ม ลค าไม ได ใช non-use value เศรษฐศาสตร ค อ

ลำ� ดบั ขนั้ ตอนหลกั ๆ ของการใชป้ ระโยชนจ์ ากผลการศกึ ษาดา้ นการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรใ์ นดา้ นนโยบาย มดี งั น้ี (TEEB, 2010)

  1. ทำ� ความเขา้ ใจกับคณุ ประโยชนร์ ะบบนิเวศ (recognizing value) ทงั้ หมดทเ่ี กิดขนึ้ จากป่าพรุ ทัง้ ดา้ นชีวภาพกายภาพ สังคม และวฒั นธรรม เพอ่ื ให้ทกุ ฝา่ ยท่เี กย่ี วข้องตระหนักรู้และจดั ลำ� ดบั ความส�ำคญั รว่ มกนั
  1. ประเมนิ ในรปู มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ (demonstrating value) ของบรกิ ารทางนเิ วศทมี่ คี วามสำ� คญั ลำ� ดบั ตน้ ๆ ตอ่ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง โดยเลอื กเทคนิคการประเมินมูลคา่ ทเี่ หมาะสมกับวัตถุประสงคก์ ารใชป้ ระโยชนด์ ้านนโยบายต่อไป
  1. ใชป้ ระโยชนจ์ ากมลู คา่ ทป่ี ระเมนิ ได้ (capturing value) เพอื่ นำ� ไปออกแบบเครอ่ื งมอื หรอื กลไกในเชงิ นโยบาย เพอื่ นำ� ไปสกู่ าร จัดการระบบนิเวศอย่างยั่งยืน ในข้ันตอนของการออกแบบนโยบาย อยู่ภายใต้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ท่ีส�ำคัญ ได้แก่ หลกั ผู้ก่อมลพษิ หรอื ผสู้ รา้ งความเสียหายเป็นผ้จู ่าย (polluter or damager pay principle) หลักผู้ใชห้ รอื ได้รบั ประโยชน์ เป็นผู้จ่าย (user or beneficiary pay principle) และหลักผใู้ ห้บริการเปน็ ผ้รู ับ (provider receive principle)

กลา่ วโดยสรปุ เปา้ หมายของการใชป้ ระโยชนจ์ ากการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรท์ แี่ ตกตา่ งกนั ตอ้ งการขอ้ มลู และเทคนคิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั จึงเป็นเร่ืองค่อนข้างยากท่ีจะน�ำเสนอวิธีการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในรูปแบบท่ีมีรายละเอียดเฉพาะทาง คู่มือเล่มน้ีจึงมีการ นำ� เสนอรูปแบบการประเมินมลู ค่าทางเศรษฐศาสตรท์ ใี่ ชโ้ ดยท่วั ไปเพ่ือตอบคำ� ถามประเดน็ ท่รี ะบขุ ้างตน้

1.5 นยิ ามทส่ี ำ� คญั

1.5.1 คณุ ประโยชนร์ ะบบนเิ วศ

ภาพที่ 4 การจ�ำแนกบริการทางนเิ วศของปา่ พรุ

แหล่งเสบยี งหรอื ผลผลติ แหลง่ ควบคุมสภาพแวดล้อม แหล่งด�ำรงวัฒนธรรม (provisioning services) (regulating services) (cultural services)

ผลผลติ ทไ่ี ดจ้ ากปา่ พรุ เพอื่ บรโิ ภค อปุ โภค คณุ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากกระบวนการของระบบ คุณประโยชน์ที่เกิดขนึ้ เชงิ นามธรรม วตั ถุดิบเพ่อื สรา้ งผลผลติ (ยงั ชพี การคา้ ) นิเวศท่มี กี ารควบคุมกลไกตามธรรมชาติ • แหลง่ ศึกษา วจิ ยั สร้างองคค์ วามรู้ • แหลง่ เก็บหากระจูด • แหล่งนนั ทนาการ พักผอ่ นหย่อนใจ • แหลง่ หาปลา กบ เขียด ผกั พื้นบา้ น น้ำ� ผงึ้ • แหลง่ สะสมและดดู ซับกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ • แหลง่ ด�ำรงวัฒนธรรม ประเพณี อตั ลักษณ์ รงั ตอ่ • แหลง่ เตมิ น้ำ� ใต้ดนิ และแหลง่ กรองนำ�้ • แหล่งไมเ้ ชอื้ เพลงิ เผาถ่าน • แหลง่ กกั เกบ็ และระบายนำ้� ลดความเสย่ี งภยั แลง้ • แหล่งนำ�้ อปุ โภค บริโภค ทำ� เกษตร น้�ำดบิ นำ้� ทว่ ม เพ่ือทำ� ประปา • แหลง่ ท่ีอยูแ่ ละอาหารของสตั ว์ป่าและพืชพรรณ • ท่ีดินเพือ่ การเกษตร และปศุสตั ว์ ธรรมชาติ • แหลง่ ชว่ ยเพม่ิ ผลผลติ จากการผสมเกสรของนก ผงึ้ แมลง

แหลง่ คำ�้ จนุ ระบบ (supporting services)

ซง่ึ จ�ำเปน็ ส�ำหรับการเกิดก่อของบริการ ทั้งสามดา้ นข้างต้น

• แหลง่ ดำ� รงความหลากหลายทางชีวภาพ • แหล่งก�ำเนดิ พชื สตั ว์เฉพาะถิ่น • การสะสมอินทรยี ์และกอ่ เกดิ เป็นดินพรุ

10 |

บรกิ ารทางนิเวศ (ecosystem services) เป็นคุณประโยชนข์ องระบบนเิ วศทม่ี นษุ ย์ได้รบั ทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม แมเ้ รียกว่า “บริการ ทางนเิ วศ” หรอื “นเิ วศบรกิ าร” แตก่ ห็ มายรวมถงึ ผลผลติ หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องปา่ พรทุ ส่ี ามารถอปุ โภคหรอื บรโิ ภคไดโ้ ดยตรงหรอื เปน็ วตั ถดุ บิ ทน่ี ำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ อยใู่ นกลมุ่ บรกิ ารดา้ นการเปน็ แหลง่ เสบยี งหรอื ผลผลติ (provisioning services) สำ� หรบั บรกิ ารทางนเิ วศ ในส่วนท่ีมีความเป็นนามธรรม มีท้ังในรูปที่มนุษย์ได้รับประโยชน์โดยตรงจากการเข้าใช้ประโยชน์ อาทิ ด้านนันทนาการหรอื ศกึ ษาวจิ ยั รวมทง้ั การเปน็ แหลง่ สรา้ งอตั ลกั ษณข์ องทอ้ งถนิ่ อยใู่ นกลมุ่ บรกิ ารดา้ นการเปน็ แหลง่ ดำ� รงวฒั นธรรม (cultural services) บรกิ ารทางนเิ วศ หลายประการท่ีมนษุ ย์ได้รบั ประโยชน์โดยอ้อม ซึ่งเกิดจากกลไกทางธรรมชาตทิ ่ีเอื้อประโยชนต์ ่อมนษุ ย์ อาทิ เป็นแหล่งรกั ษาสมดุลของ นำ้� ใตด้ ิน สะสมและดดู ซับกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ เพ่ิมการผสมเกสรของผงึ้ และแมลง สำ� หรบั บริการทางนเิ วศอกี ประเภทคือ การเปน็ แหล่งค้�ำจุนระบบ (supporting services) ซึ่งเป็นบริการที่ก่อให้เกิดบริการทางนิเวศ 3 ประเภทข้างต้น อาทิ การสะสมอินทรีย์และ ก่อเกดิ เป็นดนิ พรุ การเปน็ แหล่งดำ� รงความหลากหลายทางชีวภาพ และการเป็นแหลง่ ก�ำเนดิ พชื และสัตว์เฉพาะถน่ิ สำ� หรบั คมู่ อื น้ี คำ� วา่ “บรกิ ารทางนเิ วศ” หรอื “นเิ วศบรกิ าร” หรอื “คณุ ประโยชนร์ ะบบนเิ วศ” นำ� มาใชใ้ นความหมายเดยี วกนั ซง่ึ หมายถงึ “ecosystem services” 1.5.2 มูลคา่ ทางเศรษฐศาสตรโ์ ดยรวม

ภาพท่ี 5 มูลคา่ ทางเศรษฐศาสตรข์ องบริการทางนเิ วศจากป่าพรุ

มูลค่าทางเศรษฐศาสตรโ์ ดยรวม

มลู ค่าที่เกดิ จากการใชป้ ระโยชน์ มูลคา่ ทเ่ี กิดจากการไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์

มลู คา่ เผอ่ื จะใช้ประโยชน์

มลู ค่าทเี่ กิดจาก มูลคา่ ทีเ่ กิดจาก มูลค่า มูลคา่ การใช้โดยตรง การใชโ้ ดยอ้อม เพือ่ การคงอยู่ เพ่อื ลกู หลาน

••• เกบ็ กระจูด • แหล่งเติมนำ้� ใต้ดนิ กรองนำ้� • แหลง่ ด�ำรงความหลากหลาย หาปลาและสัตวน์ ำ�้ ระบายน้�ำ ทางชวี ภาพ ของปา่ เช่น ผกั พน้ื บา้ น น�้ำผึ้ง • แหล่งลดความเสี่ยงภยั แลง้ • แหลง่ ทีอ่ ย่แู ละอาหารของสตั ว์ รงั ต่อ น�ำ้ ทว่ ม และพชื •••• แหล่งไม้เชอ้ื เพลิง เผาถา่ น • แหล่งผสมเกสรของผง้ึ •• แหลง่ กําเนดิ พชื สตั ว์เฉพาะถนิ่ ใชพ้ ื้นท่เี พ่อื การเกษตร ปศุสัตว์ แมลง นก มรดกทางธรรมชาติเพ่อื แหลง่ ศกึ ษาวจิ ยั พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ • แหลง่ สะสมและดดู ซบั กา๊ ซ CO2 ลูกหลาน แหลง่ น้ำ� ใช้ น้�ำเพอ่ื การเกษตร และแหล่งนำ�้ ดิบเพ่อื ทาํ ประปา

| 11

มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรโ์ ดยรวม (total economic value) จ�ำแนกไดเ้ ปน็ สามกลุ่มหลกั ไดแ้ ก่ • มลู ค่าทเ่ี กิดจากการใช้ประโยชน์ (use value) สามารถจ�ำแนกได้เปน็ สองประเภทคือ + มูลคา่ จากการใชโ้ ดยตรง (direct use value) มนุษย์ใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบนิเวศโดยตรง ไมว่ ่าจะเปน็ ในรูปผลผลติ หรือสินคา้ เพอ่ื การอปุ โภคและบรโิ ภค วัตถุดิบเพ่ือนำ� ไปสร้างผลผลิต หรือบรกิ ารที่สรา้ งความพงึ พอใจโดยตรง มูลค่า จากการใช้ประโยชน์โดยตรงจ�ำแนกเป็นมูลค่าท่ีเกิดจากการบริโภค (consumptive use) และมูลค่าท่ีไม่ได้เกิดจาก การบรโิ ภค (non-consumptive use) + มลู ค่าท่เี กิดจากการใชโ้ ดยอ้อม (indirect use value) มนุษย์ไมไ่ ด้ใช้ประโยชนจ์ ากระบบนเิ วศโดยตรง แต่ไดร้ ับการ เกือ้ หนุนจากกระบวนการทางนิเวศทีเ่ กิดขึ้น • มูลค่าเผ่ือจะใช้ประโยชน์ (option value) เป็นมูลค่าท่ีมนุษย์ให้กับระบบนิเวศเพราะเล็งเห็นความส�ำคัญของโอกาสท่ีจะสร้าง ประโยชน์แก่ตนเองในอนาคตจึงไม่ใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน สะท้อนผ่านค่าความยินดีที่จะจ่ายเพื่อให้แน่ใจได้ว่าบริการทาง นิเวศนน้ั ๆ ยงั คงอยู่เผื่อวา่ จะมโี อกาสใชป้ ระโยชนใ์ นอนาคต ถงึ แม้วา่ จะมีความไมแ่ นน่ อนเกิดขึน้ • มูลค่าจากการไม่ได้ใช้ประโยชน์ (non-use value) เป็นมูลค่าท่ีมนุษย์เห็นความส�ำคัญของระบบนิเวศและต้องการอนุรักษ์ โดยไม่ใช้ประโยชน์ จ�ำแนกไดส้ องประเภท คอื + มูลค่าเพื่อการคงอยู่ (existence value) เป็นมูลค่าท่ีเกิดจากการไม่ได้ใช้ประโยชน์ ด้วยเหตุผลที่มนุษย์ต้องการเห็น ระบบนิเวศและองค์ประกอบตา่ ง ๆ ดำ� รงอยู่ต่อไป + มูลค่าเพ่ือลูกหลาน (bequest value) เป็นมูลค่าที่เกิดจากการไม่ได้ใช้ประโยชน์ด้วยเหตุผลที่มนุษย์ต้องการให้เก็บ ระบบนิเวศไว้เพ่ือใหก้ บั ลกู หลานรนุ่ ตอ่ ๆ ไป

สำ� หรบั ระบบนเิ วศปา่ พรขุ องประเทศไทย คณุ ประโยชนข์ องระบบนเิ วศปา่ พรทุ เ่ี กดิ ขนึ้ ในสงั คมมหี ลากหลายและแตกตา่ งกนั ไปดงั ขา้ งตน้ แตค่ ณุ ประโยชน์ดา้ นใดจะมมี ากน้อยข้นึ อยกู่ บั คุณลกั ษณะดา้ นชวี ภาพและกายภาพ ตลอดจนเงอื่ นไขด้านสถาบัน สงั คมและวัฒนธรรม ที่ระบบนิเวศป่าพรุต้ังอยู่ ก่อนจะประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์จากบริการเชิงนิเวศของป่าพรุจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจ ในบรบิ ทดังกลา่ ว

12 |

1.5.3 ความเช่ือมโยงระหวา่ งบรกิ ารทางนเิ วศและมูลคา่ ทางเศรษฐศาสตร์

ตารางท่ี 2 ความเชอื่ มโยงระหวา่ งบรกิ ารทางนเิ วศและมลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรป์ ระเภทตา่ ง ๆ

บรกิ ารทางนเิ วศ มลู ค่าจากการใช้ มลู คา่ จากการใช้ มลู ค่าเผ่ือจะใช้ มูลค่าจากการไมไ่ ด้ แหลง่ เสบียงหรือผลผลิต ประโยชน์โดยตรง ประโยชน์โดยออ้ ม ใชป้ ระโยชน์

แหลง่ ควบคุมสภาพแวดลอ้ ม

แหลง่ ดำ� รงวฒั นธรรม มลู คา่ ที่เกดิ ขน้ึ ตามบรกิ ารทางนิเวศขา้ งตน้ แหลง่ ค้ำ� จนุ ระบบ

หมายเหตุ จ�ำนวนหรอื รายการของบริการทางนิเวศในดา้ นนน้ั = ปานกลาง = น้อยหรอื ไมห่ ลากหลาย

\= มากหรือหลากหลาย ทีม่ า TEEB (www.teebweb.org)

งานศึกษาด้านการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของบริการทางนิเวศส่วนใหญ่มักจะจ�ำแนกตามประเภทของมูลค่าทาง เศรษฐศาสตร์มากกว่าจะเป็นการจ�ำแนกตามประเภทของบริการทางนิเวศ ตารางข้างต้นช่วยแสดงให้เห็นความเช่ือมโยงระหว่างมูลค่า ทางเศรษฐศาสตรป์ ระเภทต่าง ๆ และบริการทางนเิ วศแต่ละดา้ น

| 13

สว่ นท่ี 2 ความรูเ้ บื้องตน้ ดา้ นการประเมนิ มลู ค่า ทางเศรษฐศาสตร์

14 |

เนอื้ หาในสว่ นนม้ี เี ปา้ หมายเพอ่ื อธบิ ายประเดน็ ทางเศรษฐศาสตรพ์ นื้ ฐานทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ ประกอบดว้ ย นยิ ามและความหมายของมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ ความแตกต่างระหวา่ งมลู ค่ารวม มูลค่าเฉลี่ย และมลู คา่ ส่วนเพิม่ แนวคิดเร่อื งมลู ค่า ปจั จบุ นั รวมทงั้ แนวคดิ เรอื่ งความยนิ ดจี า่ ยและความยนิ ดรี บั (การชดเชย) ตลอดจนเกณฑท์ างเศรษฐศาสตรท์ ใี่ ชเ้ พอื่ ประกอบการตดั สนิ ใจ เชิงนโยบาย

2.1 มลู ค่าทางเศรษฐศาสตร์

ภาพท่ี 6 มลู ค่าของสินค้าและบรกิ ารกรณีมีราคาและไม่มรี าคาในตลาด

ราคาปลา (บาท/กโิ ลกรัม) ความยินดจี ่ายสว่ นเพมิ่ หรอื มลู คา่ ส่วนเพิม่ (บาท/ไร)่

อุปทาน อุปสงคข์ องการอนรุ ักษป์ า่ พรุ เพ่ือคณุ ประโยชน์โดยอ้อม เชน่ แหลง่ ผสมเกสรของผ้งึ และแมลง 100 เพาะพนั ธุส์ ตั วน์ ้ำ� และด�ำรงความ หลากหลายทางชวี ภาพ ในตรลาคาดา 80

ปริมาณในตลาด อุปสงค์ ปลา (กโิ ลกรมั ) 10 พ้นื ทป่ี า่ พรุ (ไร)่ 200 800 1,500 เมอ่ื สนิ คา้ และบรกิ ารมรี าคาในตลาด เมือ่ (สนิ ค้าและ) บรกิ ารไม่มรี าคาในตลาด

ในทางเศรษฐศาสตร์ “มูลค่าของส่ิงของหรือสินค้าและบริการ” คือมาตรวัดทางการเงินเพื่อระบุหรือแสดงความส�ำคัญของสิ่งดังกล่าว ที่มีต่อมนุษย์ ซ่ึงการท่ีมนุษย์ให้ค่า “ความส�ำคัญ” ต่อสินค้าและบริการนั้น ๆ อาจมาจากเหตุผลใดเหตุผลหน่ึงหรือหลายเหตุผล อาทิ เพราะมีความส�ำคัญต่อจิตใจ หรือเพราะมีเป็นจ�ำนวนน้อยซึ่งสะท้อนความหายากท่ีเกิดข้ึน เพราะมีต้นทุนในการผลิตที่สูง ซึ่งสะท้อน ความยากง่ายของการเกิดหรือได้สิ่งน้ัน หรือเพราะมนุษย์มีความจ�ำเป็นต้องน�ำมาใช้ประโยชน์ หรือจ�ำเป็นต้องมีอยู่หากไม่มีจะท�ำให้ ระบบนิเวศเสียสมดลุ สร้างความเดือดรอ้ นต่อมนษุ ย์ เปน็ ต้น โดยทั่วไปมูลค่ามักแสดงถึงข้อตกลงที่สะท้อนความพึงพอใจของท้ังฝ่ายผู้ให้บริการหรือผู้ขายสินค้า (ด้านอุปทาน) และฝ่ายผู้รับบริการ หรือผู้ซื้อสินค้า (ด้านอุปสงค์) ซ่ึงมักปรากฏให้เห็นผ่าน “ราคาท่ีซื้อขายในท้องตลาด’’ แต่ถ้าเป็นสิ่งของ (ซ่ึงอาจอยู่ในรูปวัตถุดิบหรือ ผลิตภัณฑ์) และบริการท่ีสังคมได้รับประโยชน์จากระบบนิเวศทางธรรมชาติ มักจะไม่ปรากฏมูลค่าหรือราคาท่ีซื้อขายในท้องตลาด แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ ไมม่ รี าคา หากแต่ “มลู คา่ ” ทเี่ กดิ ขนึ้ สะทอ้ นความพงึ พอใจของสงั คมซง่ึ เปน็ ฝา่ ยผทู้ ไ่ี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากระบบนเิ วศ ในรปู ของ “ความยนิ ดีจ่าย (willingness to pay)” ในแต่ละหน่วยที่ได้รบั ของสินคา้ และบริการนั้น ๆ หรืออยู่ในรูป “ความยนิ ดรี บั การ ชดเชย (willingness to accept compensation)” เมอ่ื ตอ้ งสญู เสยี สทิ ธจิ ากการใชป้ ระโยชนจ์ ากสง่ิ ของหรอื บรกิ ารจากธรรมชาตทิ เ่ี คย ได้รบั ประโยชน์ดงั กล่าว

| 15

หากระบบนเิ วศปา่ พรเุ ปรยี บเสมอื นโรงงานหรอื ระบบสาธารณปู โภคทางธรรมชาตขิ องสงั คม (natural infrastructure) ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ ตา่ ง ๆ ตามสภาพ เงอ่ื นไข บทบาทหนา้ ทแ่ี ละกระบวนการทำ� งานตามธรรมชาตอิ นั เปน็ คณุ ลกั ษณะเฉพาะของระบบนเิ วศนน้ั ๆ ทมี่ าจาก ทุนทางธรรมชาติ (natural capital) ท่ีมีอยู่ซึ่งเปรียบเสมือนวัตถุดิบหรือองค์ประกอบหลักในการผลิตหรือก่อให้เกิดผลงานซึ่งเรียกว่า “บริการทางนิเวศ” ทั้งท่ีเป็นรูปธรรมจับต้องได้หรือนามธรรมสังเกตได้ สร้างประโยชน์ต่อสังคมให้เกิดความอยู่ดีมีสุข และเป็นมูลค่าท่ี เกิดขึ้นต่อมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นมูลค่าทางจิตใจ มูลค่าทางนิเวศ เป็นต้น และส่วนหนึ่งก็คือมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของบริการทางนิเวศ ในดา้ นต่าง ๆ ที่เกดิ กับผไู้ ดร้ ับประโยชน์กลุ่มต่าง ๆ

ภาพท่ี 7 ความเชื่อมโยงจากต้นทางของระบบนเิ วศไปจนถงึ ปลายทางของการประเมินมลู ค่าบริการทางนิเวศ

โครงสร้าง องคป์ ระกอบ บรกิ าร ประโยชน์ มูลคา่ ของ สถานภาพและ ต่าง ๆ ทางนเิ วศ ท่ีเกิดข้ึน บรกิ ารทางนิเวศ ลักษณะทาง จากป่าพรุ ตอ่ สงั คม ชีวกายภาพ กระบวนการ สรา้ งความ ทเี่ กิดขึน้ กับ และการ อยดู่ มี สี ุข มนษุ ย์ ของป่าพรุ ท�ำหนา้ ท่ี

ตามธรรมชาติ

มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของบริการจากป่าพรุเปรียบเสมือนเป็นผลงานจากธรรมชาติในข้ันตอนสุดท้ายท่ีมีความเช่ือมโยงต่อมนุษย์ในรูป คุณประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ ในการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์จากระบบนิเวศป่าพรุจึงประเมินจากมนุษย์ ซง่ึ อยู่ในฐานะเปน็ ผ้ไู ด้รับประโยชน์ และประเมินจากผลงานข้นั สดุ ท้ายของธรรมชาติที่สร้างประโยชนต์ ่อมนษุ ย์ จะไม่ประเมินมูลค่าทาง เศรษฐศาสตรจ์ ากการทำ� หนา้ ทตี่ ามกระบวนการทางธรรมชาตขิ องระบบนเิ วศ ซง่ึ เปน็ ผลงานขนั้ กลาง มฉิ ะนน้ั จะเปน็ การประเมนิ ซำ้� ซอ้ น หรอื ที่เรยี กวา่ การนับซำ้� (double counting) ซึง่ เป็นขอ้ ท่คี วรระวังในงานด้านการประเมนิ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ เพอ่ื หลกี เลย่ี งการประเมนิ ซำ�้ ซอ้ นหรอื นบั ซำ้� เชน่ บรกิ ารทางนเิ วศของปา่ พรจุ ากการเปน็ แหลง่ กกั เกบ็ นำ�้ ของปา่ พรุ ควรจะประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ด้านการใช้ประโยชน์โดยตรงจากน�้ำในป่าพรุและมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ด้านการใช้ประโยชน์โดยอ้อมจากบริการ ดา้ นการชว่ ยลดความเสยี่ งเรอื่ งนำ�้ ทว่ มและภยั แลง้ กลา่ วคอื ควรจะประเมนิ จากผลงานขนั้ สดุ ทา้ ยเพอ่ื หลกี เลย่ี งความซำ�้ ซอ้ น ซงึ่ หมายถงึ การประเมินมูลค่าจากรายการสองส่วนหลังซึ่งอยู่ในรูปสินค้าและบริการที่มนุษย์ได้รับประโยชน์ อีกตัวอย่างของการประเมินซ�้ำซ้อน หรอื การนบั ซำ้� กค็ อื ไมค่ วรประเมนิ มลู คา่ จากการเปน็ แหลง่ สะสมทบั ถมของอนิ ทรยี วตั ถหุ รอื แหลง่ กกั เกบ็ คารบ์ อนของปา่ พรุ แตป่ ระเมนิ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์จากการดูดซับหรือการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพ่ือหลีกเลี่ยงการประเมินซ้�ำซ้อนหรือการนับซ�้ำ กลา่ วคอื ควรประเมนิ มูลคา่ ทางเศรษฐศาสตร์จากบริการทางนิเวศในรปู การเปล่ยี นแปลงต่อหนว่ ยเวลา (ในรปู ของ flow) ไมใ่ ช่ประเมนิ จากบรกิ ารทางนเิ วศทม่ี อี ยู่ (ในรูปของ stock) เปน็ ตน้

16 |

2.1.1 มลู ค่าในรูปต่าง ๆ

ภาพท่ี 8 มูลคา่ รวม มลู คา่ เฉลี่ย และมลู ค่าสว่ นเพ่มิ

การผสมเกสรของแมลง อากาศบริสุทธิ์ มลู คา่ รวม (บาท) แหลงรายได • ปา่ พรคุ วนเครง็ สรา้ งคณุ ประโยชนเ์ พอื่ รายไดแ้ ละการดำ� รงชพี ตอ่ ชมุ ชนคดิ เปน็ มลู คา่ รวมปลี ะกบี่ าท แหลงเรยี นรูวัฒนธรรม ความหลากหลาย • การจดั การระบบนำ้� เพอื่ ฟน้ื ฟปู า่ พรจุ ำ� นวน 200 ไร่ กอ่ ใหเ้ กดิ ภูมิปญ ญา และทองเทย่ี ว ทางชวี ภาพ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์โดยรวมเป็นมูลค่ากี่บาทมูลค่าเฉลี่ย (บาทตอ่ หนว่ ย) แหลงรายได แหลงอาหาร ความหลากหลาย •กลมุ่ เกบ็ หากระจดู สามารถสรา้ งรายไดจ้ ากพรเุ ฉลยี่ ปลี ะกบี่ าท ของชุมชน ของชุมชน ทางชีวภาพ ตอ่ ครวั เรอื น แหลงรายได • การจัดการระบบน�้ำเพ่ือฟื้นฟูป่าพรุ ก่อให้เกิดมูลค่าทาง จากการเล้ียงสัตว การควบคุมสภาพแวดลอม เศรษฐศาสตร์เพมิ่ ขนึ้ เปน็ มลู คา่ เฉลย่ี กบี่ าทตอ่ ไรม่ ลู คา่ สว่ นเพมิ่ แหลง อาหารและวตั ถุดบิ (บาทตอ่ หนว่ ย) แหลง สะสมคารบอน แหลง รกั ษาสมดุล • การจัดการระบบน้�ำเพื่อฟื้นฟูป่าพรุ ก่อให้เกิดมูลค่าทาง เพอื่ ลดภาวะโลกรอ น แหลงเรยี นรูและวัฒนธรรม เศรษฐศาสตรเ์ พมิ่ ขนึ้ กบ่ี าทตอ่ เซนตเิ มตรของระดบั นำ้� ทเี่ พมิ่ ขน้ึ • ระดับน�้ำแต่ละเซนติเมตรท�ำให้ป่าพรุกักเก็บคาร์บอนได้เป็น แหลง น้ำดมื่ น้ำใช มลู คา่ กบี่ าทตอ่ เซนตเิ มตร รักษาระดับนำ้ ใตด นิ

ในทางเศรษฐศาสตร์ ค�ำว่ามูลค่าโดยรวม (total value) มูลค่าเฉล่ีย (average value) หรือมูลค่าส่วนเพิ่ม (marginal value) น้ัน มคี วามหมายแตกตา่ งกันซึง่ นำ� ไปสู่แนวทางในการใช้ประโยชน์เชงิ วิชาการและนโยบายท่ีแตกตา่ งกนั มลู ค่าโดยรวม (total value) ของบริการจากระบบนิเวศหมายถงึ คุณประโยชน์ทไี่ ด้รับโดยรวมจากบริการทางนิเวศนั้น ๆ การอธบิ ายถงึ มูลค่าโดยรวมโดยยังไมไ่ ดห้ กั ต้นทนุ ทเี่ กดิ จากการใช้ประโยชน์ หรือทเ่ี รียกว่ามูลค่ารวม (total value หรือ gross value) นน้ั ถอื วา่ ยงั ไมถ่ กู ตอ้ งสำ� หรบั การประเมนิ “มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร”์ จำ� เปน็ ตอ้ งคำ� นวณในรปู มลู คา่ สทุ ธิ (net value) กลา่ วคอื ตอ้ งหกั ตน้ ทนุ ในการใช้ ประโยชน์เสมอหน่วยวดั ที่นยิ มใชค้ ือบาทต่อปี ตวั อยา่ งการอธบิ ายถงึ คณุ ประโยชนข์ องบรกิ ารทางนเิ วศจากปา่ พรดุ า้ นการเปน็ แหลง่ จบั สตั วน์ ำ้� ของชมุ ชน ทพี่ บเหน็ โดยทวั่ ไปมกั คำ� นวณ ในรูปงา่ ย ๆ ทีเ่ รียกวา่ มลู คา่ รวม หรือ gross value ซึง่ หาจากมูลคา่ ของสัตวน์ �้ำท้งั หมดท่ชี มุ ชนจบั ได้ตอ่ ปี โดยน�ำปริมาณการจับสัตว์นำ้� มาคูณกบั ราคาของสตั ว์นำ้� เพ่อื แสดงมลู ค่ารวม แมว้ า่ จะมปี ระโยชนใ์ นระดับหนึ่งเพอื่ ชีใ้ หเ้ ห็นถึงความส�ำคัญของระบบนิเวศ แตก่ ย็ งั ไมใ่ ช่ การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ เพราะเป็นมูลค่ารวมท่ียังไม่ได้หักต้นทุนที่ใช้ในการจับสัตว์น้�ำ ทั้งที่เป็นตัวเงิน เช่น ค่าน�้ำมัน ค่าอุปกรณ์ เป็นต้น และไม่เปน็ ตัวเงินเชน่ ค่าแรงงานของตัวเอง เป็นต้น แต่จะถอื วา่ เปน็ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ กต็ อ่ เมือ่

• คำ� นวณอยใู่ นรปู มูลค่าโดยรวมสทุ ธิ (net value or total value net of cost) โดยหักต้นทนุ ที่ใชใ้ นการจบั สัตว์น�ำ้ • ค�ำนวณจากราคาคูณด้วยปริมาณสัตว์น�้ำท่ีจับได้ของแต่ละชนิด ไม่ใช่มูลค่าเฉพาะท่ีจ�ำหน่ายได้เท่านั้น กล่าวได้ว่าไม่ใช่รายได้

จากการจ�ำหนา่ ย • หากไมม่ รี าคาตลาดเพอ่ื การประเมนิ การใชป้ ระโยชนด์ งั กลา่ ว มลู คา่ รวมกค็ อื คา่ ความยนิ ดจี า่ ยโดยรวมของผไู้ ดร้ บั ประโยชนท์ มี่ ี

ตอ่ บริการทางนเิ วศดังกล่าว

| 17

มลู คา่ เฉลยี่ (average value) ของบรกิ ารทางนเิ วศสามารถคำ� นวณไดจ้ ากมลู คา่ รวมหารดว้ ยจำ� นวนหรอื ปรมิ าณบรกิ ารทผี่ ลติ ได้ หรอื จำ� นวน ผู้ไดร้ บั ประโยชน์ หน่วยวดั ทีน่ ยิ มใช้คอื บาทต่อครวั เรอื น บาทตอ่ ลูกบาศก์เมตร หรอื บาทต่อไร่ มลู คา่ สว่ นเพมิ่ (marginal value) ของบรกิ ารทางนเิ วศ เปน็ มลู คา่ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ เมอ่ื จำ� นวนหรอื ปรมิ าณของบรกิ ารเพม่ิ ขนึ้ แตล่ ะหนว่ ย หากการ ท�ำงานของระบบตลาดเป็นไปอย่างสมบูรณ์ไม่บิดเบือน มูลค่าส่วนเพิ่มของผลผลิตจากป่าพรุก็คือราคาของผลผลิตนั่นเอง เช่น ในช่วง น้�ำหลากสามารถจับปลาได้มาก มูลค่าส่วนเพิ่มของปลาหรือราคาก็จะลดลงเมื่อเทียบกับช่วงท่ีสามารถจับปลาได้น้อย แม้ว่ามูลค่าเฉลี่ย และมูลค่าส่วนเพิ่มจะมีหน่วยวัดท่ีคล้ายคลึงกัน เช่น บาทต่อไร่ หรือบาทต่อลูกบาศก์เมตร แต่ก็มีความหมายไม่เหมือนกันเสียทีเดียว อยา่ งไรกต็ าม หากการวเิ คราะหใ์ นรปู ผลประโยชนห์ รอื มลู คา่ สว่ นเพม่ิ ไมส่ ามารถกระทำ� ได้ กส็ ามารถนำ� ผลประโยชนเ์ ฉลยี่ หรอื มลู คา่ เฉลย่ี ตอ่ หนว่ ยมาใชเ้ พอื่ ประมาณการไดเ้ ชน่ กนั ผลประโยชนเ์ ฉลยี่ จะอยใู่ นรปู ผลประโยชนท์ ห่ี กั ตน้ ทนุ เฉลย่ี ตอ่ หนว่ ยแลว้ หรอื เรยี กวา่ ผลประโยชน์ สทุ ธิเฉลยี่ มูลค่าปัจจุบัน (present value) นักเศรษฐศาสตร์พิจารณาผลได้และผลเสีย (gain and loss) จากการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรม ซ่ึงมักเกิดขึ้นพร้อมกันหรือต่างช่วงเวลากัน ให้เป็นหน่วยวัดเดียวกันในรูปตัวเงินหรือมูลค่าผลประโยชน์ (benefit) และต้นทุน (cost) ตามลำ� ดบั โดยปรบั คา่ ใหอ้ ยใู่ นฐานของเวลาเดยี วกนั ซง่ึ เปน็ เวลาเรมิ่ ตน้ เพอ่ื สามารถนำ� มาเปรยี บเทยี บกนั ได้ โดยใชก้ ารคดิ ลด (discounting) เปน็ ตวั ปรบั คา่ เพอ่ื ใหอ้ ยใู่ นรปู ของมลู คา่ ปจั จบุ นั (present value, PV) สมมตวิ า่ ผปู้ ระเมนิ สามารถคาดคะเนหรอื ทราบถงึ มลู คา่ ในอนาคต (future value, FV) ของผลไดห้ รอื ผลเสยี ท่เี กดิ ขนึ้ ในอนาคต (เช่นในเวลาท่ี t) สามารถคำ� นวณมูลค่าปจั จุบนั ตามสตู ร ดังนี้

โดย r คอื อตั ราคดิ ลด (discount rate) ซง่ึ เปน็ อตั ราทส่ี ะทอ้ นการลดลงของมลู คา่ เงนิ ในอนาคตทจี่ ะไดร้ บั โดยเปน็ อตั ราทใ่ี ชค้ ดิ ลดรายได้ ในอนาคต ให้กลับมาอยูใ่ นรปู มูลคา่ ปจั จบุ นั (present value) อัตราคิดลดสะท้อนต้นทนุ คา่ เสยี โอกาส (opportunity cost) ของเงิน ถ้าจะต้องให้แลกว่าจะรับเงินตอนนี้หรือรับในอนาคตอีก 1 ปีข้างหน้า ค่า r ท่ีเป็นบวกแสดงถึงการให้ความส�ำคัญกับมูลค่าที่เกิดข้ึน ในปัจจุบนั มากกวา่ อนาคต และค่า r = 0 แสดงถงึ การให้ความส�ำคญั กบั อนาคตและปัจจุบันเท่ากนั 2.1.2 ความยินดีจ่ายและความยินดีรับการชดเชย บริการของระบบนิเวศทางธรรมชาติหรือคุณภาพส่ิงแวดล้อมซึ่งเป็นที่ทราบดีว่ามีความเป็นนามธรรม บางคร้ังไม่สามารถมองเห็นหรือ จบั ตอ้ งได้ ไมม่ รี าคาหรอื มลู คา่ ซอื้ ขายปรากฏในตลาด ตา่ งจากสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคทว่ั ไป ตวั วดั มลู คา่ ของสง่ิ ดงั กลา่ วทมี่ กั ไดย้ นิ โดยทว่ั ไป คอื ความยินดีจ่าย (willingness to pay) และความยินดรี ับการชดเชย (willingness to accept compensation) ซึง่ สะทอ้ นมูลค่าท่ี ระบุหรือกำ� หนดโดยผ้ทู ่ไี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากบรกิ ารของระบบนิเวศ ซึ่งมปี ระเดน็ ในการอธิบายมลู คา่ ไดแ้ ก่

• ความยนิ ดีจา่ ยเพ่ือประกันวา่ เราจะไดค้ ุณภาพสิง่ แวดลอ้ มทดี่ ีข้นึ • ความยินดจี า่ ยเพอ่ื หลีกเลี่ยงการสูญเสยี คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มทดี่ ขี ึ้น • ความยนิ ดีรับการชดเชยเพ่ือสละการที่จะได้คุณภาพสง่ิ แวดล้อมท่ีดีข้นึ • ความยินดรี บั การชดเชยเพือ่ ยินยอมอยู่ในสภาพของสิ่งแวดลอ้ มเดิมท่ีไม่ดี แนวคดิ ดา้ นการประเมนิ คา่ “ความยนิ ดจี า่ ย” หรอื “ความยนิ ดรี บั การชดเชย” สำ� หรบั มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรม์ หี ลกั การเพอื่ นำ� ไปใชง้ า่ ย ๆ คือ เมื่อคุณประโยชน์หรือผลกระทบท่ีเกิดขึ้นมีความเป็นนามธรรมและคุณลักษณะของความเป็นสาธารณะ (เม่ือคนหน่ึงได้รับผลจาก การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมแล้วไม่เป็นเหตุให้คนอื่น ๆ จะได้รับผลมากข้ึนหรือน้อยลง) และไม่มีมูลค่าปรากฎในตลาด หรือแม้ว่าจะมี ราคาปรากฎแต่ก็ไม่ได้สะท้อนมูลค่าที่แท้จริง แต่ถ้าหากว่าคุณประโยชน์ที่เกิดขึ้นนั้นอยู่ในรูปส่ิงของ ซึ่งสามารถจับต้องได้และมีราคา ปรากฏในตลาด มีข้อแนะน�ำว่าควรใช้ “ราคาตลาด” เป็นฐานค�ำนวณในการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์

18 |

โดยท่ัวไปแนวค�ำถามด้านความยินดีรับการชดเชยมักไม่เป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายเท่ากับแนวค�ำถามด้านความยินดีจ่าย สาเหตุหน่ึง เปน็ เพราะคา่ ทไ่ี ดร้ บั คำ� ตอบอาจสงู จนประเมนิ ไมไ่ ด้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การจะเลอื กใชแ้ นวคำ� ถามความยนิ ดจี า่ ยหรอื ความยนิ ดรี บั การชดเชย เปน็ ประเดน็ เรอ่ื ง “สทิ ธ”ิ หากคณุ ประโยชนห์ รอื ผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการกระทำ� ตามสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลและเปน็ เรอ่ื งถกู กฎหมาย กค็ วรใช้ แนวคำ� ถามความยนิ ดรี บั การชดเชยนา่ จะเหมาะสม ตวั อยา่ งเชน่ การปลดปลอ่ ยคารบ์ อนในทด่ี นิ สว่ นบคุ คลทมี่ สี ภาพเป็นดินพรุด้วยการ ระบายนำ้� ออกปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ขี อ้ หา้ มตามกฎหมาย ผปู้ ระเมนิ สามารถสรา้ งแนวคำ� ถามทส่ี ะทอ้ นคา่ ความยนิ ดรี บั การชดเชยเพอื่ ลดกจิ กรรม การปลดปล่อยคาร์บอน ส�ำหรับใช้ในการประเมินมูลค่าผลประโยชน์จากการอนุรักษ์ดินพรุ น่าจะเหมาะสมกว่าแนวค�ำถามท่ีสะท้อน คา่ ความยนิ ดจี า่ ยแตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ผปู้ ระเมนิ อาจจะเผชญิ ปญั หาการตอบปฏเิ สธการรบั การชดเชย หรอื ปญั หาการใหค้ า่ ความยนิ ดรี บั การ ชดเชยที่สงู เกนิ ไป ซงึ่ เป็นเหตุผลหนึ่งทท่ี �ำใหก้ ารใชแ้ นวคำ� ถามความยินดีรบั การชดเชยไมค่ ่อยได้รับความนิยม

2.2 ขั้นตอนในการประเมินมลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์

ภาพท่ี 9 ข้นั ตอนในการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์

Monetary ประเมนิ เปน็ ตัวเงินได้: นกั วจิ ัยสามารถ valuation ประเมินมลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้ Quantitative assessment ชั่งตวงวดั ได:้ ผู้ได้รับประโยชน์สามารถ Qualitative ระบขุ นาดหรือปริมาณของผลผลติ review หรือบริการทางนเิ วศได้ สงั เกตได้: ผู้ได้รบั ประโยชน์สามารถ

สังเกตได้วา่ ไดร้ ับประโยชนจ์ ากผลผลติ หรือบรกิ ารทางนิเวศในรปู แบบใด

ระบุได:้ แจกแจงรายการคุณประโยชน์ ที่นา่ จะเกดิ ขึน้ จากระบบนเิ วศ และผู้ทีอ่ าจไดร้ บั ประโยชน์

| 19

ถา้ จำ� แนกการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปา่ พรเุ พอ่ื การใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ นโยบาย สามารถอธบิ ายไดส้ องบรบิ ท กลา่ วคอื บรบิ ทของมูลคา่ ท่ไี ด้จากการเป็นปา่ พรุ และบรบิ ทของมลู ค่าท่ีเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบตั ิของป่าพรุ ซึ่งจ�ำแนกได้เป็น

• การประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรเ์ พอ่ื ทราบคณุ ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากปา่ พรุ ซง่ึ จะประเมนิ มลู คา่ ในภาพรวมจากการมอี ยขู่ องปา่ พรุ หรือมูลค่าท่ีสังคมต้องสูญเสียป่าพรุท้ังผืน ซ่ึงมักจะเป็นตัวเลขมูลค่าท่ีมหาศาล ซึ่งผู้ศึกษามักระบุหน่วยวัดในรูปบาทต่อปี กรณีเช่นนีผ้ ู้ศกึ ษาจำ� เป็นต้องมคี วามระมดั ระวงั หากตอ้ งการจะน�ำมาใชป้ ระโยชนใ์ นรปู บาทต่อไรต่ ่อปี • การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เพื่อทราบผลกระทบจากกิจกรรมที่ท�ำให้ป่าพรุเส่ือมโทรมหรือผลประโยชน์จากการฟื้นฟู ป่าพรุ โดยประเมนิ มลู ค่าของบรกิ ารทางนเิ วศส่วนท่เี ปล่ียนแปลงเพือ่ เช่อื มโยงกับนโยบาย ซง่ึ มคี วามชัดเจนในการใช้ประโยชน์ เชิงนโยบายมากกวา่ แนวทางแรก โดยมเี ส้นทางการเปล่ียนแปลง ดังนี้

ภาพที่ 10 เส้นทางการประเมนิ มลู ค่าทางเศรษฐศาสตรเ์ ม่ือบริการทางนเิ วศมกี ารเปล่ยี นแปลง

ผลของนโยบาย การเปลี่ยนแปลง ผลต่อความ มูลค่าทาง ที่มตี ่อระบบนเิ วศ ในบรกิ าร อยู่ดมี ีสุข เศรษฐศาสตร์ ทางนิเวศ ของมนษุ ย์ ของบรกิ ารทางนเิ วศ ป่าพรุ ที่เปลี่ยนแปลง

2.2.1 การประเมินมลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ของคุณประโยชนท์ ่ไี ด้จากปา่ พรุ คมู่ อื เลม่ นอ้ี า้ งองิ ขน้ั ตอนในการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรข์ องคณุ ประโยชนร์ ะบบนเิ วศจาก TEEB initiative (The Economics of Ecosystems and Biodiversity; www.teebweb.org) สรปุ ขั้นตอนของการประเมนิ มลู คา่ ของคณุ ประโยชนท์ างนเิ วศทไ่ี ดจ้ ากป่าพรุ ประกอบดว้ ย

1. กำ� หนดประเดน็ เชิงนโยบายร่วมกับผมู้ ีส่วนไดเ้ สยี ว่าต้องการประเมนิ มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เพือ่ วัตถปุ ระสงคใ์ ด โดยคำ� นงึ ว่า ถ้าวัตถุประสงค์ในการใชป้ ระโยชนต์ า่ งกัน ตอ้ งการวิธีการประเมนิ มูลคา่ ทางเศรษฐศาสตรต์ ่างกัน

2. ส�ำรวจและระบุบริการของระบบนิเวศที่ต้องการประเมินมูลค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย แม้ว่าบริการทางนิเวศของป่าพรุจะมี หลากหลายประการ แตเ่ ปน็ ไปไมไ่ ดท้ จี่ ะสามารถหามลู คา่ ทางเศรษฐศาสตรไ์ ดท้ งั้ หมด จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ร่วมกับผ้มู สี ่วนได้เสยี และเลือกประเมนิ มูลค่าทางเศรษฐศาสตรส์ ำ� หรบั บริการทางนิเวศทมี่ คี วามส�ำคัญในล�ำดับตน้ ๆ

3. ระบขุ อ้ มลู ทต่ี อ้ งการใชใ้ นการประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ และเลอื กวธิ กี ารประเมนิ ซงึ่ อยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ ผปู้ ระเมนิ ตอ้ งทราบวา่ ระบบนเิ วศมบี รกิ ารทางนเิ วศหลกั ๆ ในดา้ นใดบา้ ง หากมกี ารเปลย่ี นแปลงหรอื มแี นวโนม้ ทจี่ ะเปลยี่ นแปลง จะมกี ารเปลยี่ นแปลง ของบรกิ ารระบบนเิ วศอยา่ งไร ในดา้ นใดเปน็ หลกั และผลทเี่ กดิ ขนึ้ ตกอยกู่ บั ใคร กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในดา้ นมลู คา่ อยา่ งไร จากนน้ั จึงเลอื กวิธกี ารประเมนิ มลู ค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่เหมาะสม

20 |

2.2.2 การประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์เพอ่ื ทราบผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง

ภาพท่ี 11 ข้นั ตอนการประเมนิ มูลคา่ ทางเศรษฐศาสตรเ์ มอ่ื มีการเปล่ียนแปลงบรกิ ารทางนิเวศ

1 2 3 4 5

ก�ำหนดขอบเขต กลัน่ กรอง ประเมนิ มูลค่า วิเคราะหแ์ ละ ก�ำหนด ของโครงการ ผลกระทบ ทางเศรษฐศาสตร์ คาดการณ์ นัยเชิงนโยบาย (scoping) (screening) (analysis and (economic prediction) (policy valuation) implication)

การเปล่ียนแปลงของระบบนิเวศมสี าเหตุท้งั โดยอ้อมและโดยตรง (Millennium Ecosystem Assessment, 2005) ดงั น้ี 1. สาเหตโุ ดยออ้ ม (indirect drivers) มี 5 ประการหลักประกอบดว้ ย การเปล่ียนแปลงดา้ นประชากร (population change) ด้านกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (change in economic activity) ดา้ นเศรษฐกิจสังคมและการเมอื ง (sociopolitical factors) ด้านประเพณวี ัฒนธรรม (cultural factors) และดา้ นเทคโนโลยี (technological factors) 2. สาเหตโุ ดยตรง (direct drivers) สำ� หรับระบบนิเวศบนบก (terrestrial ecosystem) คอื การเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชน์ ท่ดี ิน สำ� หรบั ระบบนเิ วศทางทะเล (marine ecosystem) คอื การจับสัตวน์ ้�ำทีเ่ กนิ ก�ำลังของธรรมชาติ (over-fishing) และ สำ� หรบั ระบบนเิ วศนำ�้ จดื (fresh water ecosystem) คอื การเปลยี่ นแปลงเสน้ ทางของนำ้� การขยายตวั ของชนดิ พนั ธท์ุ รี่ กุ ราน และมลพิษ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาเหตุจากการโหลดของสารอาหาร (nutrient loading) ท่ีเพิ่มขึ้นจนอยู่ในระดับที่เป็นโทษ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

การสญู เสียและความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศปา่ พรุส�ำหรบั ประเทศไทย มสี าเหตุตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วมาข้างต้น แตส่ าเหตหุ ลัก ๆ ซง่ึ เป็น ปัญหาคล้ายคลึงกับประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน ดังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย หรือมาเลเซีย ซ่ึงเป็นแหล่งท่ีตั้งของระบบนิเวศ ปา่ พรเุ ขตรอ้ น กค็ อื เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ซง่ึ มกั เปน็ เรอื่ งการนำ� พน้ื ทปี่ า่ พรไุ ปใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ปลกู พชื เศรษฐกจิ เช่น ยางพาราและปาล์มน�้ำมนั เป็นต้น การประเมินมูลคา่ ทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือทราบผลกระทบจากกิจกรรมที่ทำ� ใหป้ ่าพรุเส่ือมโทรมและผลประโยชนจ์ ากกิจกรรมการอนุรักษ์ ปา่ พรุ ประกอบด้วยขัน้ ตอนสำ� คญั ดังน้ี

1. อธบิ ายรายละเอยี ดหรอื จดั ทำ� ขอ้ มลู พน้ื ฐาน (baseline data) ของระบบนเิ วศปา่ พรกุ อ่ นมกี ารเปลยี่ นแปลง ทง้ั ในดา้ นกายภาพ ชวี ภาพ คุณสมบตั ิของระบบนิเวศ ตลอดจนข้อมลู ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมของผ้มู ีสว่ นได้เสียในพื้นที่

2. ระบแุ ละประเมนิ ผลกระทบดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ระบบนเิ วศ และพจิ ารณาวา่ บรกิ ารทางนเิ วศดา้ นใดทไี่ ดร้ บั การเปลย่ี นแปลง อย่างไรบ้าง สร้างผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียในด้านใดอย่างไร ท�ำให้เกิดการเปล่ียนด้านเศรษฐกิจสังคมอย่างไร ซ่ึงเป็นการ ระบุขนาดของผลกระทบในเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ

| 21

3. ประเมนิ มลู คา่ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงบรกิ ารนเิ วศทส่ี ำ� คญั ทมี่ ตี อ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ซงึ่ เปน็ การประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ ของบริการระบบนเิ วศดังกล่าว

4. วิเคราะห์ทางเลอื กตา่ ง ๆ โดยนำ� ผลการประเมินมลู ค่าดา้ นส่งิ แวดลอ้ มไปรวมกับมูลค่าทางเศรษฐกิจและการเงนิ อ่นื ๆ เพ่ือให้ เกิดความครบถ้วนในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของแต่ละทางเลือก และคาดการณ์ความไม่แน่นอนท่ีจะเกิดข้ึน เพ่ือวเิ คราะหค์ วามอ่อนไหว

5. ก�ำหนดนัยเชิงนโยบายโดยการเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันสุทธิระหว่างทางเลือกต่าง ๆ เพ่ือเลือกทางเลือกที่มีมูลค่าปัจจุบัน ของผลประโยชน์สุทธสิ งู สุดถือวา่ มคี วามเหมาะสมในทางเศรษฐศาสตร์

สำ� หรบั ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปเปน็ เรอื่ งการวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลประโยชน์ ซงึ่ เปน็ การอธบิ ายวธิ กี ารหามลู คา่ ปจั จบุ นั ของผลประโยชนส์ ทุ ธิ