สม ครเร ยน ป.บ ณฑ ต ม.ราชภ ฏส ราษฎร ธาน

พระมหากรุณาธคิ ณุ พระราชทานปริญญาบัตรแกบ่ ณั ฑติ ราชภฏั

พระมหากรุณาธคิ ณุ พระราชทานปริญญาบัตรแกบ่ ณั ฑติ ราชภฏั ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหมอ่ ม ให้พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทร มหาวชิรา ลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 10 เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปในการพระราชทานปริญญาบัตร ให้แก่บณั ฑติ วิทยาลยั ครเู ปน็ ครั้งแรก เม่อื วันที่ 8 มถิ ุนายน พทุ ธศักราช 2521 ณ สวนอมั พร แกบ่ ณั ฑิต 3 รุ่นแรก (รุ่นที่ 1/2518 จำนวน 766 คน รนุ่ ท่ี 2/2519 จำนวน 770 คน และรุ่นที่ 3/2520 จำนวน 1,002 คน) และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 ถึง วันที่ 28 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2523 (เวน้ ปีพุทธศกั ราช 2522) แกบ่ ัณฑิต 2 รุ่น (รุน่ ท่ี 4/2521 และรุ่นท่ี 5/2522) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปในการพระราชทานปริญญาบัตรให้บัณฑิตวิทยาลัยครู 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 3 บัณฑิตรุ่นท่ี 6 เมื่อวันที่ 25 ถึง วันที่ 28 ตุลาคม พุทธศักราช 2524 และครัง้ ท่ี 4 บัณฑิตรุ่นที่ 7 ระหว่างวันที่ 17 ถึง วันที่ 27 พฤษภาคม พุทธศักราช 2526 (เวน้ ปี พทุ ธศกั ราช 2525) จากนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปในการพระราชทานปริญญา บัตร ให้บัณฑิตวิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเรื่อยมา จนกระทัง่ เสด็จขึ้นครองราชย์ เปน็ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 108 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์. (2564). พระมหากรณุ าธิคณุ พระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่บณั ฑิตราชภัฏกว่าสองล้านคน. [Online]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://agri.ubru.ac.th/news/content.php?content=N1602819242. [2564, กุมภาพนั ธ์ 13]

ปีพุทธศกั ราช 2554 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี เป็นเจา้ ภาพจัดพธิ ี พระราชทานปรญิ ญาบัตรแกผ่ ู้สำเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้ 5 แหง่ เปน็ ครง้ั แรก ประกอบดว้ ย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเกต็ และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา ปีพทุ ธศกั ราช 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี เปน็ เจา้ ภาพจดั พิธี พระราชทานปริญญาบัตรติดต่อกันเป็นครั้งที่ 8 ในครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ทรงพระราชทาน ปริญญาบัตร ระหวา่ งวันที่ 15 ถึง วนั ที่ 17 ธันวาคม พทุ ธศกั ราช 2563 ในครั้งนี้ นายวิชัย ศรีขวัญ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กราบบงั คมทูลผลการดำเนนิ งานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี และกราบ บงั คมทูลประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติคุณ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พชั รสุธา พิมลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี ในโอกาสทสี่ ภามหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี มีมติ ทูลเกลา้ ทลู กระหม่อมถวายปริญญาศลิ ปศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา การจดั การอตุ สาหกรรม9 ภาพ : เว็บไซตม์ หาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี 9 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี. (2564). มรส. ทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวายปริญญา. [Online]. เข้าถงึ ได้จาก: https://sru.ac.th/2020/12/16/sru-3/ [2564, กุมภาพนั ธ์ 13]

พธิ ีอญั เชญิ และมอบเขม็ ตราพระราชลัญจกร

พิธีอญั เชญิ และมอบเขม็ ตราพระราชลัญจกร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดกิจกรรมพิธีอัญเชิญและมอบเข็ม ตราพระราชลัญจกร เพื่อเป็นการแสดงความเคารพและสำนึก ในพระมหา กรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช รัชกาลท่ี 9 ท่ีทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานตราพระราชลัญจกร ส่วนพระองค์ แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ และเพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดี แกน่ ักศกึ ษาให้เกดิ ความภาคภมู ใิ จในสถาบนั ภาพ : เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี

ราชภฏั สัญลกั ษณ์

พระราชลัญจกร ราชภฏั สญั ลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงพระโปรดเกลา้ พระราชทานตราสญั ลกั ษณ์ ซึ่งเป็นพระราชลัญจกร ประจำรัชกาล ให้แก่สถาบันอุดมศึกษากลุ่มมหาวิทยาลัย ราชภัฏ และทรงพระราชทานนาม “ราชภัฏ” ซง่ึ หมายถงึ “คนของพระราชา” พระราชลัญจกร คือ ตราที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้ประทับกำกับ พระปรมาภิไธยและประทับกำกับเอกสารสำคัญ การราชการแผ่นดิน เช่น รัฐธรรมนญู พระราชบัญญัติ เอกสารสำคญั ส่วนพระองค์ที่เกี่ยวกับราชการ แผ่นดินที่ออกในพระปรมาภิไธยประจำแผ่นดินหรือประจำรัชกาลนั้น พระราช ลัญจกรเป็นเครื่องมงคลที่แสดงถึงพระราชอิสริยยศและพระบรมเดชานุภาพ ของพระมหากษตั รยิ แ์ ละเป็นเครอื่ งมงคลดว้ ย10 สถาบันราชภัฏสุราษฎรธ์ านี มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ภาพ : คู่มอื นักศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 10 วชิ เทพ ฦาชาฤทธ์ิ. (2563). พระราชลัญจกร ราชภฏั สัญลักษณ์. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ ิ ศาสตราจารยบ์ ญุ ถิ่น อัตถากร.

พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระท่ีน่ังอัฐทิศ อุทุมพร ราชอาสน์ ประกอบดว้ ย วงจกั ร กลางวงจักรมีอกั ขระเป็น “อ”ุ รอบวงจกั ร มีรศั มี เปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรปู เศวตฉตั รเจด็ ชั้น ฉัตรต้งั อย่บู นพระท่นี ่ังอัฐทิศ องค์พระราชลัญจกรน้ีเป็นตรากลม รูปไข่ แนวตั้ง กว้าง 5 เซนติเมตร สูง 6.7 เซนติเมตร มวี งรีลอ้ มรอบบรรจุชื่อมหาวทิ ยาลยั สีของสัญลักษณ์ประกอบดว้ ยสีต่าง ๆ จำนวน 5 สี สนี ำ้ เงิน แทนค่า สถาบันพระมหากษัตรยิ ผ์ ู้ให้กำเนดิ และพระราชทานนาม “มหาวิทยาลัยราชภัฏ” สีเขยี ว แทนค่า แหล่งที่ตั้งในแหล่งธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทส่ี วยงาม สที อง แทนค่า ความเจริญรุง่ เรอื งทางภมู ปิ ญั ญา สสี ม้ แทนค่า ความรงุ่ เรอื งทางศลิ ปวัฒนธรรมท้องถนิ่ สีขาว แทนคา่ ความคิดอันบรสิ ทุ ธิ์ของนกั ปราชญ์ แหง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั 11 11 วชิ เทพ ฦาชาฤทธิ์. (2563). พระราชลัญจกร ราชภฏั สัญลกั ษณ์. กรุงเทพฯ : มลู นธิ ิ ศาสตราจารยบ์ ญุ ถน่ิ อัตถากร.

ดอกไม้ประจำมหาวทิ ยาลัย ดอกราชพฤกษ์ Golden shower ดอกไม้ประจำมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ดอกราชพฤกษ์ มีรูปทรงและพุ่มที่งดงาม มีดอกเหลืองอร่ามเต็มต้น จะผลัดใบจนหมดท้งั ต้นในชว่ งระยะเวลาส้นั ๆ ในฤดรู ้อน สีเหลืองของดอกราชพฤกษ์ เป็นสัญลักษณ์ของชาติไทย เป็นสัญลักษณ์ แห่งพระพุทธศาสนาและยังเป็นสัญลักษณ์ของวนั จันทร์ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว สีประจำมหาวทิ ยาลยั สฟี ้า-สแี ดง หมายถึง ความกลา้ ที่จะคดิ และความกล้าทจี่ ะทำในสงิ่ ทเี่ ชื่อว่าถูกต้อง ยุตธิ รรม ดว้ ยการใชว้ ิจารณญาณท่ีสขุ ุม รอบคอบ12 12 หอสมดุ แห่งชาติ นครศรธี รรมราช. (2564). วทิ ยาลัยครูสุราษฏรธ์ าน.ี [Online]. เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.finearts.go.th/nakhonsithammaratlibrary/view/18759 [2564, กมุ ภาพนั ธ์ 13]

ผบู้ รหิ าร วิทยาลัยครู สู่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั

ทำเนยี บผบู้ ริหาร อธิการบดีมาจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์ ตามคำแนะนำ ของสภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราละสี่ปีและอาจได้รับ แตง่ ต้งั อีกครง้ั ได้ แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมไิ ด้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ก่อตั้งมากว่า 48 ปี มีอธิการบดี ทำหน้าทบี่ ริหารมหาวิทยาลัยมาแลว้ กว่า 8 ทา่ น ดงั น้ี อธกิ ารบดี วิทยาลัยครูสุราษฎรธ์ านี อาจารยก์ ลาย กระจายวงศ์ ดร.ผดงุ ชาติ สวุ รรณวงศ์ ผศ.ดร.โกสินทร์ รงั สยาพนั ธ วาระ พุทธศักราช 2517-2521 วาระ พุทธศักราช 2521-2522 วาระ พทุ ธศกั ราช 2522-2529 ผศ.จรญั ปัทมดลิ ก ผศ.สถติ แก้วเช้อื วาระ พุทธศกั ราช 2529-2530 วาระ พุทธศักราช 2531-2537

อธิการบดี สถาบันราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ผศ.สถิต แกว้ เช้ือ รศ. ปราณี เพชรแกว้ ผศ.ดร.ณรงค์ พทุ ธิชวี นิ วาระ พทุ ธศักราช 2538-2542 วาระ พุทธศกั ราช 2542-2546 วาระ พุทธศกั ราช 2546-2548 อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ผศ.ดร.ณรงค์ พทุ ธิชีวิน ผศ.ดร.ประโยชน์ คุปตก์ าญจนากลุ วาระ พุทธศักราช 2548-2556 วาระ พุทธศกั ราช 2556-2560

คณะครุศาสตร์

คณะครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ก่อตั้งพร้อมกบั วิทยาลยั ครูสรุ าษฎร์ธานี ในปีพุทธศักราช 2519 ถึง 2537 ต่อมาเปลี่ยนเป็นสถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี ในปีพุทธศักราช 2538 ถึง 2547 และปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตามพระราชบญั ญัติสถาบันราชภัฏ พุทธศักราช 2547 คณะครศุ าสตร์จงึ เป็นคณะ หนึ่งตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีหน้าที่ในการผลิต บัณฑติ สาขาครุศาสตร์ โดยมีพฒั นาการตามลำดับ อาคารคณะครศุ าสตร์ ในอดีต ภาพ : อาจารย์วริ ยิ ะ กล่นิ เสาวคนธ์ พุทธศักราช 2516 เริ่มตั้งวิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ตามนโยบาย และเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พุทธศักราช 2515 ถึง 2519) พุทธศักราช 2519 เปิดรับนักศึกษารุ่นแรก เข้าศึกษาในระดับ ประกาศนยี บัตรวชิ าการศกึ ษา (ป.กศ.) พุทธศักราช 2521 เปิดรับนักศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาการศึกษา ชัน้ สูง (ป.กศ.ชนั้ สูง)

พทุ ธศักราช 2522 เปิดรบั นกั ศกึ ษาเชน่ เดยี วกับปี 2521 และเปดิ โครงการ อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการ (อคป.) ในวนั เสาร์และวันอาทิตย์ นกั ศกึ ษา (อคป.) รุน่ น้ไี ด้รับปริญญาครศุ าสตรบณั ฑติ เป็นรนุ่ แรก พุทธศักราช 2523 เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์ เพิ่มขึ้นอีกระดับหนึ่งและงดรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ส่วนการเปิดโครงการอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการในวันเสาร์ และวันอาทติ ยย์ งั คงดำเนนิ การเช่นเดิม เปดิ รับนักศกึ ษาเขา้ เรียนระดับปริญญาตรี มากขน้ึ ตามลำดับ นกั ศกึ ษา ในอดตี ภาพ : อาจารย์วริ ิยะ กลนิ่ เสาวคนธ์ พุทธศักราช 2524 ถึง 2525 เปิดศูนย์อบรมครูและบุคลากรทางการ ศึกษาประจำการที่วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดชุมพร ในปีพุทธศักราช 2525 และปีนี้เองยังเปิดสอนวิชาเอกพลศึกษาภาคปกติซึ่งเป็นโครงการร่วมมือ กับวิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดชมุ พร พุทธศักราช 2526 ถึง 2527 เปิดรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บัตร เทคนคิ การอาชีพ (ป.ทอ.) ภาคสมทบเขา้ ศกึ ษาต่ออีกพวกหนง่ึ และในปีพทุ ธศกั ราช 2527 เปดิ รบั นกั ศกึ ษาหลักสตู รนเ้ี ข้าศึกษาในภาคปกติ

พุทธศักราช 2528 กำหนดให้วิทยาลัยจัดการศึกษา ในสาขาวิชาอื่นได้ จึงเปิดรับนักศึกษา ระดับอนุปริญญาและระดับปริญญาตรี นอกเหนือจากสาขา ครุศาสตร์ ในขณะเดียวกันก็งดรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรเทคนิค การอาชพี ในปนี ส้ี ภาการฝกึ หดั ครูได้ออกขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยกลมุ่ วิทยาลยั ครู จึงสง่ ผล ให้กลุ่มวิทยาลัยครูพัฒนาเป็นสหวิทยาลัยในภาคใต้ จึงมีสหวิทยาลัยทักษิณขึ้น ประกอบด้วยวทิ ยาลยั ครทู ัง้ หมดทมี่ ใี นภาคใต้ 5 แหง่ มสี ำนกั งานของสหวิทยาลัย ในภาคใต้ อนึง่ ในปเี ดียวกนั นไ้ี ด้เปดิ รบั นักเรียนมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย เข้าเรยี นในโรงเรียนสาธิตวทิ ยาลยั ครูสรุ าษฎรธ์ านี เปน็ รนุ่ แรกอกี ด้วย สหวิทยาลัยทกั ษิณ สุราษฎรธ์ านี ภาพ : อาจารยว์ ิริยะ กลิ่นเสาวคนธ์ พุทธศักราช 2529 วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานียังคงเปิดรับนักศึกษาและ นักเรียนเหมือนปีพุทธศักราช 2528 แต่การดำเนินงานโครงการอบรมครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาประจำการเปลย่ี นรูปแบบเปน็ การดำเนินงานตามโครงการ จัดการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ (กศ.บป.) โดยเปิดโอกาสให้ทั้งภาครัฐ และเอกชนในอาชพี ต่าง ๆ นอกเหนือจากอาชพี ครเู ข้าศึกษาตามความตอ้ งการ

พุทธศักราช 2530-2532 วิทยาลัยยังคงรับนักศึกษาและนักเรียน เช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา ในส่วนของการจัดการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ ไดเ้ ปดิ ศูนย์อบรมข้ึนทีโ่ รงเรยี นสะอาดเผดิมวทิ ยา จังหวัดชมุ พรอกี แหง่ หนง่ึ พุทธศักราช 2533 การรับนักศึกษาและนักเรียนของวิทยาลัย ยังคงดำเนินการเหมือนกับปีก่อน ๆ ในปีนี้มีโครงการร่วมมือระหว่างสถาบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศแคนนาดากับวิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี เพื่อพัฒนาโปรแกรมวิชาวิทยาการจัดการมีระยะเวลา 3 ปี อนึ่งในปีนี้วิทยาลัย ได้เปิดวิชาเอกวิทยาศาสตร์สุขภาพ ภาคปกติ โดยร่วมมือกับวิทยาลัยพลศึกษา จงั หวดั ชุมพรอกี ดว้ ย พุทธศักราช 2534 วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ยังคงเปิดรับนักศึกษาและ นักเรียนเข้าเรียนเช่นเดียวกับปีก่อน ๆ ส่วนการดำเนินงานการจัดการศึกษา สำหรับบุคลากรประจำการนั้นมีศูนย์อบรมที่โรงเรียนสะอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพรและได้เปลี่ยนไปดำเนินการที่โรงเรียนศรียาภัย ซึ่งในปีนี้วิทยาลัย ได้รับความร่วมมือจากองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศรัฐบาลญี่ปุ่น (ไจก้า) จัดโครงการทดลองจัดตั้งศูนย์ศึกษาประจำภูมิภาคขึ้นที่วิทยาลัย เพื่อพัฒนา อาจารย์ของสหวทิ ยาลยั ทักษณิ ด้านเคมแี ละคอมพิวเตอร์ พุทธศกั ราช 2535 การรับนกั ศกึ ษาและนักเรยี นยังคงเปิดรบั เช่นเดียวกัน และในวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวทิ ยาลยั ครวู ่า “สถาบนั ราชภฏั ” คณะครุศาสตร์ ในอดีต ภาพ : อาจารยว์ ริ ยิ ะ กลิน่ เสาวคนธ์ ภาพ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี

พุทธศักราช 2538 มีประกาศใช้ พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พุทธศักราช 2538 และสถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้ดำเนินภารกิจ ตามพระราชบัญญตั สิ ถาบนั ราชภัฏ พทุ ธศักราช 2538 พุทธศักราช 2539 ถึง 2541 สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีนโยบาย ที่จะขยายฐานการศึกษาจากระดับปริญญาตรี ไปจนถึงปริญญาโท ประกอบกับ แนวการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเปลี่ยนไป สถาบันจึงงดรับนักเรียนสาธิต ในปีการศกึ ษา 2540 พุทธศักราช 2542 สถาบันได้จดั ตั้งบณั ฑิตวทิ ยาลัยและเปิดรบั นักศึกษา ระดับปริญญาโทเป็นครั้งแรก โดยเปิดสอนครุศาสตร์มหาบัณฑิตในสาขา การบรหิ ารการศกึ ษา พุทธศักราช 2543 สถาบนั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ไดข้ ยายสาขาและปรมิ าณ การรับนักศึกษามากขึ้นทั้งภาคปกติและภาคสมทบและได้ปรับปรุงโครงการ กศ.บป. เป็นโครงการจัดการศึกษาสำหรับบคุ ลากรท้องถิ่น (กศ.บท.) เพื่อเปิดรบั บุคคลทั่วไปโดยไม่จำกัดอาชีพและได้ขยายเปิดศูนย์ให้การศึกษานอกสถาบัน จากทีม่ ี 1 แห่ง คือ ศูนย์ชมุ พรไปยังจังหวัดระนองเพม่ิ อีก 1 แหง่ พุทธศักราช 2545 ถึง 2546 สถาบันได้เปิดรับสมัครนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีมากขึ้นและขยายการศึกษาสำหรับบุคลากรท้องถิ่น กศ.บท. พุทธศักราช 2546 สถาบันได้มีการพัฒนาเพื่อเตรียมการเป็นมหาวิทยาลัย โดยสมบูรณ์ ทั้งในส่วนของการขยายฐานการจัดการศึกษาเพิ่มขึ้นอีกหลายสาขา ทง้ั ระดบั ปรญิ ญาตรภี าคปกติและภาค กศ.บท. พุทธศักราช 2547 เปิดรับนักศึกษาตามโครงการผลิตครูการศึกษา ขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี) ซึ่งนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลง คร้งั สำคัญของคณะในดา้ นหลักสตู รและกระบวนการการจัดการเรียนการสอน พุทธศักราช 2548 ถึง 2552 เปิดรับนักศึกษาตามโครงการผลิตครู การศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี) อย่างต่อเนื่องและ ทำคำรับรองปฏิบัติการราชการประจำปีงบประมาณ 2548 ซึ่งนับว่า เปน็ การเปลย่ี นแปลงครงั้ สำคัญของคณะในการปฏิบัติราชการของหนว่ ยงาน

พุทธศักราช 2549 สถาบันได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2549 คณะครุศาสตร์ ได้ดำเนินการภารกิจ โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิตครรู ะดับปริญญาตรี ปริญญาโท และระดับประกาศนยี บัตรบณั ฑติ วิชาชพี ครู พุทธศักราช 2553 คณะครุศาสตร์เปิดสถาบันพัฒนาครูและทรัพยากร มนุษย์ ในวันที่ 27 เมษายน พุทธศักราช 2553 เพื่อบริการวิชาการให้แก่สังคม อย่างเต็มรูปแบบ พทุ ธศกั ราช 2553 ถึง 2554 พัฒนาหลกั สูตรดุษฎบี ัณฑิตสาขาภาวะผู้นำ การจัดการศึกษาและเปิดรับนักศึกษารุ่นแรก ปีการศึกษา 2553 และปรับปรุง หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) จำนวน 7 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ หลักสูตรสาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรสาขาวิชา ภาษาอังกฤษ หลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรสาขาวิชาศิลปกรรมและหลกั สตู รสาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2555 เปิดรบั นักศึกษาหลักสตู รดุษฎบี ณั ฑิต สาขาภาวะผู้นำ การจัดการศึกษา รุ่นท่ี 3 ปีการศึกษา 2555 และปรับปรุงวิธีการรับนักศึกษา เข้าเรียนภาคปกติโดยใช้ระบบโควต้า Road show และการสอบทั่วไป โดยการ กำหนดเกรดเฉล่ยี คะแนนวดั แววครู สอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ นอกจากนั้น ยังมีการวางแผนการรับนักศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศ ตรงตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิมีประสบการณว์ ชิ าชีพและสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพครู จากนั้นมีการจัดตั้งหน่วยพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เม่ือวันที่ 25 มนี าคม พทุ ธศกั ราช 2555 กอ่ นแต่งตั้งใหม้ ีและเล่ือนเป็นวิทยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษและเช่ยี วชาญ พทุ ธศักราช 2556 เรมิ่ ใชห้ ลกั สตู รปรับปรุง พุทธศักราช 2556 เป็นปีแรก จำนวน 7 หลักสูตรและเปิดหลักสูตรใหม่ จำนวน 1 หลักสูตร โดยปรับปรุง หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตวชิ าชพี ครู สาขาวชิ าชพี ครู

พุทธศักราช 2557 ถึง 2562 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑติ วิชาชีพครูและเปิดสอนระดับปริญญาตรี จำนวน 8 หลักสูตรสาขาวิชา ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา ภาษาไทย ศิลปศึกษา การศกึ ษาปฐมวัย คอมพวิ เตอร์ และเปิดสอนระดบั ปริญญาโท จำนวน 3 หลักสตู ร ได้แก่ การบริหารการศึกษา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการและงานอาชีพ และหลกั สตู รและการสอน พุทธศักราช 2562 ถึง 2563 เปิดสอนระดับปริญญาตรี 1 หลักสูตร (หลกั สตู ร 4 ปี) แบง่ เปน็ 10 สาขาวชิ าเอก ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าเอกวิทยาศาสตร์ท่ัวไป สาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ สาขาวิชาเอกสังคมศึกษา สาขาวิชาเอกภาษาไทย สาขาวิชาเอกศิลปศึกษา สาขาวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย สาขาวชิ าเอกคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเอกเคมีและสาขาวชิ าเอกฟิสิกส์ พุทธศักราช 2562 ได้เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขา การประถมศึกษา จติ วิทยาและการแนะแนว (เปดิ รับนักศกึ ษา ปี 2564) 13 13 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี คณะครศุ าสตร์. (2563). รายงานผลการประเมินตนเองระดับ คณะปกี ารศึกษา 2562. สุราษฎร์ธานี : มหาวทิ ยาลยั .

คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ในอดตี คณะมนุษยศาสตร์และ ภาพ : อาจารย์วริ ยิ ะ กล่นิ เสาวคนธ์ สังคมศาสตร์ เป็นหน่วยงานในระดับ คณะ ขอ ง ม ห า วิ ท ย า ล ั ย ร า ชภัฏ สุราษฎร์ธานี โดยเริ่มจากการก่อต้ัง วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ซึ่งตั้งขึ้น ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พุทธศักราช 2515 ถงึ 2519) เมอ่ื วันที่ 29 กนั ยายน พุทธศักราช 2516 เปน็ 1 ใน 7 แห่ง ของวทิ ยาลัย ครูที่ตั้งขึ้นใหม่ สังกัดกรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ ในโครงการเงินกู้ ของธนาคารโลก จำนวน 55 ล้านบาท ดำเนินการจัดตั้งเป็นโครงการ ระยะ 3 ปี ตงั้ แต่พุทธศกั ราช 2517 ถึง 2519 โดยมพี ฒั นาการมาโดยลำดบั พุทธศักราช 2519 เริ่มใช้ชื่อคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เหมอื นกับคณะวิชาอน่ื ๆ ของวทิ ยาลยั ครสู ุราษฎรธ์ านี รบั ผดิ ชอบและดำเนินการ สอนนกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) พุทธศักราช 2523 ได้ขยายการจัดการศึกษาโดยรับนักศึกษาภาคปกติ ระดบั ปรญิ ญาตรี พุทธศักราช 2528 เปิดรับนักศึกษาทั้งระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี สาขานอกเหนือจากสาขาครุศาสตร์ ได้แก่ สาขาศิลปศาสตร์และอีกหลายกลุ่ม สาขาวิชา พุทธศักราช 2538 ชื่อ “คณะวิชา” เปลี่ยนเป็น “คณะ” ไม่มีคำว่า “วิชา” ต่อท้ายซง่ึ เปน็ ไปตามพระราชบัญญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พุทธศักราช 2538

พุทธศักราช 2542 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารคณะ ตามนโยบายของสภาสถาบันราชภัฏ คือยกเลิก “ภาควิชา” ให้มีการรวมกลุ่ม อาจารย์ในรูปของคณะกรรมการกล่มุ สาขาวิชา รบั ผดิ ชอบด้านวิชาการซึ่งเรียกว่า “กลุ่มสาขาวิชา” และมีสำนักงานคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นหนว่ ยดำเนนิ งาน พุทธศักราช 2547 สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้ยกฐานะ เป็นมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 ส่งผลให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นสว่ นหนงึ่ ของโครงสรา้ งดงั กล่าว ปัจจุบัน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี 4 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตและหลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิต การเรียนการสอนระดับปริญญาโท จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชายทุ ธศาสตร์การ พัฒนาและหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาท้องถิ่น “สร้างสรรค์” คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืน “ขับเคลื่อน” คุณภาพการวิจัย และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนการสอนและการพั ฒนาชุมชนท้องถ่ิน “อนุรักษ์” ฟื้นฟูส่งเสริมและพัฒนาขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม “การยกระดับคุณภาพการศึกษายกระดับ” คุณภาพการศึกษาและการจัด การเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ “เพิ่มประสิทธิภาพ” การพัฒนาบุคลากรการเงินและงบประมาณและการบริหาร กิจการบ้านเมืองท่ดี ี14 14 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี คณะมนษุ ยศาสตร์. (2563). รายงานการศกึ ษาตนเอง ปกี ารศกึ ษา 2563. สุราษฎรธ์ านี : มหาวทิ ยาลัย.

คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนามาจากคณะวิชาวิทยาศาสตร์ วทิ ยาลัยครูสรุ าษฎร์ธานี ได้เปดิ สอนนักศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าการศึกษา (ป.กศ.) ตั้งแต่ปีการศึกษา 2519 ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) ตั้งแต่ปีการศึกษา 2521 เปิดสอนระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2523 และระดับบัณฑติ ศกึ ษาตั้งแตป่ ีการศึกษา 2547 โดยมีการพัฒนาตามลำดับ ดังน้ี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในอดีต ภาพ : อาจารยว์ ริ ยิ ะ กลน่ิ เสาวคนธ์ ปกี ารศึกษา 2519 เปิดสอนระดับประกาศนยี บตั รวิชาการศกึ ษา (ป.กศ.) ปีการศกึ ษา 2521 ถงึ 2525 เปิดสอนระดับประกาศนยี บัตร วชิ าการศกึ ษา ช้นั สงู (ป.กศ.สูง) ปีการศกึ ษา 2527 ถึง 2535 เปดิ สอนระดับปรญิ ญาตรี 4 ปี และ 2 ปี ปกี ารศึกษา 2536 เปิดสอนหลักสูตรอนปุ ริญญาวิทยาศาสตร์ (อ.วท.) ปีการศึกษา 2538 เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรวิทยาศาสตร บัณฑติ

ภาควชิ าเกษตรศาสตร์ ในอดีต อาคารอตุ สาหกรรมศิลป์ ในอดตี ภาพ : อาจารย์วิริยะ กล่นิ เสาวคนธ์ ปัจจบุ นั คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ปี) วิทยาศาสตรบัณฑิต จำนวน 17 หลักสูตร และเปิดหลักสูตรอุตสาหกรรม ศาสตรบัณฑติ วิชาเอกเทคโนโลยกี ารจัดการอุตสาหกรรมและวิชาเอกเทคโนโลยี วัสดุและการผลิตและได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรเทคโนโลยีดิจทิ ัล หลักสูตร เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและหลกั สูตรนวตั กรรมอาหารและโภชนาการ15 คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปัจจบุ ัน ภาพ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2564). รายงานการ ประเมินผลงานของคณบดี ปีง บประมาณ 256 4 (รอบ 6 เดือน ) . สรุ าษฎรธ์ านี : มหาวิทยาลัย.

คณะวทิ ยาการจดั การ

คณะวทิ ยาการจดั การ คณะวิทยาการจัดการ ก่อตั้งขึน้ เมื่อปพี ุทธศักราช 2528 เพ่อื ตอบสนอง ความต้องการของชุมชนในท้องถ่ิน เนื่องจากมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ มากขน้ึ เป็นผลใหต้ ลาดแรงงานตอ้ งการ คณะวิทยาการจดั การ ในอดตี แรงงานในสาขาตา่ ง ๆ มากกวา่ ในอดตี ภาพ : อาจารยว์ ริ ิยะ กล่นิ เสาวคนธ์ คณะวิทยาการจัดการจึงเล็งเห็นความสำคัญในการผลติ บณั ฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยดำเนินการเปิด หลกั สูตรและจัดการเรยี นการสอนและมพี ัฒนาการมาเปน็ ลำดบั ดังน้ี พุทธศักราช 2528 ดำเนินการจัดการเรียนการสอนครั้งแรกในระดับ อนุปริญญา ในวิชาเอกการจัดการสำนักงาน หลังจากนั้นได้ขยายสาขาวชิ าต่าง ๆ เพมิ่ ข้นึ พุทธศักราช 2530 ระดับอนุปริญญา เปิดสอนสาขาวิชาเอกการจัดการ ท่วั ไป พุทธศักราช 2531 ดำเนินการจัดการเรียนการสอนครั้งแรก ในระดับ ปริญญาตรี โดยเปิดสอนสาขาวิชาเอกการจัดการทั่วไป (หลังอนุปริญญา) พุทธศักราช 2532 ดำเนินการจัดการเรียนการสอนครั้งแรกในระดับ ปริญญาตรี 4 ปี โดยเปิดสอนสาขาวิชาเอกการจัดการทั่วไป สาขาวิชาเอก บรหิ ารธุรกจิ พุทธศักราช 2533 คณะวิทยาการจัดการได้เข้าร่วมโครงการความร่วมมอื ระหว่างสถาบนั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศแคนาดา เพื่อพัฒนาโปรแกรม การจดั การทว่ั ไปเปน็ เวลา 3 ปี

พุทธศักราช 2536 คณะวิทยาการจัดการเปิดสอนวิชานิเทศศาสตร์ พทุ ธศกั ราช 2543 คณะวิทยาการจัดการ เปิดสอนสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ ดงั นน้ั ในปีพทุ ธศักราช 2543 คณะวิทยาการจัดการ ไดด้ ำเนินการเปิดสอน สาขาวิชาเอกรวม 4 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการ บรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธรุ กจิ และสาขาวิชานิเทศศาสตร์พุทธศักราช 2546 คณะวทิ ยาการจัดการ เปดิ สอน 9 สาขาวชิ า คือ สาขาวิชาการจัดการท่ัวไป (บรหิ ารธุรกจิ และการเงนิ และการธนาคาร) สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การตลาด) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การบริหาร ทรพั ยากรมนุษย์) สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ (การบญั ชี) สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ สาขาวชิ านิเทศศาสตร์ (ประชาสมั พันธ์ และวารสารศาสตร์) พุทธศักราช 2548 คณะวิทยาการจัดการจดั การเรียนการสอน 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ประกอบด้วย กลุ่มวิชาการจัดการ ทั่วไป กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ กลุ่มวิชาการตลาด กลุ่มวิชาการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์และกลุ่มวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกจิ ภาควิชาการเงินและการบัญชี ประกอบด้วย กลุ่มวิชาการเงินและการธนาคารและกลุ่มวิชาการบัญชี ภาควิชา นิเทศศาสตร์ ประกอบด้วย กลุ่มวิชาประชาสัมพันธ์และกลุ่มวิชาวารสารศาสตร์ นอกจากนี้คณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนให้แก่ นักบริหารธุรกิจในท้องถิ่น ในโครงการจัดการศึกษาสำหรับนักบริหารธุรกิจ หลักสูตรปรญิ ญาตรี บรหิ ารธรุ กิจ สาขาการจดั การท่ัวไป Ex.B.A.เป็นรนุ่ แรก พุทธศักราช 2549 มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี 2 หลกั สูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ ประกอบดว้ ย แขนงวิชาการจัดการทั่วไป แขนงวิชาการเงินและการธนาคาร แขนงวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ แขนงวิชาการตลาด แขนงวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ แขนงวิชาการบัญชแี ละแขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ธรุ กจิ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ประกอบด้วย แขนงวิชาการประชาสัมพันธแ์ ละแขนงวิชา วารสารศาสตร์

นอกจากนี้เปิดหลักสูตรปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการทั่วไป Ex.B.A.ร่นุ แรกที่ศนู ยก์ ารศึกษานอกมหาวทิ ยาลัย จงั หวัดกระบ่ี พุทธศักราช 2551 จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี 4 หลักสูตร และหลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี 1 หลักสูตร คือหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) ประกอบดว้ ย สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ สาขาวชิ าการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการเงิน และการธนาคาร สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจและสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธรุ กิจ หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ศ.บ) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ประกอบด้วย แขนงวิชาการประชาสมั พันธ์และแขนงวชิ าวารสารศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการคลัง หลักสูตรบัญชีบัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ประกอบด้วย สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ แขนงวชิ าการตลาด สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ แขนงวชิ าการบริหารทรพั ยากรมนุษย์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ แขนงวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาบริหารธรุ กจิ แขนงวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจและสาขาวิชาการจดั การท่วั ไป พุทธศักราช 2552 คณะวิทยาการจัดการ เปิดหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ พุทธศักราช 2558 คณะวิทยาการจัดการ ได้ทำบันทึกข้อตกลง ความรว่ มมอื ระหว่างมหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านกี ับบริษทั ซพี ี ออลล์ จำกัด และบรษิ ัทในกลุม่ (มหาชน) สนับสนนุ การผลิตบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี ตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษา ที่สำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากำหนด อย่างเป็น ระบบคือ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จำนวน 1 ระบบ เปิดหลักสูตรใหม่ สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ คา้ ปลีก พุทธศักราช 2559 คณะวิทยาการจัดการ เปิดหลักสูตรใหม่ 2 หลักสูตร คอื หลกั สูตรบริหารธุรกิจบณั ฑิต สาขาวิชาธรุ กจิ อาหาร และหลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวิชาธรุ กิจเกษตร

พุทธศักราช 2560 หลักสูตรมีแขนงเพิ่มเติม คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ วิชาเอกธุรกิจออนไลน์ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจและวิชาเอกการเป็นผู้ประกอบการ และได้เปลี่ยนชื่อหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เป็นหลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑิต สาขาวชิ าระบบสารสนเทศทางธุรกิจ พุทธศักราช 2546 คณะวิทยาการจัดการ เปิดหลักสูตรใหม่ 1 หลักสูตร คอื หลกั สูตรบริหารธุรกิจบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ สุขภาพและความงาม เปดิ รับนักศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 ปัจจุบัน คณะวิทยาการจัดการ ผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจ การบัญชี นิเทศศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ สามารถนำไปประกอบอาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน และความต้องการของตลาดแรงงาน16 คณะวิทยาการจดั การ ในปจั จุบนั ภาพ : ไตรเพชร พลดี 16 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี คณะวทิ ยาการจัดการ. (2563). รายงานการประเมนิ ตนเอง ปีงบประมาณ 2563. สรุ าษฎร์ธานี : มหาวทิ ยาลยั .

คณะพยาบาลศาสตร์

คณะพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ ในปจั จุบนั ภาพ : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี วันที่ 24 มกราคม พุทธศักราช 2551 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี ในการประชุม ครั้งที่ 1/2551 มีมติอนุมัติให้จัดตั้งคณะพยาบาลและ วิทยาศาสตร์สุขภาพและอนุมัติหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ และมีประกาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เรื่อง การจัดตั้งคณะพยาบาล และวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ เม่อื วันท่ี 24 มกราคม พุทธศกั ราช 2551 วนั ที่ 28 กมุ ภาพันธ์ พุทธศักราช 2551 สภามหาวทิ ยาลัย แต่งต้ังคณบดี คณะพยาบาลและวิทยาศาสตรส์ ุขภาพคนแรก คอื นางมาลี ลว้ นแก้ว วันที่ 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2551 คณะพยาบาลและวิทยาศาสตร์ สุขภาพได้จัดส่งรายงานการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์การรับรอง สถาบันการศึกษาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ใหม่สำหรับการพิจารณารับรอง สถาบัน ปที ี่ 1 ของการเปดิ ดำเนนิ การไปยงั สภาการพยาบาลเพื่อขอรบั รองการเปดิ สถาบันการศึกษาใหม่ พร้อมส่งหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2551 เพอื่ ขอความเห็นชอบหลักสตู รจากสภาการพยาบาล

วนั ที่ 14 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2551 ผู้ทรงคณุ วุฒิจากสภาการพยาบาล ตรวจเย่ียมคณะพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ให้ข้อเสนอแนะว่าควรเปลีย่ น ชื่อจาก “คณะพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ” เป็น “คณะพยาบาลศาสตร”์ เนื่องจากวิชาชีพพยาบาลเป็นศาสตร์เฉพาะทางและสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ สรุ าษฎรธ์ านี ในการประชุมครั้งท่ี 7/2551 มมี ติใหจ้ ดั ตงั้ “คณะพยาบาลศาสตร์” ในวนั ท่ี 25 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2551 วันที่ 1 เมษายน พุทธศักราช 2559 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี อนุมัติแต่งตั้ง ดร.จิราพร วัฒนศรีสิน ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี คนที่สอง (พทุ ธศกั ราช 2559 ถึง 2563) วันที่ 1 มิถุนายน พุทธศักราช 2563 สภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อนุมัตแิ ต่งตง้ั รศ.ดร.วิภาวรรณ ชะอมุ่ เพ็ญสขุ สนั ต์ ดำรงตำแหนง่ คณบดคี ณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี คนปัจจบุ ัน ความเป็นมาของการรับรองคณะพยาบาลศาสตร์ ปที ี่ 1 วันที่ 7 สงิ หาคม พุทธศกั ราช 2551 ปีท่ี 2 วนั ที่ 19 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2553 ปที ี่ 3 วนั ท่ี 12 พฤศจิกายน พทุ ธศกั ราช 2553 ปที ี่ 4 วันท่ี 14 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2554 ปที ่ี 5 วันที่ 20 เมษายน พุทธศักราช 2556 ให้การรับรอง 2 ปี (ปีการศกึ ษา 2556 ถึง ปีการศึกษา 2557) ปที ี่ 7 วันที่ 20 เมษายน พุทธศักราช 2558 ให้การรับรอง 3 ปี (ปีการศกึ ษา 2558 ถงึ ปกี ารศึกษา 2560) ปีที่ 10 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2561 ให้การรับรอง 4 ปี (ปีการศกึ ษา 2561 ถึง ปีการศกึ ษา 2564) 17 17 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี คณะพยาบาลศาสตร์. (2564). รายงานการประเมนิ ตนเอง ปี 2564. สุราษฎรธ์ านี : มหาวิทยาลัย.

คณะนติ ิศาสตร์

คณะนติ ิศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานภายในระดับคณะตามมติประชมุ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่ 18 เมษายน พทุ ธศักราช 2551 เห็นชอบจดั ต้ังคณะนติ ิศาสตรเ์ ปน็ ส่วนราชการในมหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ของสำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) ภายใต้การควบคมุ และรบั รอง ขององค์กรวิชาชีพทางกฎหมาย คือ เนติบัณฑิตยสภาในพระบรมราชูปถัมภ์ และสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะนิตศิ าสตร์ ในปัจจุบนั ภาพ : ไตรเพชร พลดี พุทธศักราช 2545 สำนักงาน ก.พ. รับรองคุณวุฒิของผู้สำเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏ ระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต โปรแกรม วิชานิตศิ าสตร์ (หลักสูตรใหม่ พทุ ธศักราช 2544) (วันที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศักราช 2545)

พุทธศักราช 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดตั้งสาขาวิชา นิติศาสตร์ สังกดั คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดสอนนกั ศึกษาหลกั สูตร นิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติและภาค กศ.บท. (โครงการการจัดการศึกษา เพ่อื พฒั นาบุคลากรทอ้ งถิ่น) พุทธศักราช 2550 มอบปริญญานิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขานิติศาสตร์ให้แก่ศาสตราจารย์พิเศษ จรัญ ภักดีธนากุล อดีตเลขาธิการ ประธานศาลฎกี าและตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญ พุทธศักราช 2551 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีมติจัดต้ัง คณะนิติศาสตร์ สำนักงานคณะนิติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่อาคารกาญจนาภิเษกอนุสรณ์ ชั้น 2 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี (วันท่ี 18 เมษายน พุทธศักราช 2551) คณะกรรมการอำนวยการอบรมศกึ ษากฎหมายแหง่ เนติบณั ฑิตยสภามมี ติ ให้รับเทียบมาตรฐานการศึกษาของผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เทียบให้ไม่ต่ำกว่าผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรี ทางนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรอื มหาวิทยาลยั รามคำแหง (วันท่ี15 พฤษภาคม พุทธศกั ราช 2551) มอบปรญิ ญาตรี นติ ศิ าสตรด์ ษุ ฎบี ัณฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขานิตศิ าสตร์ ให้แก่ นายชาญชัย ลขิ ิตจิตถะ องคมนตรี พุทธศักราช 2552 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านีและสำนกั งานกจิ การยตุ ิธรรม (วันที่ 27 มกราคม พุทธศักราช 2552) สำนักฝึกอบรมวชิ าว่าความแห่งสภาทนายความ รับรองหลักสูตรปริญญา ตรีทางนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (วันที่ 27 มีนาคม พทุ ธศักราช 2552) บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏ สรุ าษฎรธ์ านกี ับตำรวจภธู รจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี (วนั ที่ 5 พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช 2552)

เปิดสอนนักศึกษา หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โครงการจัดการศึกษา นิตศิ าสตร์ ภาคบณั ฑิต (Executive Law) พุทธศักราช 2554 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักด์ิ แด่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตติยาภา พระธิดาในสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร พุทธศักราช 2555 ปรับปรุงหลักสูตร นิติศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2555) ลงนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกระทรวงยุติธรรม และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (วนั ท่ี 21 ธนั วาคม พุทธศกั ราช 2555) พุทธศักราช 2556 สภามหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตงั้ อาจารย์จติ รดารมย์ รตั นวฒุ ิ ดำรงตำแหนง่ คณบดีคณะนติ ศิ าสตร์ (วันที่ 1 มนี าคม พทุ ธศักราช 2556) ข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการระหว่างคณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานีกับศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 8 (วันที่ 1 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2556) พุทธศักราช 2558 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน ระหว่างสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษณิ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (วันที่ 17 กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช 2558) พุทธศักราช 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งต้ัง พนกั งานมหาวิทยาลัยให้ดำรงตำแหนง่ ทางวิชาการ “ผู้ช่วยศาสตราจารย”์ จำนวน 2 คน พุทธศักราช 2559 มอบรางวลั ศิษยเ์ ก่าเกียรติยศใหแ้ ก่ คุณพรชัย ชูชาติ ศิษยเ์ กา่ ภาคกศ.บท. รนุ่ 1 นายชา่ งรงั วดั อาวโุ ส หวั หนา้ ฝ่ายรังวัด สำนักงานท่ีดิน กรงุ เทพมหานคร

พุทธศักราช 2560 สภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งต้งั อาจารยน์ นทชัย โมรา ดำรงตำแหนง่ เป็นคณบดีคณะนติ ศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย ให้ดำรงตำแหนง่ ทางวิชาการ “ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย”์ จำนวน 7 คน จัดตั้งศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน ภาคใต้ ณ อาคาร คณะนิติศาสตร์ (ชั้น 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (วันที่ 7 สิงหาคม พทุ ธศักราช 2560) จัดตั้งฝ่ายวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่นเป็นหน่วยงานภ ายใน และตีพิมพ์เผยแพรว่ ารสารนิติศาสตรแ์ ละสังคมท้องถิน่ ฉบับปฐมฤกษ์ (มกราคม ถงึ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช 2560) ปรบั ปรุงหลกั สตู รนิติศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรบั ปรุง) พุทธศกั ราช 2560 พุทธศักราช 2561 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านีและสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ (วันที่ 24 กุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช 2561) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลยั ใหด้ ำรงตำแหนง่ ทางวิชาการ “ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์” จำนวน 1 คน เปิดศูนย์การศึกษาเนติบัณฑิตยสภา ถ่ายทอดสดการบรรยายกฎหมาย ภาค 1 สมัย 71 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่างคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี และ Chicago-Kent College of Law, Illinois Institute of Technology, สหรัฐอเมรกิ า (วนั ท่ี 12 มถิ นุ ายน พุทธศักราช 2561) พุทธศักราช 2562 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานแี ละสำนกั งานศาลปกครอง (วนั ที่ 8 กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช 2562) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตั้งบุคลากรเงินรายได้ ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ “รองศาสตราจารย์” จำนวน 1 คน และ “ผู้ช่วย ศาสตราจารย”์ จำนวน 2 คน

เปดิ อบรมหลกั สตู รประกาศนียบัตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดี ปกครอง (ท่ีได้รบั การรับรองจาก ก.ศป.) รุ่นท่ี 1 เปดิ หลักสูตรประกาศนยี บตั ร กฎหมายเฉพาะดา้ น พุทธศักราช 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตั้ง พนักงานมหาวทิ ยาลยั ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ “ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย”์ จำนวน 10 คน เปดิ อบรมหลักสูตรประกาศนยี บัตรกฎหมายเฉพาะด้าน ร่นุ ที่ 1 วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่นได้รับคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI และไดถ้ ูกจัดคณุ ภาพใหเ้ ป็นวารสารกลมุ่ ที่ 2 (เหรยี ญเงนิ ) ปรบั ปรงุ หลกั สูตร นิติศาสตรบัณฑติ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2563) พุทธศักราช 2564 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีคำสั่งแต่งตั้ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เพชร ขวญั ใจสกุล ดำรงตำแหน่งเปน็ คณบดคี ณะนติ ศิ าสตร์ คณะนิติศาสตร์มีพันธกิจที่สำคัญในการผลิตบัณฑิตทางนิติศาสตร์ การให้บริการวิชาการด้านกฎหมาย การวิจัยทางกฎหมายรวมถึงการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิ่น โดยมีความมุ่งมั่นให้เป็นสถาบันการศึกษา ทางกฎหมายในเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการทางวิชาการ ดา้ นกฎหมายและให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลยั 18 18มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี คณะนติ ิศาสตร์. (2563). รายงานการประเมินตนเองระดบั คณะ ปีการศึกษา2563 (1 มถิ นุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564). สรุ าษฎรธ์ านี : มหาวทิ ยาลยั .

วทิ ยาลัยนานาชาตกิ ารทอ่ งเท่ียว

วิทยาลัยนานาชาตกิ ารทอ่ งเทย่ี ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว เพื่อเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้และผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางด้าน การท่องเทีย่ วและการบริการ ตามบรบิ ทพืน้ ทีข่ องจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี โดยได้รับ ความเหน็ ชอบจากกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้จดั ต้ังวิทยาลัยนานาชาตกิ ารท่องเท่ียว ตามฎกระทรวงการจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2548 ลงวันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2548 ประกาศในพระราชกิจจานเุ บกษา หน้า 72 เล่ม 122 ตอนท่ี 20 ก วันที่ 8 มนี าคม พทุ ธศักราช 2548 นับเปน็ คณะที่ 5 ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทีย่ ว ในอดตี ภาพ : ไตรเพชร พลดี วันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2548 วิทยาลัยนานาซาติการท่องเที่ยว ตั้งตามกฎกระทรวงการจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2548 ลงวันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2548 ประกาศในพระราชกิจจานเุ บกษา หน้า 72 เลม่ 122 ตอนท่ี 20 ก

วันที่ 12 กรกฎาคม พุทธศักราช 2550 รายงานการประชุม สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 7/2550 วันพฤหัสบดีท่ี 12 กรกฎาคม พุทธศักราช 2550 เวลา 13.30 น. ได้ให้ความเห็นชอบ วาระท่ี 6.1 “โครงการพัฒนาการศึกษาและการบริการของวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว เกาะสมุย สรุ าษฎรธ์ านี” ซ่ึงนำเสนอโดย ดร.ถนอม อินทรกำเนดิ และทมี งาน วันที่ 16 สิงหาคม พุทธศักราช 2550 และ 20 กันยายน พุทธศักราช 2550 รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 8/2550 วันพฤหัสบดีท่ี 16 สงิ หาคม พุทธศักราช 2550 เวลา13.30 น. สืบเนอื่ งถงึ รายงาน การประชุมสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี คร้งั ท่ี 9 /2550 วันที่ 20 กันยายน พุทธศักราช 2550 เวลา 13.30 น. วาระท่ี 5.4 มติที่ประชุมได้อนุมัติวิธีการและงบประมาณ จำนวน 30 ล้านบาท เพื่อใช้ ในการจัดการศึกษาวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว อำเภอเกาะสมุย จังหวัด สรุ าษฎร์ธานี และสรา้ งแล้วเสร็จเม่ือปีพทุ ธศกั ราช 2553 วิทยาลยั นานาชาตกิ ารท่องเท่ียว อำเภอเกาะสมุย จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ภาพ : เวบ็ ไซตม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี

วันที่ 29 ธนั วาคม พุทธศกั ราช 2560 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บริหารมหาวิทยาลัย (ก.บ.) ครั้งที่ 12/2560 วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม พุทธศักราช 2560 ณ ห้องผดุงชาติ สำนักอธิการบดี วาระ 5.5 มติที่ประชุม ซึ่งมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยยืนยันว่าวทิ ยาลัยนานาชาตกิ ารท่องเท่ียว ตง้ั ท่ีเกาะสมุย ตามแนวทางท่มี หาวทิ ยาลัยไดร้ ับงบประมาณเพ่ือจดั ต้งั แต่ต้น โดยเร่ิมเคล่ือนย้าย เฉพาะนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในปีการศึกษา 2561 ไปเรื่อย โดยหลักการนี้อีก 4 ปี การเคล่อื นย้ายกจ็ ะสมบรู ณ์ 2. เพื่อให้เกิดความสะดวกในการบริหารจดั การ มหาวิทยาลัยจะแต่งตั้ง คณะทำงาน เพื่อวิเคราะห์แนวทางและสนับสนุนการจัดการในด้านต่าง ๆ ของมหาวิทยาลยั ให้เกิดประสทิ ธิภาพต่อไป วันที่ 31 มกราคม พุทธศักราช 2561 รายงานการประชุมคณะกรรมการ บริหารมหาวิทยาลัย (ก.บ.) ครั้งท่ี 1/2561 วันพุธที่ 31 มกราคม พุทธศักราช 2561 ณ ห้องผดุงชาติ สำนักอธิการบดี วาระ 3.1 มติที่ประชุมรับทราบแนวทาง สนับสนุนการบริหารจัดการวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว อำเภอเกาะสมุย ตามข้อสรปุ เบ้ืองตน้ ของคณะกรรมการฯ ได้แก่ 1. วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยวต้องจัดระบบให้เป็น one stop service สามารถใหบ้ ริการไดค้ รบระบบในทเ่ี ดียว 2. การบรหิ ารจดั การอาคารสถานท่ีด้านท่ีอยู่อาศัยและท่ีพกั ควรพิจารณา จากความต้องการในอนาคตและภาพปัจจุบัน ตลอดจนจำนวนนักศึกษา เพื่อใช้ ในการตัดสินใจสร้างที่อยู่อาศัยเพิ่มเติมหรือสร้างภาคีเครือข่ายกับโรงแรม ในละแวกเดยี วกนั กับวทิ ยาลัยฯ วันที่ 7 มีนาคม พุทธศักราช 2561 ติดตาม ตรวจสอบและประเมิน ผลงานของการจัดการศกึ ษาวทิ ยาลยั นานาชาติการท่องเทยี่ ว มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ สุราษฎร์ธานี เดือนเมษายน ปีงบประมาณ 2560 โดย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ ได้เสนอเพอ่ื การพัฒนาวทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทย่ี ว ขอ้ 10

“วิทยาลยั ควรกำหนดนโยบายย้ายศูนย์การจดั การของวทิ ยาลัย ไปอำเภอ เกาะสมุย อย่างรอบคอบ เช่น นโยบายรองรับสำหรับบุคลากรที่ไม่สะดวก ย้ายไปท่ีอำเภอเกาะสมุย” และ ข้อ 11 วิทยาลัยต้องมีระบบอย่างคล่องตัว เช่น ดา้ นส่งิ อำนวยความสะดวก การเบกิ จา่ ยงบประมาณ รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี คร้งั ที่ 7/2563 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 กรกฎาคม พุทธศักราช 2563 กำหนดวาระการพัฒนา และแก้ปัญหาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีเป็นการเร่งด่วนใน 4 ปี ขา้ งหน้า (พุทธศักราช 2563 ถึง 2566) ด้านพัฒนาปรบั ปรุงองคก์ รหรือหน่วยงาน ให้มกี ารเรยี นการสอนทว่ี ทิ ยาลัยนานาชาติการท่องเทีย่ ว อำเภอเกาะสมยุ จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของประกาศกฎกระทรวงการจัดตั้ง ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2548 ลงวันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2558 และตามเจตนารมณ์ ของผใู้ ห้เช่าที่ดิน (วัดสว่างอารมณ์) โดยจัดการเรียนการสอนในหลกั สูตรนานาชาติ และ/หรือหลักสูตรที่สอนเป็นภาษาไทยตามความเหมาะสม หลักสูตรระยะส้ัน หรือชุดวิชา ณ วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารท่องเที่ยว อำเภอเกาะสมยุ จังหวดั สุราษฎร์ ธานีและสำหรับหลักสูตรของวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยวที่จัดการเรียน การสอน ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้โอนย้าย หลักสูตรไปเป็นหลักสูตรของคณะวิทยาการจัดการหรือคณะที่เกี่ยวข้อง โดยให้สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการปรับปรุงโครงสร้าง ของวทิ ยาลยั นานาชาติการทอ่ งเทย่ี ว19 19 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี วทิ ยาลยั นานาชาติการทอ่ งเทยี่ ว. (2564). แผนพฒั นา วิทยาลยั นานาชาตกิ าร ท่องเท่ยี ว ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2564-2567). สรุ าษฎร์ธานี : มหาวทิ ยาลยั .

บณั ฑติ วิทยาลยั

บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลยั ในปัจจุบัน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ภาพ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้จัดตั้งข้ึน เมื่อพุทธศักราช 2541 ตามแผนพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เพ่ือตอบสนองความต้องการของทอ้ งถนิ่ ที่ ต ้ อ ง ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ น ร ะ ด ั บ ที่ ส ู ง ก ว่ า ปริญญาตรี ปัจจุบันสำนักงานบัณฑิต วิทยาลัย ตั้งอยู่ท่ีชั้น 4 อาคารเฉลิม พระเกียรติ 80 พรรษา พุทธศักราช 2540 มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งโครงการบัณฑิตศึกษา โดยมี ดร.ณรงค์ พุทธิชวี นิ เป็นประธานโครงการ ต่อมาไดจ้ ดั ต้งั เปน็ บณั ฑิตวิทยาลยั และผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประโยชน์ คุปตก์ าญจนากุล เป็นคณบดีคนแรก พุทธศักราช 2545 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักด์ิ เอกเพชร ได้รับ การแต่งตัง้ เป็นคณบดี พุทธศักราช 2547 โปรดเกล้าฯ พระราชทาน “พระราชบัญญัติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี” และมหาวิทยาลยั ไดก้ ำหนดใหบ้ ัณฑิตวทิ ยาลัย เปน็ คณะหนึ่งในมหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2548 เปดิ สอนในหลกั สตู รและสาขาต่าง ๆ ดงั น้ี หลักสตู ร ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ เพื่อการพฒั นา สาขาวชิ ายทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา

หลักสตู ร บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ หลกั สตู ร วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษา หลกั สูตร ประกาศนียบัตรบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา วิชาชีพครู พุทธศักราช 2549 บัณฑิตวิทยาลัยได้เปิดหลักสูตรใหม่ จำนวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา และหลกั สูตรประกาศนยี บัตรบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ พุทธศักราช 2550 เปิดหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารธุรกิจ ตามโครงการความร่วมมือกับบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร พุทธศกั ราช 2551 เปิดหลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ พุทธศักราช 2553 เปิดหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต และระดับปริญญาเอกในหลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตและสาขาวิชาภาวะผู้นำ การจัดการศกึ ษา พุทธศักราช 2555 ดร.พวงเพญ็ ชรู ินทร์ ได้รับการแต่งตง้ั เปน็ คณบดี พุทธศักราช 2556 ได้ปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตรให้เป็นไป ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2559 ดร.กฤษณี สงสวสั ด์ิ ได้รับการแต่งต้ังเปน็ คณบดี พทุ ธศักราช 2561 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา รัตนพรหม ได้รับ การแตง่ ตั้งเป็นคณบดี พุทธศักราช 2563 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดี รักษาราชการแทนคณบดี20 20 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี บณั ฑติ วทิ ยาลัย. (2563). รายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปีการศกึ ษา 2562. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลยั .

สำนกั งานอธกิ ารบดี

สำนกั งานอธกิ ารบดี สำนกั งานอธกิ ารบดี ในอดีต สำนกั งานอธิการบดี ในปัจจบุ นั ภาพ : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี เดมิ สำนักงานอธกิ าร จัดต้ังตามพระราชบญั ญัตวิ ิทยาลัยครู พทุ ธศกั ราช 2518 มีหน้าที่รับผิดชอบ บริหารจัดการ ประสานงานและบริการเกี่ยวกับบุคลากร งบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์และอาคารสถานท่ขี องวิทยาลัยครู ซง่ึ มหี ัวหนา้ สำนักงาน อธิการ เป็นผู้บริหารสูงสุด โดยจัดองค์กรภายใน ประกอบด้วย ฝ่ายเลขานุการ ฝ่ายเอกสารและการพิมพ์ ฝ่ายธุรการ ฝ่ายยานพาหนะ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายการเจา้ หนา้ ท่ี ฝ่ายอนามัยและสุขาภิบาล ฝา่ ยพัสดุ ฝ่ายการเงนิ ฝ่ายสวัสดิการ และฝ่ายอาคารสถานท่ี รายนามผเู้ คยดำรงตำแหน่งหวั หนา้ สำนกั งานอธกิ าร (พุทธศักราช 2520 ถึง 2535) คนท่ี 1 นายสบาย ไสยรินทร์ วันท่ี 22 กรกฎาคม 2520 คนที่ 2 นายพงษศ์ ักดิ์ สอนสังข์ วันท่ี 25 กันยายน 2522 คนที่ 3 นายฟน้ื เพชรรกั ษ์ วนั ท่ี 17 มนี าคม 2526 คนท่ี 4 นายฟน้ื เพชรรกั ษ์ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2527 คนท่ี 5 นายวรี ะ ล่มิ สกุล วนั ท่ี 11 พฤศจิกายน 2528 คนท่ี 6 นายธงชัย หวานแก้ว วนั ที่ 6 ตลุ าคม 2530