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการ

การใช้ (Use) หมายถงึ การทผ่ี ้บู รโิ ภคมารบั บริการจากองค์กรธรุ กิจหรอื การนำสนิ ค้ามาใช้ประโยชน์ ตามทม่ี งุ่ หวงั ไว้

ปจั จยั กำหนดพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคประกอบดว้ ย 2 ปจั จัย คอื ปัจจยั ภายในและ ปจั จยั ภายนอก 1. ปจั จัยภายในหรือปัจจยั ด้านจติ วิทยา ซง่ึ เกยี่ วข้องกบั ลกั ษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภค ได้แก่

1.1 การรับรู้ (Perception) หมายถึง การเปิดรับให้ความสนใจและแปลความหมายส่งิ เร้าหรือขอ้ มูล ตา่ งๆ ทบ่ี คุ คลได้รับผา่ นประสาทสัมผัสท้ังหา้

1.2 การเรียนรู้ (Learning) หมายถงึ การทบี่ คุ คลมีการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของตนเองท่คี ่อนข้าง ถาวร อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ตา่ งๆ ท่ไี ด้รับ

1.3 ความตอ้ งการและแรงจงู ใจ (Needs and Motives) หมายถงึ สิ่งท่ีทำให้บุคคลมคี วามปรารถนา เกดิ ความต่ืนตัวและพลงั ทจี่ ะกระทำส่งิ ตา่ งๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุถึงสิ่งทต่ี อ้ งการ

1.4 บุคลิกภาพ (Personality) หมายถงึ ลกั ษณะเฉพาะของบุคคล ซง่ึ เป็นสง่ิ ทบี่ ่งช้คี วามเป็นปัจเจก บคุ คล และเป็นสงิ่ กำหนดลกั ษณะการมีปฏิสัมพันธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มหรือสถานการณ์ของบคุ คลนั้น

1.5 ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ผลสรปุ ของการประเมนิ สิ่งใดสง่ิ หน่งึ ซง่ึ บ่งชว้ี ่า สงิ่ นนั้ ดีหรือเลว นา่ พอใจหรือไม่พอใจ

10

1.6 ค่านยิ มและวิถชี วี ติ (Values and Lifestyles) ค่านยิ ม หมายถึง รูปแบบของความเชื่อท่แี ต่ละ บุคคลยดึ เปน็ มาตรฐานในการตัดสินใจ สว่ นวถิ ีชีวติ หมายถงึ รูปแบบการใช้ชีวติ ของบคุ คลท่ีแสดงออกมาในรปู ของ กิจกรรม ความสนใจ และความคิดเห็น

2. ปจั จยั ภายนอก คอื สภาพแวดลอ้ มภายนอกตัวของผ้บู รโิ ภค ซึง่ มีอิทธพิ ลตอ่ พฤติกรรมการบริโภค 2.1 ครอบครวั (Family) หมายถงึ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึน้ ไป ท่ีมีความเก่ยี วพันกันทางสายเลือด หรือ

การแตง่ งาน หรอื การรับเล้ยี งดบู คุ คลทีเ่ ข้ามาอยูอ่ าศยั ด้วยกนั 2.2 กลุ่มอ้างอิง (Reference group) หมายถงึ บุคคลหรือกลมุ่ ท่ีมอี ทิ ธิพลอย่างมากต่อพฤตกิ รรมของ

บุคคลหนึง่ ๆ 2.3 วฒั นธรรม (Culture) หมายถึง แบบแผนการดำเนนิ ชวี ติ ของกลุม่ คนในสังคมรวมท้งั ส่ิงต่างๆ

ท่มี นษุ ย์สร้างขึ้นมา ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเชื่อ คา่ นิยม ทัศนคตแิ ละแบบแผนพฤตกิ รรมท่ียดึ ถอื อยู่ในสังคมนน้ั และมีการถา่ ยทอดจากรุน่ หน่งึ ไปสูค่ นอีกร่นุ หนงึ่

2.4 ชน้ั ทางสังคม (Social class) หมายถึง การจำแนกกลุ่มบุคคลในสังคมออกเปน็ ชนั้ ๆ โดยบุคคล ทอี่ ยู่ในชั้นเดียวกนั จะมีความคล้ายคลึงกนั ในดา้ นค่านนิ ม วถิ ชี วี ติ พฤติกรรมสถานะทางเศรษฐกิจ และการศึกษา (ชูชัย สมิทธไิ กร, 2553, น.6-12)

2.2 งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

วรารกั ษ์ พฒั นเกยี รติพงศ์ (2544) ได้ทำการศกึ ษาเรือ่ ง “การใช้บรกิ ารห้องสมดุ และ ทรัพยากรสารนเิ ทศของผู้ใชห้ อ้ งสมดุ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่” โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษา สภาพการใช้ ความตอ้ งการ ตลอดจนปัญหาในการใชบ้ รกิ ารและทรพั ยากรนิเทศของผู้ใช้ห้องสมดุ คณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ โดยใชแ้ บบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบน มาตรฐาน ดำเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลการศกึ ษาพบวา่ ผใู้ ชห้ อ้ งสมดุ ส่วนใหญ่เขา้ หอ้ งสมดุ โดยเฉล่ยี มากกวา่ 1 ครง้ั ต่อสปั ดาห์ เข้าหอ้ งสมุดเพ่อื คน้ หาและอ่านหนังสอื /เอกสาร เพอ่ื ใช้ประกอบการเรยี นการสอน ร้จู กั วธิ กี ารใช้ ห้องสมดุ โดยเรยี นรู้ โดยเคยใช้ห้องสมดุ อื่นๆ มาก่อน ค้นหาหนงั สอื /เอกสารท่ตี อ้ งการไดจ้ ากฐาน ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ กรณไี มส่ ามารถค้นหาได้ เนอื่ งจากมรี ายการในฐานข้อมูลแตไ่ ม่พบหนังสือ/เอกสารบนชน้ั สอบถามบรรณารักษเ์ ม่ือมีปญั หาในการใช้หอ้ งสมุด ไมเ่ คยใช้บริการบางประเภทเนื่องจากทราบว่ามีบริการแตไ่ ม่มี เวลาใช้ ต้องการใหห้ ้องสมดุ จัดบรกิ ารเพมิ่ ข้นึ เช่น บริการเคเบิลทีวี บรกิ ารโสตทัศนวสั ดุ บรกิ ารมัลติมีเดยี ส่วน ปญั หาท่เี กิดขึ้น ไดแ้ ก่ หนงั สือที่ตอ้ งการไม่มีในหอ้ งสมดุ และมีนอ้ ยฉบับ หนงั สอื ท่มี ีในหอ้ งสมุดเกา่ และล้าสมัย หนังสืออ้างองิ หนังสือพิมพ์ วทิ ยานิพนธ์/การค้นควา้ อิสระของสถาบนั อน่ื มีนอ้ ย จำนวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทใี่ ชค้ น้ OPAC ไม่เพียงพอกับความตอ้ งการ เจา้ หน้าท่ีทใ่ี ห้บริการมีจำนวนน้อย

สทิ ธิชัย ลำธารทรัพย์ (2548) ได้ทำการศึกษาเรื่อง “พฤตกิ รรมการใชห้ ้องสมดุ คุณหญิงหลง อรรถ กระวสี นุ ทร ของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์” มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือศกึ ษาพฤติกรรมการใช้ห้องสมดุ คุณหญงิ หลง อรรถกระวีสุนทร ของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ในดา้ นต่างๆ ดงั นี้ วตั ถปุ ระสงค์ในการ

11

ใช้ ความถแ่ี ละช่วงเวลาในการใช้ ทศั นคตใิ นการใช้ ความรูใ้ นการใช้ Collection แหล่งสารนเิ ทศที่ใช้ วิธใี ช้และวธิ ี เขา้ ถงึ แหลง่ สารนเิ ทศต่างๆ ปญั หาและอุปสรรคในการใช้ โดยผลการวิจัยพบว่า นกั ศึกษามวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อใช้ บรกิ ารยืม-คืนหนังสอื มากที่สุด สว่ นใหญม่ คี วามถี่ในการเขา้ ใช้สปั ดาหล์ ะ 1-3 ครง้ั ในชว่ งคํ่า (19.00น.-22.30น.) สว่ นในวันเสาร์-อาทิตย์ ช่วงเวลาทน่ี ักศึกษาเขา้ ใช้มาก คอื ชว่ งเยน็ (16.00น.-ห้องสมดุ ปิด) นกั ศกึ ษามีทศั นคติทีด่ ี ต่อการใชห้ ้องสมุดโดยภาพรวมในระดับมาก มีความรใู้ นการใช้หอ้ งสมุดระดบั ปานกลาง และสามารถใชโ้ ปรแกรม สืบคน้ ทรัพยากร สารนเิ ทศ OPAC ได้ในระดับมาก ด้าน Collection แหล่งสารนเิ ทศ พบวา่ นักศกึ ษาใช้ Collection ตำราภาษาไทย และหนังสอื พมิ พ์ ในระดบั มากตามลำดบั นกั ศกึ ษาจะใช้สงิ่ พมิ พ์ท่เี ป็นภาษาไทยใน ระดับมาก และใช้สง่ิ พิมพ์ภาษาองั กฤษในระดบั นอ้ ย มปี ัญหาและอปุ สรรคในการใชห้ ้องสมดุ ในเรื่อง จำนวนโต๊ะที่ นั่งไม่เพียงพอ จำนวนเครื่องคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ช้ Internet และสืบฐานขอ้ มูล Online ไมเ่ พียงพอ ในระดบั มาก ตามลำดบั

นทิ รา ศรคี งแกว้ (2549) ไดท้ ำการศึกษาเรอ่ื ง “พฤตกิ รรมและปัญหาการใชข้ องผ้ใู ชห้ อ้ งสมุด คณะ วิทยาศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั ” มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศึกษาพฤตกิ รรมและ ปญั หาการใชข้ องผูใ้ ช้หอ้ งสมุด คณะวทิ ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 2 ด้าน ได้แก่ ดา้ นพฤติกรรมและดา้ นปญั หา ทำการรวบรวมขอ้ มูลท่ีไดร้ บั จากแบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะหแ์ ละ ประมวลผลในโปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถิติ และวเิ คราะห์ข้อมลู เชงิ พรรณนาจากสถติ ิผลการศึกษาพบวา่ พฤตกิ รรม การใช้สารสนเทศห้องสมดุ ผู้ใช้มรี ปู แบบการคน้ คว้าในระดับปานกลาง มกี ารคน้ คว้าในระดับปานกลาง และมีการ คน้ คว้าด้านภาษาสารนเิ ทศในระดบั ปานกลาง วันทใ่ี ช้บรกิ ารจนั ทรถ์ งึ ศุกร์ เวลาราชการ ส่วนใหญ่ใช้เวลาบรกิ าร 1 ครัง้ ต่อสปั ดาห์ ปัญหาการใชส้ ารสนเทศพบว่า ผ้ใู ชม้ ีปัญหาเก่ียวกบั การใช้สารสนเทศ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ อยู่ในระดับนอ้ ย ส่วนการเปรียบเทยี บการใชพ้ บวา่ การศึกษาท่แี ตกตา่ งกันมี ปญั หาการใช้สารสนเทศหอ้ งสมดุ แตกตา่ งกัน ส่วนสถานที่ ระยะเวลาอยู่ในสถาบัน ประสบการณอ์ บรม คอมพิวเตอรท์ ี่แตกต่างกนั มปี ญั หาการใช้สารสนเทศห้องสมดุ ไม่แตกต่างกัน

อภศิ ักด์ิ เพ็ชรร์ ัตน์ (2552) ได้ทำการศกึ ษาเร่อื ง “การศึกษาพฤตกิ รรมการใชบ้ รกิ ารและความพงึ พอใจ ของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีท่มี ีต่อหอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี” โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษา พฤตกิ รรมการใช้บริการและความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีมตี อ่ หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศกึ ษา คอื นักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ท่ีกำลงั ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี จำนวน 400 คน จากวิธกี ารสุม่ ตวั อย่างแบบหลายขัน้ ตอน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวม ขอ้ มูล ผลการศกึ ษาพบว่า นกั ศึกษามีการมาใชห้ อสมุดกลางสัปดาห์ละ 2-3 ครงั้ เปน็ จำนวนมากทสี่ ุด ชว่ งเวลาการ ใช้มากท่ีสุดอยใู่ นช่วงเวลาว่างจากการเรียน ระยะเวลาการใช้มากท่สี ุดอยูร่ ะหวา่ ง 31-60 นาที ใชใ้ นการค้นคว้า ประกอบการเรยี นมากทีส่ ดุ มกี ารใชโ้ ดยศึกษาคูม่ ือการใชห้ อสมุดกลางมากท่ีสดุ วิธีการในการคน้ ควา้ โดยใช้คน้ หา จากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยระบบ OPAC มากท่ีสุด สว่ นความพึงพอใจในการบรกิ ารของนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ที่มตี ่อการใช้หอสมดุ กลาง ในด้านการบรกิ ารท่ัวไป การบริการด้านเทคโนโลยี และการบรกิ ารด้านทรพั ยากร สารนิเทศมีความพอใจอย่ใู นระดับมาก สว่ นบรกิ ารด้านอืน่ ๆ นอกเหนอื จากทกี่ ลา่ วมานนั้ นักศกึ ษามคี วามพอใจอยู่

12

ในระดบั มาก โดยภาพรวมในการบรกิ ารของหอสมุดกลางนกั ศึกษามคี วามพอใจอย่ใู นระดบั มาก โดยผลการวิจยั พบว่า นกั ศึกษามีวัตถุประสงค์เพ่ือใชบ้ รกิ ารยมื -คืนหนังสอื มากทสี่ ุด สว่ นใหญ่มคี วามถีใ่ นการเข้าใช้สปั ดาห์ละ 1-3 ครัง้ ในช่วงค่าํ (19.00น.-22.30น.) สว่ นในวันเสาร์-อาทติ ย์ ช่วงเวลาทีน่ ักศึกษาเขา้ ใช้มาก คือ ชว่ งเยน็ (16.00น.- หอ้ งสมดุ ปดิ ) นกั ศึกษามที ศั นคติที่ดีตอ่ การใชห้ ้องสมุดโดยภาพรวมในระดบั มาก มคี วามรใู้ นการใช้ห้องสมุดระดบั ปานกลาง และสามารถใช้โปรแกรมสืบค้นทรัพยากรสารนิเทศ OPAC ไดใ้ นระดับมาก ด้าน Collection แหล่งสารนิเทศ พบว่า นกั ศึกษาใช้ Collection ตำราภาษาไทย และหนังสอื พมิ พ์ ในระดบั มากตามลำดับ นักศกึ ษาจะใช้สง่ิ พิมพ์ท่ีเป็นภาษาไทยในระดบั มาก และใช้สงิ่ พมิ พ์ภาษาอังกฤษในระดบั น้อย มปี ญั หาและอุปสรรค ในการใช้ห้องสมดุ ในเร่ือง จำนวนโตะ๊ ทน่ี ัง่ ไม่เพยี งพอ จำนวนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ที่ใช้ Internet และสืบฐานข้อมูล Online ไม่เพยี งพอ ในระดบั มากตามลำดบั

นทิ รา ศรีคงแกว้ (2549) ไดท้ ำการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมและปญั หาการใชข้ องผใู้ ช้หอ้ งสมดุ คณะ วทิ ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั ” มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาพฤตกิ รรมและ ปัญหาการใช้ของผใู้ ช้หอ้ งสมุด คณะวทิ ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั 2 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นพฤติกรรมและด้านปญั หา ทำการรวบรวมขอ้ มลู ทีไ่ ดร้ บั จากแบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะหแ์ ละ ประมวลผลในโปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมลู เชิงพรรณนาจากสถติ ิผลการศกึ ษาพบว่า พฤติกรรม การใช้สารสนเทศหอ้ งสมุด ผู้ใชม้ รี ูปแบบการคน้ คว้าในระดับปานกลาง มีการค้นควา้ ในระดับปานกลาง และมี การคน้ ควา้ ดา้ นภาษาสารนิเทศในระดบั ปานกลาง วนั ทีใ่ ชบ้ รกิ ารจนั ทร์ถงึ ศุกร์ เวลาราชการ สว่ นใหญ่ใชเ้ วลา บริการ 1 ครง้ั ต่อสัปดาห์ ปัญหาการใช้สารสนเทศพบวา่ ผใู้ ชม้ ีปญั หาเก่ียวกับการใช้สารสนเทศ ห้องสมดุ คณะ วทิ ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ อยู่ในระดับนอ้ ย สว่ นการเปรียบเทียบการใชพ้ บว่า การศึกษาที่ แตกต่างกนั มปี ัญหาการใชส้ ารสนเทศห้องสมุดแตกตา่ งกัน สว่ นสถานท่ี ระยะเวลาอยูใ่ นสถาบัน ประสบการณ์ อบรมคอมพิวเตอรท์ ี่แตกต่างกนั มีปัญหาการใชส้ ารสนเทศห้องสมุดไม่แตกต่างกัน

อภศิ ักดิ์ เพ็ชร์รัตน์ (2552) ได้ทำการศกึ ษาเรือ่ ง “การศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชบ้ ริการและความพึงพอใจ ของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรที ีม่ ตี อ่ หอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี” โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือศกึ ษา พฤติกรรมการใช้บริการและความพงึ พอใจของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรีทีม่ ีตอ่ หอสมดุ กลาง มหาวิทยาลยั ราชภัฏ สุราษฎรธ์ านี กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ใี ช้ในการศึกษา คอื นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ทก่ี ำลังศกึ ษาอยู่ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏ สุราษฎร์ธานี จำนวน 400 คน จากวิธีการสมุ่ ตวั อย่างแบบหลายข้นั ตอน โดยใชแ้ บบสอบถามในการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ผลการศึกษาพบว่า นกั ศึกษามกี ารมาใช้หอสมดุ กลางสัปดาห์ละ 2-3 ครั้งเป็นจำนวนมากทส่ี ุด ช่วงเวลา การใช้มากที่สุดอยู่ในชว่ งเวลาว่างจากการเรียน ระยะเวลาการใชม้ ากท่ีสุดอยรู่ ะหวา่ ง 31-60 นาที ใช้ในการคน้ คว้า ประกอบการเรียนมากที่สดุ มกี ารใช้โดยศกึ ษาค่มู ือการใชห้ อสมุดกลางมากที่สุด วธิ กี ารในการคน้ คว้าโดยใช้คน้ หา จากเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยระบบ OPAC มากที่สุด สว่ นความพึงพอใจในการบรกิ ารของนกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ทีม่ ตี อ่ หอสมุดกลาง ในดา้ นการบริการทว่ั ไป การบรกิ ารด้านเทคโนโลยี และการบริการดา้ นทรพั ยากรสารนเิ ทศมี ความพอใจอยใู่ นระดับมาก ส่วนบรกิ ารดา้ นอน่ื ๆ นอกเหนือจากท่ีกลา่ วมานัน้ นักศกึ ษามคี วามพอใจอยู่ในระดบั มาก โดยภาพรวมในการบริการของหอสมุดกลางนกั ศกึ ษามคี วามพอใจอยใู่ นระดับมาก

13

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั

การวิจยั เรือ่ ง “ความพงึ พอใจในการใช้บรกิ ารหอ้ งสมุดของประชาชน ทมี่ ีตอ่ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอ พานทอง” ไดก้ ำหนดวธิ กี ารวิจัยไว้ดงั น้ี

1. ขอ้ มูลและแหล่งข้อมลู 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3. เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจยั 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5. การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มูลและแหล่งข้อมูล 1. ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary Data) เป็นข้อมลู ท่ีได้จากการออกแบบสอบถาม เร่อื งความพึงพอใจในการใช้ บริการหอ้ งสมดุ ของประชาชนทีม่ ีต่อหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม พฤตกิ รรมการใช้หอ้ งสมดุ และความพึงพอใจในการใช้ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 2. ขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปน็ การรวบรวมข้อมูล สถิติ ทฤษฎี เอกสารงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง และการสืบค้นทางอินเตอรเ์ น็ต เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู พ้ืนฐานและนำมาใชใ้ นงานวิจัยประกอบกบั เป็นแนวทางในการ สนับสนุนงานวจิ ยั ในครัง้ นี้ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1. ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษาครั้งนี้ คือ สมาชิก ผู้ใช้บรกิ ารในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ผู้รบั บรกิ ารจากการร่วมกจิ กรรมในโครงการตา่ งๆ ท่ีจดั ขนึ้ ณ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ในปงี บประมาณ 2564 2. กลุ่มตวั อย่างทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ครัง้ น้ี คือ สมาชกิ ผใู้ ช้บริการในหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ผู้รับบริการจากการร่วมกจิ กรรมในโครงการต่างๆ ท่ีจดั ขนึ้ ณ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ใน ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 500 คน โดยใช้วธิ ีการส่มุ แบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยการแจก แบบสอบถามให้ผู้ทีเ่ ข้ามาใชบ้ รกิ ารต่าง ๆ จำนวน 500 ชุด เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย แบบสอบถามในการวจิ ัยครัง้ นี้ เป็นแบบสอบถามมาตราสว่ นประเมนิ ค่า จำนวน 20 ขอ้ ซ่ึงเป็น แบบสอบถามเก่ยี วกับความพึงพอใจของนกั ศกึ ษา กศน.อำเภอพานทองที่มีต่อการใช้บรกิ ารหอ้ งสมดุ ประชาชน อำเภอพานทองโดยได้ประมวลเนอ้ื หาให้ครอบคลุมเกย่ี วกับ งานบรกิ ารต่าง ๆ ของหอ้ งสมดุ ท่ีมีใหบ้ ริการในด้าน ต่างๆ เช่น หนงั สอื /วารสาร เอกสาร ส่ือโสตทัศนวัสดุอ่ืนๆ ดา้ นอาคารสถานท่ี โตะ๊ และทีน่ ่งั อ่าน สิง่ อำนวยความ สะดวกอ่นื ๆ เช่น เครอ่ื งปรับอากาศ พดั ลม ระเบียบกฎเกณฑ์ เวลาทใ่ี หบ้ รกิ าร อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น

14

การศึกษาระดบั ความพงึ พอใจของประชาชนทมี่ ตี ่อการใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง โดยใช้มาตรวดั แบบ Rating Scale 4 ระดบั และตามมาตรวัดแบบลิเคริ ์ท (Likert’s Scale) ในการวดั ระดบั ความ พึงพอใจการเข้าใชบ้ ริการหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง

5 หมายถงึ มากที่สดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถึง นอ้ ยที่สดุ เกณฑ์การประเมินค่าวัดระดบั ความพงึ พอใจในการใชบ้ ริการห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง มี 5 ระดับ ดงั น้ี คา่ เฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง พอใจอยู่ระดับมากทีส่ ดุ คา่ เฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถึง พอใจอยู่ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถงึ พอใจอยูร่ ะดับปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถึง พอใจอยรู่ ะดับนอ้ ย คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง พอใจอยู่ระดบั นอ้ ยท่สี ุด ใช้แบบสอบถามในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยจดั ลำดบั เน้ือหาของแบบสอบถามให้ครอบคลุมข้อมูล ทตี่ ้องการ โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนที่ 1 เปน็ ข้อคำถามเกี่ยวกับ ขอ้ มลู ท่วั ไปและสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ระดบั การศกึ ษา ส่วนที่ 2 เป็นขอ้ คำถามเกย่ี วกับ พฤตกิ รรมการใช้ห้องสมุดของผู้ตอบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ ความถีใ่ นการ เข้าใช้ห้องสมุด การเขา้ ใช้บรกิ ารของหอ้ งสมดุ สว่ นที่ 3 เป็นขอ้ คำถามเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจที่มีต่อการใช้บรกิ ารหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ส่วนที่ 4 เปน็ ขอ้ คำถามเก่ยี วกับปญั หาและขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ (คำถามปลายเปดิ )

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมลู ใช้เวลาประมาณ 9 เดือน คือ เดอื นมกราคม 2564 – กนั ยายน 2564 โดยดำเนินการ

เก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามขน้ั ตอนดงั นี้

  1. ศกึ ษางานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ งจากแนวคิดทฤษฎี เอกสารงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วกับงานหอ้ งสมดุ
  2. นำแบบสอบถามไปแจกใหก้ ับประชาชนท่ีเข้ามาใช้บริการห้องสมดุ และเก็บรวบรวมแบบสอบถามคนื
  3. นำแบบสอบถามทีไ่ ดม้ าทำการตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความสมบรู ณ์ และความสอดคลอ้ งของคำตอบที่

ได้ในแบบสอบถามทุกฉบับ กอ่ นป้อนข้อมลู เพือ่ วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ตอ่ ไป

  1. ผลการรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามทส่ี ง่ ไป มดี ังน้ี

15

แจกประชาชนทมี่ าใชบ้ ริการและร่วมกิจกรรมฯ จำนวน 500 ชดุ ซง่ึ เท่ากบั จำนวนกลุ่มตวั อย่าง ผ้วู จิ ยั ได้รับแบบสอบถามคืนจำนวน 500 ชุด คิดเปน็ ร้อยละ 100 ของแบบสอบถามที่ส่งไปทงั้ หมด และเปน็ แบบสอบถามที่สมบรู ณ์ทุกฉบับ สามารถนำมาใช้ในการวิจยั ได้

การจัดขอ้ มลู

  1. นำแบบสอบถามทไี่ ดร้ บั กลบั คนื ทงั้ หมดมาตรวจสอบความสมบรู ณ์ โดยจำแนกตามสถานภาพของ ผตู้ อบแบบสอบถาม
  2. นำแบบสอบถามซึ่งจำแนกตาม ขอ้ 1-20 มาตรวจ ซึ่งใหค้ ะแนนเปน็ รายขอ้ ตามระดับความพงึ พอใจ ของผตู้ อบแบบสอบถาม
  3. นำคะแนนที่ไดไ้ ปวิเคราะห์ ไปวเิ คราะหด์ ว้ ยเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพือ่ วเิ คราะห์หาค่าสถติ ติ าม จดุ มุ่งหมายและสมมติฐานที่ตั้งไว้
  4. วิเคราะห์แบบสอบถาม การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการใช้บรกิ ารห้องสมุดประชาชน อำเภอพานทอง ตามระดบั ความพึงพอใจในด้านต่างๆ การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผูว้ ิจัยนำแบบสอบถามท่ไี ดม้ าบนั ทึกวิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผล โดยสถิติทีใ่ ชว้ เิ คราะห์ มรี ายละเอียด ดงั น้ี
  5. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) เพื่อศกึ ษาข้อมูลเบ้อื งต้นของผตู้ อบแบบสอบถาม
  6. คา่ เฉลย่ี (Arithmetic Mean หรอื X ) แปลความหมายคือ

ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มากที่สดุ ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถงึ มาก ค่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถงึ ปานกลาง คา่ เฉล่ยี 1.50 – 2.49 หมายถึง นอ้ ย ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถึง นอ้ ยท่สี ดุ

  1. สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรอื S.D)

16

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วจิ ัยนำแบบสอบถามทีไ่ ดม้ าบนั ทกึ วเิ คราะห์ขอ้ มูล และเสนอผล โดยสถิติทีใ่ ชว้ เิ คราะห์ มีรายละเอียด ดังน้ี

  1. คา่ รอ้ ยละ (Percentage) เพอ่ื ศกึ ษาขอ้ มูลเบื้องตน้ ของผู้ตอบแบบสอบถาม
  2. มัชฉิมเลขคณิต หรือค่าเฉลีย่ ( Arithmetic Mean หรือ X ) แปลความหมายคือ

คา่ เฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง มากที่สดุ ค่าเฉล่ยี 3.50 – 4.49 หมายถึง มาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถงึ ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถงึ นอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ น้อยท่สี ุด

  1. ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D) สัญลักษณท์ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู เพ่ือความสะดวกในการวเิ คราะหข์ ้อมลู การเสนอผล และการแปลความหมายจากขอ้ มูล ผ้วู ิจยั จึงใช้ สญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ดังนี้ N แทน จานวนกลุม่ ตวั อยา่ ง % แทน รอ้ ยละ X แทน คา่ คะแนนเฉลี่ย (Mean) S.D. แทน คา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

17

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ งจำแนกตามตัวแปร เพศ ระดับการศึกษา และพฤติกรรม

การเขา้ ใช้หอ้ งสมุดของนกั ศกึ ษา

ลำดบั สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม จำนวน (500 คน) รอ้ ยละ%

1 เพศ

ชาย 332 66.40

หญงิ 168 33.60

2 ระดับการศึกษา

ประถมศกึ ษา 144 28.80

มธั ยมศึกษาตอนตน้ 123 24.60

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 203 40.60

ปรญิ ญาตรี 30 6.00

อน่ื ๆ ......................................................... - -

3 พฤตกิ รรมการเขา้ ใชบ้ รกิ าร

ความถ่ใี นการเข้าใชบ้ ริการห้องสมุด

- มากกวา่ 4 ครั้ง/เดือน 88 17.60

- 3 - 4 คร้ัง/เดือน 166 33.20

- 1- 2 ครงั้ /เดอื น 139 27.80

- ไม่ถงึ 1 ครงั้ /เดือน 107 21.40

การเขา้ ใชบ้ ริการของห้องสมดุ

- บริการท่นี ่งั อ่านหนงั สือ 255 51.00

- บรกิ ารยืม – คืนหนงั สือ 194 38.80

- บรกิ ารสืบค้นขอ้ มูลหนงั สือ 27 5.40

- บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า 24 4.80

จากตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มลู ทว่ั ไปและสถานภาพของบุคคลกลมุ่ ตวั อยา่ ง ซง่ึ เปน็ ประชาชนทีม่ ารับบริการของ

หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง

ผู้วจิ ยั สรุปผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลดงั นี้

เมื่อจำแนกตามเพศ พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ประชาชนทม่ี ารบั บริการของหอ้ งสมดุ ประชาชน

อำเภอพานทอง ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 66.40 จำนวน 332 คน เพศหญิงคิดเปน็ ร้อยละ 33.60

จำนวน 168 คน

18

เม่ือจำแนกตามระดบั การศกึ ษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจบการศกึ ษาอยใู่ นระดบั ประถมศึกษา คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.80 จำนวน 144 คน จบการศกึ ษาอยใู่ นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.60 จำนวน 123 คน จบการศึกษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 40.60 จำนวน 203 คน และจบการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 6.00 จำนวน 30 คน

เมื่อจำแนกตามพฤติกรรมการเข้าใช้บรกิ าร พบวา่ ประชาชนท่มี ารับบรกิ ารของห้องสมุดประชาชนอำเภอ พานทอง มีพฤติกรรมเขา้ ใช้หอ้ งสมุด โดยเข้าใช้ห้องสมุด มากกวา่ 4 ครัง้ /เดือน ร้อยละ17.60 จำนวน 88 คน เขา้ ใชม้ ากกว่า 3 - 4 ครง้ั /เดือน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.20 จำนวน 166 คน เข้าใช้ 1 - 2 คร้งั /เดือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.80 จำนวน 139 คน c]tเขา้ ใชห้ ้องสมุดไมถ่ ึง 1 ครั้ง/เดือน คิดเป็นรอ้ ยละ 21.40 จำนวน 107 คน

เมอ่ื จำแนกตามพฤติกรรมการเขา้ ใช้บรกิ าร เกีย่ วกบั วัตถปุ ระสงค์ในการเขา้ มาใช้บรกิ ารฯ พบว่า ประชาชนท่ีมารบั บรกิ ารของหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง มารบั บรกิ ารทนี่ ั่งอ่านหนงั สือ คิดเป็นรอ้ ยละ 51.00 จำนวน 255 คน บริการยืม – คนื หนังสือ คิดเป็นร้อยละ 38.80 จำนวน 194 คน บรกิ ารสบื ค้นข้อมูล หนงั สอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.40 จำนวน 27 คน บรกิ ารตอบคำถามและช่วยการคน้ ควา้ คิดเป็นร้อยละ 4.80 จำนวน 24 คน

19

ตอนท่ี 2 ระดับความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 2 ผลการวเิ คราะหค์ ่าเฉลี่ย X และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความพึงพอใจของ

ผู้ใชบ้ รกิ ารห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง โดยรวม

หัวข้อประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ

X S.D. แปลผล

1.บรรณารกั ษ์ให้บรกิ ารอย่างเป็นมิตร 4.56 0 มากทีส่ ุด

2.บรรณารกั ษม์ คี วามรับผิดชอบต่องาน 4.42 0.75 มาก

3.จำนวนท่นี ง่ั อา่ นโตะ๊ เกา้ อีม้ ใี ห้บริการเพียงพอ 3.46 0.93 ปานกลาง

4.มีแสงสวา่ งมเี พียงพอ 4.18 0.87 มาก

5.ปา้ ยบอกหมวดหมูห่ นงั สือชดั เจน เข้าใจงา่ ย 4.28 0.90 มาก

6.มปี ้ายประกาศ/ประชาสัมพนั ธ์ แจง้ ข้อมลู ข่าวสาร 4.08 0.82 มาก

7.จัดเรียงหนังสือขนึ้ ช้ันอยา่ งเปน็ ระบบ 4.30 0.90 มาก

8.จำนวนหนงั สอื /สื่อ หลากหลาย 4.26 0.96 มาก

9.วารสาร/หนังสอื พิมพ์ ขอ้ มูลขา่ วสารทันเหตกุ ารณ์ 4.28 0.92 มาก

10.บริการทวี ี มีสือ่ มัลตมิ ีเดยี เพยี งพอใหบ้ รกิ าร 3.16 1.39 ปานกลาง

11.มเี คร่ืองคอมพิวเตอร์ชว่ ยสบื ค้นขอ้ มูลหนังสอื 3.16 1.39 ปานกลาง

12.ฐานขอ้ มูลสืบคน้ รายการหนงั สือใชง้ ่าย 3.72 1.01 มาก

13.การช้ีแนะชว่ ยใหผ้ ใู้ ช้บรกิ ารไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ าก 4.18 0.87 มาก

หนังสือ

14.จำนวนหนงั สอื อ้างองิ มใี ห้บรกิ ารเพียงพอ 4.38 0.75 มาก

15.ระเบยี บ/ขน้ั ตอนในการ ยืม-คนื หนังสอื เข้าใจงา่ ย 4.36 0.74 มาก

16.ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ ารยืม-คืน 4.30 0.73 มาก

17.ระยะเวลาท่ใี หย้ ืมหนงั สอื เหมาะสม 4.38 0.78 มาก

18.จำนวนหนังสอื ท่ีให้ยืมมคี วามเหมาะสม 4.06 0.95 ปานกลาง

19.ชว่ งเวลาเปดิ -ปดิ ให้บรกิ ารของหอ้ งสมุดเหมาะสม 3.88 1.27 มาก

20.การใช้บรกิ ารห้องสมุดโดยรวม 4.40 0.96 มาก

สรุป 4.09 0.89 มาก

จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มตวั อย่างมีความพงึ พอใจในการใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง โดยรวมอยู่

ในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ย (X = 4.09) เม่อื ทำการพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจในการใช้

บริการห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองอยใู่ นระดับมากที่สดุ คือ ข้อ 1 บรรณารกั ษ์ให้บรกิ ารอย่างเปน็ มิตร

มีค่าเฉล่ีย (X = 4.56) รองลงมาเป็นลำดับอย่ใู นระดบั มาก คือ ขอ้ 2 บรรณารกั ษ์มีความรบั ผิดชอบตอ่ งาน

20

มคี ่าเฉล่ยี (X = 4.42) ขอ้ 14 จำนวนหนังสอื อา้ งองิ มีให้บริการเพยี งพอ และมีความพึงพอใจต่อการใช้บรกิ าร ห้องสมุดโดยรวม อยใู่ นระดบั มาก มีคา่ เฉล่ยี (X = 4.40) ขอ้ 17 ระยะเวลาที่ใหย้ ืมหนังสือเหมาะสม มีค่าเฉลีย่ (X = 4.38) ขอ้ 15 ระเบยี บ/ข้นั ตอนในการ ยมื -คืนหนงั สือ เขา้ ใจง่าย มีคา่ เฉลยี่ (X = 4.36) ข้อ 7 จดั เรยี งหนงั สอื ขึน้ ชั้นอย่างเปน็ ระบบ และขอ้ 16 ความรวดเร็วในการให้บริการยืม-คืน มคี า่ เฉลย่ี (X = 4.30) ข้อ 5 ปา้ ยบอก หมวดหมูห่ นังสอื ชดั เจน เขา้ ใจง่าย และข้อ 9 วารสาร/หนงั สอื พมิ พ์ ขอ้ มูลข่าวสาร ทันเหตกุ ารณ์ มีคา่ เฉลี่ย (X = 4.28) ขอ้ 8 จำนวนหนังสอื /ส่อื หลากหลาย มคี า่ เฉลีย่ (X = 4.26) ข้อ 4 มแี สงสว่างมีเพียงพอ และข้อ 13 การชีแ้ นะ ช่วยให้ น.ศ.ไดใ้ ช้ประโยชน์จากหนังสือ มคี า่ เฉลี่ย (X = 4.18) ขอ้ 6 มีป้ายประกาศ/ประชาสัมพันธ์ แจ้งข้อมลู ข่าวสาร มคี ่าเฉล่ยี (X = 4.08) ขอ้ 18 จำนวนหนังสอื ทีใ่ ห้ยมื มคี วามเหมาะสม มคี ่าเฉลีย่ (X = 4.06) ข้อ 19 ชว่ งเวลาเปดิ -ปิด ให้บรกิ ารของห้องสมดุ มีค่าเฉล่ีย (X = 3.88) และขอ้ 12 ฐานข้อมลู สืบค้นรายการ หนงั สือใชง้ ่าย มคี า่ เฉลีย่ (X = 3.72) สว่ นความพึงพอใจในการใชบ้ ริการห้องสมดุ อยู่ในระดับปานกลาง คอื ข้อ 3 จำนวนทน่ี ง่ั อา่ นโตะ๊ เกา้ อม้ี ีให้บรกิ ารเพียงพอ มคี ่าเฉล่ีย (X = 3.46) ข้อ 10 บรกิ ารทวี ี มสี ่ือมัลตมิ เี ดียเพียงพอ ใหบ้ รกิ าร และขอ้ 11 มีเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยสืบค้นข้อมลู หนังสอื มคี ่าเฉลย่ี (X = 3.16) ตามลำดบั

21

บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลการวจิ ยั การวจิ ัยเร่อื งความพงึ พอใจในการใช้บริการหอ้ งสมุดของประชาชน ที่มตี อ่ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ

พานทอง ในครั้งน้ี ผูว้ จิ ยั มีวัตถปุ ระสงค์ คือ 1. เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจของประชาชน ตอ่ บรกิ ารด้านต่าง ๆ ของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง 2. เพ่ือนำผลจากการวจิ ัยมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรงุ การให้บรกิ ารของ ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง

จากการวจิ ัย พบวา่ ประชาชนผเู้ ข้ามาใช้หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ในปีงบประมาณ 2564 ซงึ่ ผู้วจิ ยั ได้แจกแบบสอบถามให้กบั บคุ คลกลุ่มตัวอยา่ ง จำนวน 500 ชดุ จากการที่ประชาชนเขา้ มาใช้บรกิ ารของ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มกี ารศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย และมาใช้ หอ้ งสมุด 3-4 ครง้ั /เดอื น โดยมาใชบ้ รกิ ารท่นี ั่งอ่าน บริการยืม-คืนหนงั สอื และบริการสบื ค้นขอ้ มูลหนงั สอื บรกิ าร ตอบคำถามและช่วยการคน้ คว้า ตามลำดับ

สำหรบั ความพงึ พอใจของแต่ละด้านของหอ้ งสมุดสามารถสรุปไดว้ า่ บรรณารกั ษ์ให้บริการอยา่ งเปน็ มติ ร อย่ใู นระดับมากที่สดุ สว่ นความพึงพอใจโดยรวมในสภาพทวั่ ไปของห้องสมดุ เช่น รบั ผิดชอบต่องาน หอ้ งสมดุ มแี สง สว่างมเี พยี งพอ มปี า้ ยบอกหมวดหมูห่ นังสือ มีปา้ ยประกาศ/ประชาสัมพันธ์ แจ้งข้อมลู ขา่ วสาร การจัดเรยี งหนงั สอื อยา่ งเปน็ ระบบ จำนวนหนงั สอื /สือ่ สารสนเทศ วารสาร/นิตยสาร เปน็ ฉบบั ปัจจุบนั ทนั เหตุการณ์ ฐานข้อมลู สบื คน้ รายการหนังสอื ใช้ง่าย การชแี้ นะ ช่วยใหน้ ักศึกษาไดใ้ ช้ประโยชน์จากหนงั สอื จำนวนหนงั สอื อ้างองิ มีใหบ้ ริการ เพยี งพอ ระเบยี บ/ข้นั ตอนในการ ยมื -คืนหนังสอื เขา้ ใจงา่ ย ความรวดเร็วในการใหบ้ ริการยืม-คืน ระยะเวลาท่ี ให้ยืมหนงั สือเหมาะสม มีชว่ งเวลาเปิด-ปดิ ให้บริการของหอ้ งสมดุ ที่เหมาะสม และความพึงพอใจโดยรวมของการ ใหบ้ รกิ ารของเจ้าหนา้ ท่ี ทงั้ 15 ด้านนี้ ผู้ใช้บรกิ ารมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ส่วนอกี 4 ดา้ นนั้น ผใู้ ชม้ ีความ พงึ พอใจอย่ใู นระดับปานกลางคือ จำนวนทน่ี ง่ั อา่ นโตะ๊ เก้าอ้ที ี่ใหบ้ ริการ บริการทีวี มีส่ือมัลติมเี ดียให้บริการ จำนวน คอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ในการสบื คน้ ข้อมูล จำนวนหนงั สอื ทใี่ หย้ ืม

22

การอภปิ รายผล ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม แสดงข้อมลู ทั่วไปและสถานภาพของบคุ คลกลุ่มตวั อย่าง ซึง่ เปน็ นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอพานทอง ผ้วู ิจยั สรปุ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี

เมอ่ื จำแนกตามเพศ พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เปน็ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 66.40 จำนวน 332 คน เพศหญงิ คิดเป็นรอ้ ยละ 33.60จำนวน 168 คน

เม่อื จำแนกตามระดบั การศึกษา พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามผูต้ อบแบบสอบถามจบการศึกษาอยู่ในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 40.60 จำนวน 203 คน จบการศึกษาอยู่ในระดับประถมศกึ ษา คิดเปน็ ร้อย ละ 28.80 จำนวน 144 คน จบการศกึ ษาอย่ใู นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.60 จำนวน 123 คน และจบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 6.00 จำนวน 30 คน

เม่อื จำแนกตามพฤตกิ รรมการเข้าใชบ้ ริการ พบวา่ ประชาชนทีม่ ารับบรกิ ารของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ พานทอง มีพฤติกรรมเข้าใช้ห้องสมดุ โดยเข้าใช้ห้องสมดุ มากกว่า 3 - 4 คร้ัง/เดอื น คิดเปน็ ร้อยละ 33.20 จำนวน 166 คน เข้าใช้ 1 - 2 คร้ัง/เดือน คิดเป็นร้อยละ 27.80 จำนวน 139 คน เข้าใช้ห้องสมุดไม่ถงึ 1 ครั้ง/เดือน คดิ เป็นร้อยละ 21.40 จำนวน 107 คน และเข้ามากกวา่ 4 ครั้ง/เดือน รอ้ ยละ17.60 จำนวน 88 คน

เมือ่ จำแนกตามพฤตกิ รรมการเข้าใชบ้ รกิ าร เกี่ยวกับวัตถุประสงคใ์ นการเข้ามาใชบ้ ริการฯ พบว่า ประชาชนที่มารบั บรกิ ารของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง มารบั บรกิ ารท่นี ่ังอา่ นหนงั สือ คดิ เป็นร้อยละ 51.00 จำนวน 255 คน บรกิ ารยืม – คืนหนังสอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.80 จำนวน 194 คน บริการสืบคน้ ขอ้ มลู หนังสือ คิดเปน็ ร้อยละ 5.40 จำนวน 27 คน บรกิ ารตอบคำถามและช่วยการคน้ ควา้ คิดเป็นรอ้ ยละ 4.80 จำนวน 24 คน

ตอนที่ 2 ระดบั ความพงึ พอใจของผูต้ อบแบบสอบถาม ผลการวเิ คราะหค์ ่าเฉล่ีย X และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการห้องสมดุ ของประชาชนโดยรวมพบว่า กลุ่มตวั อย่าง มคี วามพงึ พอใจใน ระดบั มาก มคี า่ เฉลี่ย 4.09

เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีความพงึ พอใจระดับมากทสี่ ุด คอื ข้อ 1 บรรณารกั ษ์ใหบ้ รกิ ารอย่าง เป็นมิตร รองลงมา คือข้อ 2 บรรณารักษม์ ีความรับผดิ ชอบต่องาน

ข้อทีม่ คี วามพงึ พอใจระดับมาก ลำดับแรก คอื ข้อ 20 การบริการหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง โดยรวม ข้อ 14 จำนวนหนังสอื อา้ งอิงมใี ห้บริการเพียงพอ ข้อ 17 ระยะเวลาทใี่ หย้ มื หนงั สอื เหมาะสม ข้อ 15 ระเบยี บ/ขัน้ ตอนในการ ยมื -คนื หนงั สอื เขา้ ใจงา่ ย ข้อ 7 จัดเรยี งหนังสือขน้ึ ช้ันอยา่ งเปน็ ระบบ และขอ้ 16 ความ รวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ ารยืม-คืนขอ้ 5 ป้ายบอกหมวดหมหู่ นงั สอื ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย และข้อ 9 วารสาร/หนังสอื พมิ พ์ ขอ้ มูลขา่ วสารทนั เหตกุ ารณ์ ขอ้ 8 จำนวนหนังสอื /ส่อื หลากหลาย ข้อ 4 มีแสงสวา่ ง เพียงพอ ขอ้ 13 การชีแ้ นะ ชว่ ยใหป้ ระชาชนไดใ้ ช้ประโยชน์จากหนังสอื ข้อ 6 มีปา้ ยประกาศ/ประชาสมั พันธ์ แจง้ ขอ้ มูลข่าวสาร ข้อ 18 จำนวนหนงั สือทใี่ ห้ยืมมีความเหมาะสม ขอ้ 19 ช่วงเวลาเปดิ -ปิด ให้บริการของหอ้ งสมุด และขอ้ 12 ฐานขอ้ มลู สืบค้นรายการหนังสือใชง้ า่ ย

23

สว่ นความพงึ พอใจในการใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ อยูใ่ นระดับปานกลาง ลำดับแรกคอื ข้อ 3 จำนวนทีน่ ั่งอา่ น โตะ๊ เกา้ อ้ีมีใหบ้ ริการเพียงพอ ขอ้ 10 บรกิ ารทีวี มีสอ่ื มลั ตมิ เี ดยี เพียงพอให้บรกิ าร และขอ้ 11 มีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ช่วยสืบค้นข้อมูลหนังสือ ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะตอ่ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง จากผตู้ อบแบบสอบถาม มีความเห็นวา่ - ห้องสมดุ ควรจัดซอ้ื จดั หาหนงั สอื เขา้ หอ้ งสมดุ เพ่ิมมากขึ้น โดยเฉพาะหนงั สือนวนยิ ายใหม่ ๆ เปน็ ต้น - หอ้ งสมุดควรเพ่ิมจำนวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพื่อสำหรบั ให้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต แก่ผู้ใช้บรกิ าร ในการ สืบคน้ ขอ้ มลู ขา่ วสารจากเวบ็ ไซตเ์ พ่ิมเติม ร่วมกับการคน้ ควา้ ข้อมลู จากหนังสือ และควรอนญุ าตให้ใช้เคร่ือง คอมพวิ เตอร์เพ่อื ความบนั เทงิ ได้ เช่น เล่นเกมส์ - ห้องสมดุ ควรเพิ่มจำนวนวันใหย้ มื ได้นานข้นึ เช่น จากเดมิ 7 วนั เป็น 1 เดือน เพ่อื หลีกเล่ยี งการเดินทาง และการใช้หอ้ งสมุดในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 - ห้องสมดุ ควรติดตัง้ เครื่องปรบั อากาศใหค้ รอบคลุมพนื้ ท่ใี ช้สอย เพราะเน่ืองจากมีนกั ศกึ ษาและประชาชน เขา้ มาใชบ้ ริการชว่ งวนั หยดุ เปน็ จำนวนมาก - อยากใหเ้ จ้าหนา้ ที่เขม้ งวดในการงดใชเ้ สียงของผ้เู ข้าใชบ้ ริการบางคน ที่ชอบส่งเสียงดงั ให้มีมารยาทใน การใชห้ ้องสมดุ ไมเ่ สยี งดงั รบกวนสมาธกิ ารอา่ นของผอู้ ืน่ ข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั จากผลการวิจยั ผู้วิจยั ใคร่ขอเสนอแนะทางในการพัฒนาการบรหิ ารงาน ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง เพือ่ นำไปส่กู ารพัฒนาในทางทด่ี ขี ึน้ อย่างต่อเนอื่ ง ควรมกี ารจดั งบประมาณใน การจัดซือ้ ครภุ ัณฑ์ คอมพิวเตอร์ สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต บรกิ าร WIFI เพือ่ ให้บริการประชาชนให้ทนั ยุคสมยั ท่ี เปล่ียนไป ข้อเสนอแนะในการวิจยั ในคร้ังต่อไป 1. ควรศกึ ษา สำรวจความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการห้องสมดุ ทกุ ปี 2. ควรศกึ ษาหาสาเหตขุ องการไม่มาใช้ และมาใช้บรกิ ารหอ้ งสมุดของประชาชน 3. นำขอ้ เสนอแนะมาพฒั นาอย่างจรงิ จงั

24

บรรณานุกรม

ธเนศ ศรีวชิ ัยลำพนั ธ์. 2548. เศรษฐศาสตร์จุลภาคเบื้องตน้ . พิมพค์ รั้งที่ 4. เชยี งใหม:่ นพบรุ ีการพิมพ์.

พฤตกิ รรมการใชห้ ้องสมุดอเิ ล็กทรอนิกส์เป็นหอ้ งสมดุ มีชวี ติ . (2554). สืบค้นเม่อื วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2554 จากhttp://www.oknation.net/blog/print.php?id=462771

วรารักษ์ พฒั นเกียรตพิ งศ์. 2544. การใชบ้ รกิ ารห้องสมุดและทรพั ยากรสารนเิ ทศของผู้ใชห้ ้องสมุด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่ : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

สายสุดา คชเสนี. 2530. หอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลัย. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. สทิ ธิชัย ลำธารทรัพย์. 2548. พฤติกรรมการใช้ห้องสมุดคณุ หญิงหลง อรรถกระวสี นุ ทร ของนกั ศึกษา

มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. สงขลา : สำนกั ทรพั ยากรการเรียนรู้ คุณหญงิ หลง อรรถกระ- วีสนุ ทร : มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิค, 2542ห้องสมุด. (2554). สืบคน้ เมอื่ 30 พฤศจิกายน 2554 จาก th.wikipedia.org/wiki/ห้องสมดุ อภศิ กั ดิ์ เพช็ รร์ ัตน์. 2552. การศึกษาพฤติกรรมการใชบ้ ริการและความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาระดับ ปริญญาตรที ม่ี ีตอ่ หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี.กรงุ เทพมหานคร : สำนักหอสมดุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี. อภยั ประกอบผล. 2543. สรุปการอภปิ รายเรอ่ื ง การจัดการบริหารและบรกิ ารของหอ้ งสมุดเพื่อ ดำเนินการตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ. วารสารหอ้ งสมุด. 44, 1 : 22-24.

25

ภาคผนวก

26

แบบสอบถาม

ความพงึ พอใจในการใช้บริการห้องสมดุ ของประชาชนที่มีตอ่ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง

วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ นำขอ้ มลู ไปวิเคราะหผ์ ลและสรุปผลการวจิ ยั นำไปปรบั ปรงุ และพฒั นาหอ้ งสมุด

คำช้ีแจง โปรดขดี เคร่อื งหมาย ลงในช่องคำตอบ ทต่ี รงกับความคิดเห็นของท่าน

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

1.1 เพศ ชาย หญิง

1.2 ระดบั การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อ่ืนๆ……….

ส่วนที่ 2 พฤตกิ รรมการใชห้ อ้ งสมดุ ของนกั ศึกษา

2.1 ความถใ่ี นการเข้าใช้ห้องสมุด

มากกว่า 4 ครัง้ /เดือน 3 – 4 คร้งั /เดอื น 1 – 2 ครง้ั /เดือน ไม่ถงึ 1 คร้งั /เดอื น

2.2 นักศกึ ษาเข้าใช้บริการของหอ้ งสมดุ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )

บรกิ ารท่ีนั่งอา่ นหนงั สอื บริการยมื -คืนหนงั สอื

บริการสืบค้นขอ้ มูลหนังสือ บรกิ ารตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า

ส่วนท่ี 3 คำถามเกย่ี วกับประเด็นที่ส่งผลต่อความพงึ พอใจในการใชบ้ รกิ ารของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง