สำน กปฏ บ ตธรรมส นก อ.แม ร ม จ.เช ยงใหม

คล้ายๆ ดนิ เผาโผลม่ าจากดนิ ซ่ึงตอ่ มาชุมชนไดต้ ัง้ ช่อื ดอยลูกน้นั ตามช่อื ลุงวงว่า “ดอยวง” ทง้ั น้ีเพอื่ ยนื ยนั ว่าบรเิ วณ

ป่าบนเขาดงั กลา่ วเปน็ แหล่งโบราณคดี และสามารถเป็นแหล่งศึกษาเรียนรขู้ องชุมชนและทางวิชาการตอ่ ไป ชาวบา้ น

จึงได้ตดิ ต่ออาจารยส์ ายนั ต์ ไพรชาญจติ ร์ นักโบราณคดี มาส�ำรวจขุดค้นบรเิ วณดอยเวียงและดอยวง ชาวบา้ นได้รวม

กลมุ่ กนั เพ่ือรักษาและปกปอ้ งแหลง่ โบราณคดี สรา้ งกิจกรรมใหเ้ กิดความรักและหวงแหนแหล่งโบราณคดีในชุมชน

รวมถงึ การอนุรกั ษ์ป่าตน้ น�้ำ มีการกอ่ ต้ังกล่มุ ยุวมคั คุเทศก์ ก่อตั้งกลุ่มพพิ ิธภณั ฑท์ ีก่ ำ� ลังอย่ใู นระหวา่ งการพัฒนาทั้ง

เรื่องการจดั แสดง การศึกษาหาความรู้ รวมถงึ การเขา้ รว่ มเป็นเครือขา่ ยการท่องเทีย่ วในชุมชนป่าแดด ร่วมกับองคก์ ร

ชมุ ชนอืน่ ๆ อาทิ ศูนย์การเรียนรู้ด้วงกวา่ ง พพิ ิธภัณฑ์เล่นได้ เพื่อใหค้ นรูจ้ กั แหลง่ เรยี นรู้ทางวัฒนธรรมในตำ� บล

ปา่ แดดมากขนึ้ อยา่ งไรกด็ ีในปจั จบุ นั ชาวบา้ นประสบปญั หาการใชพ้ ื้นทีบ่ ริเวณดอยเวียง ที่เดิมบรเิ วณพ้นื ท่ีดอยเวยี ง

ชาวบา้ นเชอื่ กนั ว่าเป็นพ้ืนที่ศักดส์ิ ทิ ธิ์ ใชเ้ ปน็ ท่ีประกอบพธิ กี รรมเลีย้ งผเี ปน็ ประจำ� ทกุ ปี มีตำ� นานเล่าตอ่ กนั มาว่า พ้ืนท่ี

ดอยเวยี งมีถ้�ำท่เี กบ็ ทรพั ยส์ มบัติไว้ ชาวบา้ นสามารถเขา้ ไปยืมข้าวของเครอื่ งใช้มาใชใ้ นพิธตี า่ งๆ ได้ แตต่ อ้ งน�ำมาคนื

ตอ่ มามคี นยืมของแลว้ ไม่คนื วญิ ญาณทีร่ กั ษาถ�้ำจึงบนั ดาลใหห้ นา้ ผาถลม่ ปดิ ปากถ�้ำไว้ ท�ำให้ไมม่ ใี ครไดเ้ หน็ สมบัติในถ�้ำ

อีกเลย แตเ่ ชอื่ กนั ว่าถำ้� จะเปดิ ออกอีกคร้งั โดยผู้มบี ุญญาธิการ ตามความเช่อื ดังกลา่ วชมุ ชนจึงจัดพธิ ีบวงสรวง แตห่ ลงั

จากที่ส�ำรวจแหล่งโบราณคดดี อยเวียงดอยวงได้ไม่นาน พื้นทบ่ี ริเวณดอยเวียงถกู กว้านซอื้ และครอบครองโดยเอกชน

ท�ำใหช้ ุมชนไมส่ ามารถประกอบพธิ กี รรมบนดอยอย่างทีเ่ คยท�ำมาได้ ชาวบ้านจงึ แก้ปัญหาโดยจัดพิธบี วงสรวงเลก็ ๆ

บรเิ วณทางขนึ้ ดอยเวียงแทนเพราะเกรงว่าถา้ ไมท่ ำ� พิธีบวงสรวงจะเกดิ เภทภยั แก่หมู่บา้ น และไดร้ ่วมกันสรา้ ง

พระพุทธรูปพระเจ้าทันใจประดษิ ฐานไว้บริเวณหลุมขดุ ค้นบนดอยวง เพื่อเปน็ เครอ่ื งยึดเหนย่ี วจติ ใจ และทีมคณะนัก

วจิ ัยก็ไดล้ งพน้ื ทเ่ี พ่อื หาขอ้ มลู ณ ปัจจุบนั เพอื่ นำ� ข้อมลู มาสงั เคราะห์รูปแบบการสร้างสรรคง์ านศิลปกรรมขน้ึ มาใหม่

โดยได้จัดท�ำขอ้ มลู ในการส�ำรวจลงทางส่ือโซเซยี ลเพ่อื เป็นการประชาสัมพนั ธ์ตามลิงคน์ ้ี ๑. https://www.youtube.com/watch?v=dpgKsSmGoK๐ ๒. FACEBOOK: https://www.facebook.com/profile.php?id=๑๐๐๐๐๓๙๙๘๖๕๗๑๑๓ ๓. รว่ มไปถงึ งานวจิ ยั ทผ่ี า่ นมาทไ่ี ดส้ ำ� รวจในเบอื้ งตน้ โดยสบื คน้ หาตามลงิ คน์ ้ี

http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle /๑๒๓๔๕๖๗๘๙/๒๖๐๖

อา้ งองิ มวิ เซียมไทยแลนด์, พิพิธภัณฑ์ชมุ ชนดอยเวยี ง-ดอยวง, [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า: Reference : http : //elanna.chiangmai.ac.th / [๑ เมษายน ๒๕๖๓]. https://www.museumthailand.com/th/museum/Doi-Viang-Doi-vong-Community-Museum

8

รูปท่ี ๑ พิพิธภัณฑช์ ุมชนดอยเวียงดอยวง (ท่ีมา www.sac.or.th)

รูปท่ี ๒ วัตถโุ บราณในพิพธิ ภัณฑช์ ุมชนดอยเวียงดอยวง (ทีม่ า www.sac.or.th)

9

๑.๒ แหลง่ โบราณคดผี าคันนา อ�ำเภอจอมทอง จงั หวัดเชียงใหม่

แหลง่ โบราณคดผี าคันนา อำ� เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มที ีต่ ้ังน�้ำตกแม่กลาง ดอยหวั ช้าง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ พิกดั ภมู ศิ าสตร์ เส้นรุง้ ที่ ๑๘o ๒๙’ ๕๒” เหนือ เสน้ แวงท่ี ๙๘o ๔๐’ ๒๐” ตะวนั ออก พิกัดกรดิ ท่ี ๔๗ QMA ๖๕๔๔๕๑ ระวางท่ี ๔๗๔๕ IV สภาพทีต่ ้งั หา่ งจาก จ.เชียงใหม่ ทางใต้ ๖๕ กม. หา่ งจาก อ.จอมทองไปทางทิศ ตะวนั ตกเฉียงเหนอื ๘ กม. ตามเส้นทางจอมทอง - ดอยอนิ ทนนท์ ไปถึงศูนย์บริการข้อมลู นักทอ่ งเท่ียวน�้ำตกแมก่ ลาง เดนิ เท้าเข้าไปตามเสน้ ทางท่องเทยี่ วนำ�้ ตกแมก่ ลางประมาณ ๒๐๐ เมตร เปน็ แนวสนั เขาท่หี นั หนา้ สลู่ ำ� น�้ำแมก่ ลาง การ คน้ พบ สำ� รวจโดยโครงการโบราณคดปี ระเทศไทย (ภาคเหนอื ) กรมศลิ ปากร ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ และส�ำรวจอีกครง้ั ใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยส�ำนกั งานโบราณคดีและพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตทิ ่ี ๖ เชียงใหม่ หลกั ฐานทางโบราณคดี พบเศษ ภาชนะดนิ เผาเนื้อดนิ ลายเชอื กทาบและแบบผวิ เรยี บ จำ� นวนเลก็ น้อย ลกั ษณะของถ้�ำและภาพเขียนสี ผาคนั นาเป็น หน้าผาช้นั บนของนำ�้ ตกแมก่ ลาง เป็นเพงิ หิน Granodiorite หนั หนา้ ไปทางทิศตะวันตก ยาว ๓๑ เมตร สงู ๑๒ เมตร ภาพเขยี นสมี คี ราบหนิ ปนู เกาะจบั แนน่ อยู่ บรเิ วณทพี่ บภาพเขยี นสสี งู จากพนื้ ประมาณ ๑.๕ - ๕.๐ เมตร เขยี นดว้ ยสแี ดง ประกอบดว้ ยภาพ ๓ ประเภท คอื ภาพคน ๑ ภาพ ภาพสตั วค์ ลา้ ยชา้ ง ๑ ภาพ และภาพสญั ลกั ษณเ์ ปน็ ลายเสน้ รปู ตา่ ง ๆ

รปู ที่ ๓ ลกั ษณะภาพลายเส้นและ ภาพเขยี นสแี หล่งโบราณคดีผาคนั นา (ทีม่ า: อำ� นาจ ขัดวิชยั นักวจิ ัย ๑๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓) 10

๑.๓ แหลง่ โบราณคดวี ังไฮ อำ� เภอเมอื งล�ำพูน จงั หวัดล�ำพูน

สาระสำ� คัญทางโบราณคดี: แหล่งโบราณคดีบา้ นวงั ไฮ เป็นแหล่งฝงั ศพ กำ� หนดอายอุ ยูใ่ นช่วงสมยั เหลก็ ตอนปลาย หรอื อายรุ าว ๑,๕๐๐ ปีมาแล้ว โดยก�ำหนดอายจุ ากกระดูกเผาไฟโดยวธิ ี Tandetron ไดค้ ่าอายุ ๑๔๙๐ ±๕๐ ปี แหลง่ โบราณคดีบ้านวงั ไฮ ไดร้ ับการคน้ พบโดยบงั เอิญเมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๒๙ จากการขดุ บ่อเลย้ี งปลาในทด่ี ินของ ชาวบ้าน โดยพบหลกั ฐานโบราณวัตถุต่างๆ อยรู่ ว่ มกับโครงกระดกู มนษุ ย์ ตอ่ มาเมอ่ื กรมศิลปากรดำ� เนนิ การขดุ คน้ ในปี พ.ศ.๒๕๓๐ โดยนายวิชัย ตันกิตตกิ ร นักโบราณคดปี ระจำ� หน่วยศิลปากรท่ี ๔ กองโบราณคดี พบหลักฐานทาง โบราณคดไี ด้แก่ โครงกระดกู มนุษย์ ภาชนะดินเผา ลูกปัดแกว้ เครอื่ งมอื หนิ กะเทาะ เครื่องมือสะเก็ดหิน แหวนดินเผา และเครอ่ื งมอื เหล็ก ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๓๙ มกี ารขดุ ค้นโดยโครงการกอ่ นประวตั ิศาสตรไ์ ทย-ฝรง่ั เศส ภายใตค้ วามรว่ ม มือของฝา่ ยวชิ าการสำ� นกั งานโบราณคดีและพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติที่ ๖ เชียงใหม่ และคณะนักโบราณคดีฝรง่ั เศส (ฌอง-ปแิ ยร์ โปโทร และคณะ, ๒๕๔๖) โดยในปีเดยี วกันมีการขดุ ค้นโดยฝ่ายวชิ าการ สำ� นกั งานโบราณคดแี ละ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติที่ ๖ เชยี งใหม่ โดยนายสายนั ต์ ไพรชาญจติ ร์ หลังจากนมี้ ีการขดุ ค้นโดยโครงการความรว่ ม มอื ไทย-ฝรั่งเศสด�ำเนนิ การทางโบราณคดที ีบ่ า้ นวงั ไฮอย่างตอ่ เน่อื งในปี พ.ศ.๒๕๔๐ และ ๒๕๔๑ การดำ� เนินการทางโบราณคดที บ่ี ้านวงั ไฮตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๓๐ และ พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๑ พบโครงกระดกู ทง้ั หมด ๓๓ โครง สามารถวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ หลมุ ฝงั ศพเหล่านน้ั เปน็ โครงกระดกู ผู้ใหญ่ ๒๐ โครง เป็นโครงกระดูกเดก็ และทารกแรกเกิด ๑๑ โครง และอกี ๒ โครง ไม่พบข้อมูลและมสี ภาพผพุ ังมากจนไม่สามารถศึกษารายละเอยี ดได้ ส่วนขนาดและขอบเขตของแหล่งฝังศพบ้านวังไฮไม่สามารถก�ำหนดได้แน่ชัดโดยเม่ือมีการส�ำรวจเพ่ิมเติมเพ่ือศึกษา ขอบเขตท่แี นน่ อน ไดท้ ำ� การขุดคน้ พืน้ ทีโ่ ดยรอบของแหล่งขุดคน้ เดมิ ตามแนวเขตที่สันนษิ ฐานว่านา่ จะเป็นแหล่งฝัง ศพ ทำ� ใหไ้ ดพ้ บลูกปัดหนิ คารเ์ นเล่ียน พบก�ำไลขอ้ มือสำ� ริดอกี หลายอันในนาขา้ วทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และพบ ก�ำไลแขนสำ� รดิ เศษภาชนะดินเผาทางด้านทิศเหนือ ประกอบกบั ค�ำบอกเลา่ ของชาวบา้ น สนั นษิ ฐานในเบอ้ื งตน้ ว่า ขอบเขตพ้นื ที่แหลง่ ฝังศพของแหล่งโบราณคดบี ้านวงั ไฮมีเนือ้ ท่ี ไกลออกไปอกี หลายสบิ เมตรในทางทศิ ใต้ ทิศเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากบรเิ วณท่ีท�ำการขดุ คน้ ในปี พ.ศ.๒๕๓๐ และ พ.ศ.๒๕๓๙-๒๕๔๑ เปน็ พืน้ ท่ีประมาณ ๕๐๐ x ๕๐๐ เมตร

อา้ งอิง ฌอง-ปแิ ยร์ โปโทร และคณะ, บา้ นวงั ไฮ แหลง่ ฝงั ศพโบราณยคุ เหลก็ ในภาคเหนอื ของประเทศไทย, (เชียงใหม่: ซลิ คเ์ วอร์ม, ๒๕๔๖), หนา้ ๑๔๓. กรมศลิ ปากร, แหล่งโบราณคดปี ระเทศไทย เลม่ ๖ (ภาคเหนือ), (กรุงเทพมหานคร: ไอเดยี สแควร,์ ๒๕๓๔), หนา้ ๑๐. สายนั ต์ ไพรชาญจติ ร์ และสภุ มาศ ดวงสกุล, โบราณคดลี า้ นนา ๑, (กรุงเทพมหานคร: ส�ำนกั พมิ พ์สมาพนั ธ,์ ๑๕๔๐), หน้า ๗๓.

11

สรปุ ช้นั ดนิ ในการขุดคน้ ทางโบราณคดีบา้ นวังไฮมี ๕ ชัน้ ดนิ

ชน้ั ดนิ ที่ ๑ เปน็ ชนั้ ดนิ ระดบั ลา่ งสดุ เปน็ ชน้ั ทบั ถมของดนิ ตะกอนแมน่ ำ้� มาแตด่ งั้ เดมิ เปน็ ชนั้ ทไ่ี มม่ กี จิ กรรมมนษุ ย์ ชนั้ ดนิ ท่ี ๒ เปน็ ชนั้ ดินทีย่ ังคงมีรอยการทบั ถมของดินตะกอนแมน่ ้ำ� และพบเครอื่ งมือหิน และสะเกด็ หนิ หลายชิน้ สันนษิ ฐานวา่ อาจถกู น�ำ้ พดั พามา ชน้ั ดนิ ท่ี ๓ เป็นชัน้ ดินท่มี กี ารปรบั พนื้ ทีเ่ พือ่ การเกษตรกรรม ปรากฏร่องรอยคูน�ำ้ โบราณ พบหลมุ ฝงั ศพถกู ขุดในระดับความลกึ ประมาณ ๗๐ เซนติเมตร และ ๑.๒ เมตรโดยวัดจากผิวดินทีม่ ีการไถปรบั หนา้ ดนิ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นหลุมฝงั ศพยุคเหล็กตอนปลาย อายุราว ๑,๕๐๐ ปมี าแลว้ ชน้ั ดนิ ที่ ๔ พบรอ่ งรอยหลุมเสา พบหลุมฝงั ศพ เศษกระดูกที่ผา่ นการเผา พบภาชนะดนิ เผาสมยั หริภญุ ไชย โดยสนั นิษฐานว่าชุมชนบ้านวงั ไฮในระยะราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ น้ีอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงประเพณีการฝงั ศพมาเป็น การฝังศพตามพธิ กี รรมทางพุทธศาสนาท่ผี คู้ นในวฒั นธรรมหรภิ ุญไชยนับถือ ชน้ั ดนิ ที่ ๕ เปน็ ชน้ั ดนิ สดุ ทา้ ยระดบั บนสดุ พบโบราณวตั ถปุ รมิ าณนอ้ ยและมลี กั ษณะคลา้ ยกบั ทพี่ บในปจั จบุ นั เชน่ เศษภาชนะสมยั ใหม่ จงึ อาจเปน็ ไปไดว้ า่ หลกั ฐานทางโบราณคดอี าจถกู รบกวนโดยการใชพ้ นื้ ทที่ ำ� นาขา้ วและเพาะปลกู มา อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยสรปุ ผลการศึกษาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ไดว้ ่า แหล่งโบราณคดบี ้านวังไฮแสดงใหเ้ หน็ กลุ่มชนทม่ี ีลกั ษณะ สังคมด้ังเดมิ ทมี่ อี ายุตง้ั แต่สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ ยคุ เหลก็ ตอนปลาย หรอื ราว ๑,๕๐๐ ปมี าแล้วสมยั หนึ่ง และสมัย ประวตั ิศาสตรท์ ร่ี บั วัฒนธรรมหรภิ ุญชัยราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ อกี สมัยหนึ่ง ทง้ั นใี้ นสมยั หลงั นแ้ี สดงใหเ้ หน็ ว่ากลมุ่ ชน ท่ีบา้ นวงั ไฮไมไ่ ดอ้ ยู่อยา่ งโดดเดี่ยว แต่เปน็ สังคมท่ยี ังคงมีประเพณกี ารฝงั ศพแบบสังคมด้ังเดมิ แต่มีการรับวฒั นธรรม ภาย นอกไดแ้ ก่วฒั นธรรมทวารวดีจากภาคกลาง เช่น เครื่องประดบั ก�ำไลแก้ว ลกู ปดั คารเ์ นเล่ยี น ลกู ปดั แก้ว เปน็ ต้น นอกจากน้ี การวเิ คราะหโ์ บราณวตั ถทุ ฝ่ี งั รว่ มกับศพทแ่ี หล่งโบราณคดบี า้ นวงั ไฮ พบโบราณวตั ถปุ ะปนกัน ตั้งแต่เครื่องมือหินทีเป็นของสังคมด้ังเดิมจนถึงแก้วท่ีถือว่าเทคโนโลยีสูงกว่าท�ำให้สันนิษฐานได้ถึงโครงสร้างทางสังคม ที่มีการคลี่คลายผสมผสานจากลักษณะความเป็นแบบด้ังเดิมจนถึงรูปแบบสังคมท่ีมีความซับซ้อนขึ้นมีกลุ่มช่างฝีมือ เฉพาะทางมากขน้ึ โดยกลมุ่ ชนทีบ่ า้ นวงั ไฮคงเป็นกลุ่มชนด้งั เดมิ ทตี่ ้ังถ่ินฐานบรเิ วณฝ่งั ตะวนั ออกของแมน่ ้ำ� กวง นอก เหนอื ไปจากกลุ่มชนแถบดอยสเุ ทพ โดยกลุ่มแถบแมน่ ้ำ� กวงนี้คงอยูเ่ ป็นกลุม่ ริมน�ำ้ ต้งั แตต่ น้ น้�ำแถบอำ� เภอดอยสะเกด็ ถึงบา้ นยางทองใต้ ลงมายงั บา้ นสนั ปา่ คา่ อำ� เภอสนั กำ� แพง ทง้ั นที้ งั้ สามกลมุ่ นคี้ งเปน็ กลมุ่ รว่ มสมยั กนั ดงั พบหลกั ฐาน โบราณวตั ถสุ มั พนั ธก์ นั กลา่ วคอื ในชน้ั วฒั นธรรมแรกของบา้ นวงั ไฮพบภาชนะดนิ เผาเปน็ ชามกน้ กลมทานำ้� ดนิ สขี น้ แดง ซง่ึ เปน็ แบบทพี่ บรว่ มกบั โครงกระดกู ทแ่ี หลง่ โบราณคดบี า้ นยางทองใตแ้ ละแหลง่ โบราณคดบี า้ นสนั ปา่ คา่ และระบบความ เชอื่ เรอื่ งความตายกเ็ ปน็ ลกั ษณะของสงั คมดง้ั เดมิ เหมอื นกนั ไดแ้ ก่ การใสส่ ง่ิ ของฝงั รว่ มกบั ศพ ทศิ ทางการหนั ศรี ษะไปทาง เดยี วกนั คอื ทศิ ตะวนั ออก รวมถงึ การทำ� ลายสง่ิ ของทฝ่ี งั รว่ มกบั ศพ ทง้ั นบ้ี า้ นวงั ไฮเปน็ กลมุ่ ทร่ี บั รปู แบบวฒั นธรรมหรภิ ญุ ไชยมากกวา่ สองกลมุ่ แรก ซงึ่ คงเนอื่ งจากอยใู่ กลก้ บั เมอื งหรภิ ญุ ไชยมากกวา่ แหลง่ โบราณคดอี กี สองแหลง่

12

ปจั จยั สำ� คญั ทส่ี นบั สนนุ การเกดิ ชมุ ชนดง้ั เดมิ บรเิ วณลมุ่ แมน่ ำ�้ กวง ไดแ้ ก่ บรเิ วณนม้ี ลี กั ษณะภมู สิ ณั ฐาน ระยะหา่ งจากแหลง่ นำ้� ทเี่ หมาะสม เนอ่ื งจากแหลง่ นำ�้ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการดำ� รงชวี ติ ของผคู้ นทง้ั เปน็ แหลง่ อปุ โภค บรโิ ภค แหลง่ อาหาร การใช้ ประโยชนใ์ นการเกษตรกรรม และแหลง่ นำ�้ นำ� มาซงึ่ สภาพธรณวี ทิ ยา พชื พรรณทสี่ มบรู ณ์ และยงั เปน็ เสน้ ทางคมนาคมที่ ตดิ ตอ่ กบั ภายนอกไดส้ ะดวก ทงั้ ตดิ ตอ่ กบั ทร่ี าบลมุ่ เชยี งราย จนี พมา่ อนิ เดยี และทรี่ าบภาคกลางซง่ึ เปน็ แหลง่ วฒั นธรรม ทวารวดใี นภาคกลาง สง่ ผลใหช้ มุ ชนบรเิ วณแหลง่ โบราณคดบี า้ นวงั ไฮและชมุ ชนรมิ แมน่ ำ้� กวงซง่ึ มรี ปู แบบชมุ ชนเกษตรกรรม ตั้งถิ่นฐานถาวรสามารถมีพัฒนาการคล่ีคลายเข้าสู่สังคมสมัยประวัติศาสตร์ในระยะแรกเริ่มของพื้นที่ภาคเหนือของ ประเทศไทยได้

13

รูปที่ ๔ โบราณวตั ถทุ ่ีฝังร่วมกบั ศพทแ่ี หลง่ โบราณคดีบา้ นวงั ไฮ (ทม่ี า: https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/812744/)

๑.๔ แหลง่ โบราณคดปี ระตผู า อำ� เภอแมเ่ มาะ จังหวดั ลำ� ปาง

ภาพเขยี นสแี หง่ นเี้ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ โดย ร.อ. มโี ฉม ชเู กยี รติ นายทหารสงั กดั กองพนั ฝกึ รบพเิ ศษที่ ๓ ประตู ผา จากการฝกึ โรยตวั ลงมาจากหนา้ ผาแลว้ สงั เกตเหน็ ภาพเขยี นสแี ดงหลายภาพบรเิ วณหนา้ ผา จากนนั้ มกี รมศลิ ปากร นำ� โดย ชนิ ณวฒุ ิ ชลิ ยาลยั เขา้ มาทำ� การสำ� รวจ ขดุ คน้ ศกึ ษาในดา้ นตา่ งๆ ตอ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ มกี ารพบภาพเขยี นสกี ระจาย อยหู่ ลายกลมุ่ เปน็ ระยะๆ พบตงั้ แตภ่ าพทม่ี คี วามสงู อยใู่ นระดบั ประมาณเอวไปจนถงึ ระยะ ๑๐ เมตร จากการศกึ ษาของกรมศลิ ปากร พบวา่ ภาพทง้ั หมดมมี ากกวา่ ๑,๘๗๒ ภาพ โดยแบง่ ออกเปน็ ๗ กลมุ่ ตาม ลกั ษณะการเวา้ ของหนา้ ผา โดยแตล่ ะกลมุ่ ภาพมรี ายละเอยี ดดงั น้ี กลมุ่ ที่ ๑ ผาเลยี งผา ประกอบไปดว้ ยภาพเลยี งผา ววั เตา่ นก มา้ ปะปนกบั ภาพมอื ทงั้ แบบเงาทบึ และกง่ึ เงา ทบึ ท่ีมีการตกแตง่ ลวดลายภายในมือเป็นลายเสน้ แบบตา่ งๆ อีกทง้ั ยงั พบภาพเครื่องมอื เครอื่ งใช้ของมนษุ ยใ์ นยุคกอ่ น ประวัตศิ าสตร์ กลมุ่ ที่ ๒ ผานกยงู ประกอบไปด้วยภาพคนเพศชาย ภาพสัตวค์ ล้ายนกยงู ภาพสตั ว์เลือ้ ยคลาน ประเภท ตะกวด พังพอน กระรอก บา่ ง ภาพสญั ลกั ษณค์ ลา้ ยดอกไม้ ภาพววั ภาพท่ีเปน็ รปู ส่ีเหล่ียมและมีการตกแตง่ ภายใน พบภาพทมี่ ลี ักษณะคลา้ ยภาชนะทท่ี ำ� ด้วยโลหะ อีกท้งั ยงั พบภาพมอื แบบก่งึ เงาทบึ และการพน่ การวาดแบบอิสระ กลมุ่ ท่ี ๓ ผาววั ประกอบไปด้วยภาพเงาทึบและภาพโครงรา่ งของสตั ว์คล้ายววั กระจง เกง้ หรอื กวาง บาง ภาพเปน็ โครงรา่ งขนาดใหญข่ องสตั วม์ เี ขาคลา้ ยววั มภี าพมอื ประทบั และตกแตง่ ดว้ ยสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ดา้ นหนา้ ววั ปรากฏ ภาพคน ๗ คน ยนื รายลอ้ มอยู่ จงึ ทำ� ใหส้ นั นษิ ฐานไดว้ า่ พน้ื ทแ่ี หง่ นเี้ ปน็ แหลง่ ประกอบพธิ กี รรมฝงั ศพวาดภาพเขยี นสี กลมุ่ ที่ ๔ ผาเตน้ ระบำ� ประกอบไปดว้ ยภาพคน ๕ คน และสตั ว์ มคี นในภาพนงุ่ ผา้ ทรงกระบอกโปง่ พอง ถอื อาวธุ คลา้ ยธนู ดา้ นหลงั ของคนดงั กล่าวมีภาพคนอีก ๒ คน กำ� ลังเคล่อื นไหวกา้ วเท้าไปขา้ งหน้า และมีภาพเงาทบึ ของ วัวหันหน้าเข้าหากันในลักษณะต่อสู้และมีภาพบุคคลแสดงกิริยาเคล่ือนไหวในท่าวิ่งเข้ามาอยู่ระหว่างวัวท้ังสองตัว คล้ายกบั การห้ามวัว

14

กลุ่มท่ี ๕ ผาหนิ ตัง้ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วน โดยส่วนแรกจะตอ่ เนอื่ งกบั กลุ่มภาพที่ ๔ โดยปรากฏ เปน็ ภาพกล่มุ คน ๙ คน วาดแบบตดั ทอนส่วน ภาพสตั วค์ ลา้ ยเก้ง ภาพสัญลกั ษณ์ อกี ส่วนหน่งึ เปน็ ภาพท่แี สดงราย ละเอยี ดของบคุ คลนอนหนั ศีรษะไปทางทิศใต้ ร่างของบุคคลถูกวาดตามแนวขวางตลอดทงั้ ตัว และมีเครื่องหมาย กากบาททับไว้ในบริเวณบริเวณสว่ นทรวงอก ซง่ึ อาจหมายถงึ รา่ งของคนทีเ่ สยี ชวี ติ ไปแล้ว กลุ่มที่ ๖ ผานางกางแขน ปรากฏภาพบุคคลคลา้ ยสตรที มี่ ีส่วนทอ้ งคอ่ นขา้ งใหญ่ แขนท้งั สองขา้ งกางออก ไปด้านขางของลำ� ตวั ปลายแขนงอลง ในระดบั บนของกลุ่มภาพยังพบภาพคลา้ ยบุคคลทม่ี ีศีรษะกลม ช่วงล่างของ ศีรษะในระดบั หมู ตี ง่ิ ยื่นออกมาทงั้ ๒ ขา้ ง คลา้ ยหมวกปกี หนา แขนขนาดเล็กทง้ั ๒ ข้างกางออกตัง้ ฉากกับล�ำตัวทม่ี ี ส่วนทอ้ งขนาดใหญ่ มกี ารใช้เทคนิคการวาดภาพโครงร่างและใช้ลายเสน้ เลก็ ๆขดี ทับในบริเวณส่วนล�ำตวั ซ่ึงอาจ เปน็ การสือ่ ความหมายให้เหน็ รายละเอยี ดของขนสัตว์ กลมุ่ ที่ ๗ ผาลา่ สตั ว์ เปน็ ภาพกลุ่มสุดท้ายทพ่ี บ จากลักษณะเพงิ ผาท่ตี ัดตรง ทำ� ใหภ้ าพเขียนสีลบเลอื น ภาพที่ปรากฏเปน็ ภาพบุคคล ๒ คน น่งุ ผา้ ปลอ่ ยชายยาว บุคคลทางด้านขวาของภาพถอื อปุ กรณ์วงกลมลักษณะคล้าย หว่ ง แสดงการเคลอื่ นไหวคล้ายจะคล้องจบั เอาวัว ส่วนบคุ คลอีกคนหนง่ึ ถือวตั ถคุ ลา้ ยไม้ในลักษณะเงือ้ ง่า คล้ายอาการ ตีวัว ซงึ่ อาจแสดงถงึ กจิ กรรมการจบั หรือฝึกฝนสตั ว์ การเขียนเขียนด้วยสแี ดงทม่ี คี วามเขม้ จางของสตี า่ งกนั ในแตล่ ะภาพ สีแดงนา่ จะมาจากดนิ เทศ เพราะพบ หลักฐานจากการขุดค้นบรเิ วณเพิงผาใตภ้ าพเขยี นสกี ลุม่ ท่ี ๑ ทพ่ี บกอ้ นดนิ เทศมีรอ่ งรอยการขัดฝนจนเรียบ แหลง่ วตั ถดุ บิ ของดนิ เทศนา่ จะมาจากภายในพน้ื ท่ี เพราะในแอง่ ประตผู า โดยเฉพาะบรเิ วณเนนิ เขาตา่ งๆ พบกอ้ นดนิ เทศหรอื หนิ สแี ดงขนาดตา่ งๆกระจายอยทู่ ว่ั ไป อปุ กรณผ์ สมสแี ละใสส่ ี นา่ จะเปน็ เปลอื กไมห้ รอื ผลไม้ เชน่ กะลามะพรา้ ว นำ้� เตา้ กระบอกไมไ้ ผ่ หรอื อาจเปน็ ภาชนะดนิ เผา อปุ กรณร์ ะบายสี ภาพบางภาพมลี ายเสน้ ขนาดเลก็ มาก จงึ สนั นษิ ฐานไดว้ า่ นา่ จะใชพ้ กู่ นั วาด ซงึ่ พกู่ นั อาจทำ� จากกง่ิ ไมห้ รอื แทง่ ไมท้ บุ ปลายจนนมิ่ สามารถซมึ ซบั นำ�้ สไี ด้ หรอื อาจเปน็ ดอกหญา้ หรอื ขน สตั วห์ รอื อนื่ ๆ มดั รวมเปน็ จกุ สว่ นการระบายหรอื ลงสที บึ ของภาพแบบเงาทบึ อาจใชท้ ง้ั พกู่ นั หรอื นว้ิ มอื

15

รูปท่ี ๕ ภาพเขยี นสแี ดงบนเพงิ ผาที่ประตูผา ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ป็นรปู ฝ่ามอื สีแดง และที่สำ� คัญเห็นสตั ว์เล้ยี งหรือสตั ว์ปา่ ทีเ่ ปน็ รปู ควายหรอื ววั และกิจกรรมอืน่ ๆ

(ทม่ี า: https://๒.bp.blogspot.com/-FMi๙k๒_VURM/U๕FTkdsV๙CI/AAAAAAAAJSo/iLCtsNua๘_w/s๑๖๐๐/DSCN๙๔๐๘.JPG)