ค ม อพ ทธบร ษ ท ทำว ตรเช า-เย น.pd

หลวงปู่เสาร​์ กนั ตสโี ล

หลวงป่มู ั่น ภรู ิทตั โต

หลวงป่อู ่อน ญาณสริ ิ

หลวงตามหาบัว ญาณสัมปนั โน

หลวงป่อู วา้ น เขมโก

พระอาจารยจ์ รสั จนั ทวงั โส

ประโยชนข์ องการไหว้พระสวดมนต์

• เป็นการเสริมสร้างปัญญาเพราะการสวดมนต์โดยรู้ค�ำแปล รู้ความ หมาย จะท�ำให้ผู้สวดได้ปัญญาและความรู้ในพระธรรมค�ำส่ังสอน ของพระสมั มาสัมพุทธเจา้

• เป็นการอบรมจิตใจให้เป็นสมาธิ มีความสงบเยือกเย็น เพราะใน ขณะสวดต้องตัง้ ใจ ส�ำรวมใจ มฉิ ะนั้นจะสวดผดิ ทอ่ นผิดทำ� นอง

• เปรยี บเสมอื นการไดเ้ ขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ เพราะขณะทสี่ วดพระสตู ร หรอื พระปรติ รตา่ งๆ ซง่ึ เปน็ พระพทุ ธพจน์ กเ็ ทา่ กบั เปน็ การไดฟ้ งั พระ โอวาทของพระพทุ ธเจ้า

• เม่ือได้รับผลจากการสวดมนต์ เช่น ความรู้ ความเข้าใจ ความ สงบร่มเย็นใจ ย่อมเป็นเหตุโน้มน้าวจิตใจให้เกิดศรัทธาเล่ือมใสใน พระพทุ ธศาสนาย่งิ ๆ ข้ึนไป

• การได้สรรเสรญิ คุณของพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ซง่ึ มีคุณหา ประมาณมไิ ด้ ย่อมเปน็ สิริมงคล แกช่ ีวติ ตน ครอบครัว และบรวิ าร

• เปน็ การสั่งสมบญุ บารมี เพิม่ พูนความสุขทางใจ • อานภุ าพแห่งคณุ ของพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์และเทพยดาทง้ั

หลายยอ่ มติดตามปกปักคุม้ ครองรกั ษา • เป็นสว่ นหนง่ึ ของการรักษาและสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา • เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีแกอ่ นุชนรุ่นหลงั สบื ตอ่ ไป

อสชฺฌายมลา มนตฺ า มนต์มกี ารไม่ท่องบน่ เป็นมลทนิ

หนงั สอื สวดมนต์ทำ� วัตรเช้า-เยน็

ท่พี กั สงฆจ์ นั ทรังษี ต.มว่ งลาย อ.เมอื ง จ.สกลนคร

ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๔๔๕-๕๔๖-๗ พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑ : ตุลาคม ๒๕๖๐ จำ� นวนพมิ พ ์ : ๓,๗๕๐ เล่ม ผจู้ ดั พิมพ์ : ที่พักสงฆจ์ นั ทรังษี

สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ การให้ธรรมเปน็ ทาน ชนะการให้ท้งั ปวง

พิมพ์ท่ี บรษิ ทั ศลิ ป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จำ� กดั ๖๑ ถนนเลยี บคลองภาษีเจรญิ ฝัง่ เหนือ (ซอยเพชรเกษม ๖๙) แขวง/เขตหนองแขม กรุงเทพฯ ๑๐๑๖๐ โทรศพั ท์ ๐๒­ ๔๔๔-๓๓๕๑-๙ โทรสาร ๐-๒๔๔๔-๐๐๗๘ e-mail: [email protected]

คำ� นำ�

หนังสือสวดมนต์ท�ำวัตรเช้า-เย็น พุทธมนต์แปล เล่มนี้ คณะศิษยานุศิษย์ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อให้พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตลอดจนสาธชุ นทงั้ หลาย ได้ใชใ้ นการท่องสาธยายมนต์ ประจำ� วนั ทง้ั ยงั จะชว่ ยใหผ้ สู้ าธยายเขา้ ใจความหมายแหง่ พทุ ธมนต์ ต่างๆ ท่ีสาธยายอยู่เป็นประจ�ำ เป็นการน้อมระลึกถึงพุทธานุสติ ธมั มานสุ ติ สงั ฆานสุ ติ อนั เปน็ ทพี่ ง่ึ อนั เปน็ มงคลสงู สดุ ของชาวพทุ ธ อีกดว้ ย ภายในเล่มยังมหี มวดวนิ ัยกรรมและปกิณณกธรรมดว้ ย

คุณงามความดีอันจะพงึ มใี นการจัดท�ำหนงั สอื ครัง้ นี้ ขอ น้อมบชู าพระคณุ ขององคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ คณุ บดิ ามารดา ครบู าอาจารย์ ขออานสิ งสน์ ีจ้ งเปน็ พลวปัจจัยให้ท่านท้ังหลายเจริญรุ่งเรืองไพบูลย์ในชีวิตทางโลก และมีความเจริญก้าวหน้าในทางธรรมยิง่ ๆ ข้นึ ไป จนถงึ ท่ีสดุ แหง่ กองทุกขท์ กุ ท่านเทอญ

การจดั พิมพห์ นงั สือเลม่ นี้ เจตนาเพอ่ื เปน็ ธรรมทาน หากมี ความผดิ พลาดดว้ ยความไม่รอบคอบประการใด คณะผู้จัดทำ� ต้อง กราบขออภยั มา ณ โอกาสน้ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ท�ำ

สารบัญ ๑๓ ๑๗ การสวดออกเสียงในภาษามคธ (บาลี) ๑๘ ค�ำบูชาพระรตั นตรยั (อมิ นิ า สักกาเรนะ...) ๑๙ การท�ำวัตร-สวดมนต์ (ประวัติ) ๒๑ บทสวดมนต์ท�ำวัตรเช้า ๒๒ ค�ำบูชาพระรตั นตรัย (อะระหัง สัมมาสมั พทุ โธ ภะคะวา...) ๒๔ ปพุ พะภาคะนะมะการ (นะโม ตัสสะ...) ๒๕ พุทธาภถิ ุติ (โย โส ตะถาคะโต...) ๒๗ ธมั มาภิถุติ (โย โส สว๎ ากขาโต...) ๒๙ สงั ฆาภถิ ุติ (โย โส สปุ ะฏิปันโน...) ๓๔ ระตะนตั ตะยปั ปะณามะคาถา (พทุ โธ สสุ ทุ โธ...) ๓๕ สังเวคะวตั ถปุ ะริทีปะกะปาฐะ (อิธะ ตะถาคะโต...) ๓๕ บทสวดมนตท์ ำ� วตั รเยน็ ๓๖ ค�ำบูชาพระรัตนตรยั (อะระหัง สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา...) ๓๙ ปุพพะภาคะนะมะการะ (นะโม ตสั สะ...) ๓๙ พุทธานุสสะติ (ตัง โข ปะนะ...) ๔๒ พุทธาภิคีติ (พุทธ๎วาระหนั ...) ๔๓ ธัมมานสุ สะติ (สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม...) ๔๖ ธมั มาภิคีติ (ส๎วากขาตะตา...) ๔๙ สงั ฆานสุ สะติ (สุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต...) ๕๐ สังฆาภคิ ีติ (สทั ธมั มะโช...) ชุมนุมเทวดา (สะรัชชงั ...สะมนั ตา จกั กะวาเฬส.ุ ..) บทตน้ สวดมนต์ และพระปริตรตา่ งๆ ปพุ พะภาคะนะมะการะ (นะโม ตสั สะ...) สะระณะคะมะนะปาฐะ (พุทธัง สะระณัง...)

สัจจะกิริยาคาถา (นัตถิ เม...) ๕๑ มะหาการุณโิ กนาโถตอิ าทกิ าคาถา (มะหาการุณิโก นาโถ...) ๕๒ เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะรทิ ปี ิกาคาถา (พาหุง เว...) ๕๓ อะรยิ ะธะนะคาถา (ยสั สะ สัทธา...) ๕๔ ปพั พะโตปะมะสตุ ตะคาถา (ยะถาปิ เสลา...) ๕๔ นะมะการะสิทธคิ าถา (โย จักขุมา...) ๕๖ สมั พทุ เธ (สมั พุทเธ...) ๕๙ นะโมการะอฏั ฐะกะคาถา (นะโม อะระหะโต สมั มา...) ๖๑ มงั คะละปะริตตัง (พะหู เทวา.., อะเสวะนา...) ๖๒ ระตะนะปะรติ ตงั (ยานธี ะ ภูตาน.ิ .., ยงั กิญจิ...) ๖๕ กะระณียะเมตตะปะรติ ตัง (กะระณยี ะ..., เมตตัญจะ...) ๗๕ ขนั ธะปะรติ ตัง (วิรปู ักเข..., อปั ปะมาโณ พทุ โธ...) ๗๙ โมระปะรติ ตงั (อุเทตะยัญ...., อะเปตะยญั ...) ๘๑ วัฏฏะกะปะรติ ตงั (อตั ถิ โลเก...) ๘๔ อาฏานาฏยิ ะปะรติ ตงั (วปิ สั สสิ สะ.., นะโม เม.., ๘๖

เอเต จัญเญ.., นตั ถิ เม..., ยงั กิญจ.ิ .., สกั กตั ว๎ า...,สัพพี...) ๙๗ อังคลุ มิ าละปะริตตัง (ยะโตหงั ภะคนิ ิ...) โพชฌังคะปะริตตัง (โพชฌังโค...) ๙๘ อะภะยะปะรติ ตงั (ยนั ทุนนิมิตตงั ...) ๑๐๑ เทวะตาอุยโยชะนะคาถา (ทกุ ขปั ปตั ตา...) ๑๐๓ อุณ๎หิสสะวชิ ะยะคาถา (อตั ถิ อณุ ห๎ ิสสะ...) ๑๐๔ มงคลจักรวาลใหญ่ (สิรธิ ิติ...) ๑๐๖ นกั ขัตตะยกั ข์ (นักขตั ตะยกั ขะภูตานัง...) ๑๐๙ บทท้ายธะชัคคะสูตร (อะรัญเญ รุกขะมเู ล วา...) ๑๑๐ พระสูตร ธมั มะจักกปั ปะวัตตะนะสตุ ตงั ๑๑๒

อะนัตตะลักขะณะสุตตัง ๑๓๐ อาทิตตะปะรยิ ายะสตุ ตงั ๑๔๒ มะหาสะมะยะสตุ ตงั ๑๕๓ ธมั มะนยิ ามะสุตตัง ๑๗๖ มาตกิ า ๑๘๐ ธัมมะสงั คิณีมาตกิ าปาฐะ (กสุ ะลา ธมั มา...สุขายะ...) ๑๘๕ วิปัสสะนาภูมปิ าฐะ (ปัญจักขันธา...ทว๎ าทะสายะตะนานิ...) ๑๘๘ ปะฏจิ จะสะมุปปาทะปาฐะ (อะวิชชาปจั จะยา สงั ขารา...) ๑๙๑ พระอภิธรรม ๗ คมั ภีร์ ๑๙๒ พระสังคณิ ี (กสุ ะลา ธัมมา...กะตะเม ธมั มา...) ๑๙๓ พระวิภงั ค์ (ปัญจักขนั ธา...ตตั ถะ กะตะโม...) ๑๙๔ พระธาตุกะถา (สังคะโห...) ๑๙๖ พระปุคคะละปัญญตั ติ (ฉะ ปัญญัตติโย...) ๑๙๗ พระกะถาวตั ถุ (ปคุ คะโล อปุ ะลพั ภะติ...) ๑๙๗ พระยะมะกะ (เย เกจิ กสุ ะลา ธมั มา...) ๑๙๙ พระมะหาปฏั ฐาน (เหตุปัจจะโย...) ๑๙๙ บงั สกุ ุลตาย (อะนจิ จา...) ๒๐๐ บงั สกุ ลุ เป็น (อะจิรงั ...) ๒๐๑ คาถาตา่ งๆ ๒๐๓ ภทั เทกะรตั ตะคาถา (อะตตี งั นานวาคะเมยยะ...) ๒๐๓ ตลิ กั ขะณาทคิ าถา (สัพเพ สงั ขารา อะนจิ จาติ...) ๒๐๔ ธมั มทุ เทส ๔ (อปุ ะนยี ะติ โลโก...) ๒๐๕ ภาระสตุ ตะคาถา (ภารา หะเว ปัญจกั ขนั ธา...) ๒๐๗ สีลุทเทสะปาฐะ (ภาสิตะมทิ ัง...) ตายะนะคาถา (ฉินทะ โสตัง...) โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาฐะ (อทุ ทิฏฐงั โข...)

ปจั ฉิมพทุ โธวาทปาฐะ (หนั ทะทานิ ภิกขะเว...) ๒๐๙ ธมั มะคาระวาทิคาถา (เย จะ อะตีตา สัมพุทธา...) ๒๐๙ อารักขะกมั มฏั ฐาน (พทุ ธานสุ สะติ เมตตา จะ...) ๒๑๑ ปฐมพุทธภาสติ คาถา (อะเนกะชาตสิ ังสารัง...) ๒๑๒ พุทธอทุ านคาถา (ยะทา หะเว ปาตภุ ะวันติ ธัมมา...) ๒๑๓ พิธฉี นั ถวายพรพระ (อติ ปิ ิ โส, พทุ ธะชะยะมงั คะละคาถา, ชะยะปะรติ ร) ๒๑๕ พุทธะชะยะมังคะละคาถา (พาหงุ ...) ๒๑๖ ชะยะปะริตร (มะหาการณุ โิ ก นาโถ...) ๒๒๐ อะนุโมทะนาวิธี อะนโุ มทะนารมั ภะคาถา (ยะถา...) ๒๒๕ สามัญญานุโมทะนาคาถา (สัพพตี ิโย...) ๒๒๕ มงคลจักรวาลน้อย (สัพพะพทุ ธานภุ าเวนะ...) ๒๒๗ กาละทานะสตุ ตะคาถา (กาเล ทะทนั ติ สะปญั ญา...) ๒๒๙ วหิ าระทานะคาถา (สตี งั อณุ ห๎ งั ...) ๒๓๐ เทวะตาทสิ สะทกั ขณิ านุโมทะนาคาถา (ยัส๎มงิ ปะเทเส...) ๒๓๑ อคั คปั ปะสาทะสุตตะคาถา (อคั คะโต เว...) ๒๓๒ โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา (อายโุ ท...) ๒๓๓ อาทิยะสุตตะคาถา (ภุตตา โภคา...) ๒๓๓ โส อตั ถะลทั โธ (โส อตั ถะลัทโธ...) ๒๓๔ ระตะนตั ตะยานุภาวาทิคาถา (ระตะนตั ตะยานุภาเวนะ...) ๒๓๕ ติโรกุฑฑะกัณฑะสุตตะคาถา (ยอ่ ) ๒๓๖ (อะทาสิ เม..., อะยญั จะ โข...) เกณยิ านุโมทะนาคาถา (อคั คิหตุ ตงั ...) ๒๓๗ สังคะหะวัตถคุ าถา (ทานญั จะ เปยยะวชั ชัญจะ...) ๒๓๘ ทานานุโมทะนาคาถา (อนั นงั ปานงั วัตถัง ยานัง...) ๒๓๙

สภุ าสติ ะคาถา (สาธรุ ูโป จะปาสังโส...) ๒๔๐ เทวะตาภสิ ัมมนั ตะนะคาถา (ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตาน.ิ ..) ๒๔๓ บทสวดมนตต์ า่ งๆ และบทแผเ่ มตตา ตงั ขะณิกะปจั จะเวกขะณะปาฐะ (ปะฏิสังขา โยนโิ ส...) ๒๔๕ อะตีตะปจั จะเวกขะณะปาฐะ (อัชชะ มะยา...) ๒๔๘ ธาตุปะฏิกลู ะปัจจะเวกขะณะปาฐะ (ยะถาปัจจะยงั ...) ๒๕๑ คำ� นมสั การรอยพระพุทธบาท (วันทามิ พุทธงั ...) ๒๕๕ ทะสะธมั มะ (เฉพาะพระ) (เววัณณยิ มั หิ อชั ฌปู ะคะโต...) ๒๕๗ สามเณรสกิ ขา ๒๕๙ สกิ ขาบท ๑๐ ๒๕๙ นาสนังคะ ๑๐ ๒๖๐ ทณั ฑกรรม ๕ ๒๖๒ อะภณิ ๎หะปจั จะเวกขะณะปาฐะ (ชะรา ธมั โมม๎หิ...) ๒๖๓ กายะคะตาสะตภิ าวะนา (อะยัง โข เม กาโย...) ๒๖๔ พรหมวิหาร เมตตาตน (อะหงั สขุ โิ ต โหมิ...) ๒๖๖ เมตตาสตั ว์ (สพั เพ สตั ตา...) ๒๖๖ คำ� แผเ่ มตตาอุทศิ สว่ นกุศล (สัพเพ สตั ตา สะทา โหนต.ุ ..) ๒๖๗ ค�ำกรวดน้�ำอมิ นิ า (อมิ นิ า ปุญญะกัมเมนะ...) ๒๖๘ ปตั ติทานะคาถา (ยอ่ ) (ปญุ ญสั สิทานิ...) ๒๗๐ สมุ ังคะละคาถา (โหตุ สพั พงั ...) ๒๗๒ เมตตายังกิญจิ (ยงั กิญจิ กสุ ะลัง กมั มัง...) ๒๗๓ เมตตานิสงั สะสตุ ตะปาฐะ (เอวมั เม สตุ งั ,...) ๒๗๔ จะตุรปั ปะมัญญาปาฐะ (อตั ถิ โข เตนะ ภะคะวะตา...) ๒๗๗ เทวะตาทิปตั ติทานะคาถา (ย่อ) (ยา เทวะตา...) ๒๘๑ ตโิ ลกะวิชะยะราชะปตั ตทิ านะคาถา (ยังกิญจิ..กัตตัพพงั ...) ๒๘๓

วิธีบรรพชาอปุ สมบทแบบเอสาหงั ๒๘๔ อนุศาสน์ ๘ อยา่ ง ๒๙๔ นิสยั ๔ คือปัจจัยเครอ่ื งอาศยั ของบรรพชิต ๒๙๔ อกรณียะ ๔ คือกิจทไี่ ม่ควรท�ำ ๒๙๕ วิธลี าสกิ ขา ๒๙๗ หมวดวนิ ัยกรรม ๒๙๙ วธิ ีท�ำพินทุกัปปะ ๒๙๙ อธิษฐาน ๓๐๐ คำ� อธษิ ฐานบรขิ ารตา่ งๆ ๓๐๑ วกิ ปั ๓๐๔ คำ� เสยี สละไตรจีวรล่วงราตรี ๓๐๕ ค�ำเสียสละอติเรกจวี รลว่ ง ๑๐ วนั ๓๐๖ คำ� เสียสละอตเิ รกบาตรล่วง ๑๐ วัน ๓๐๖ วธิ แี สดงอาบัต ิ ๓๑๐ อาการท่ภี กิ ษุจะตอ้ งอาบัตมิ ี ๖ อยา่ ง ๓๑๐ นสิ ยั ๓๑๒ จำ� พรรษา ๓๑๓ ค�ำสตั ตาหะกะระณยี ะ ๓๑๓ เหตุไปดว้ ยสัตตาหะกะระณียะ ๓๑๔ อานิสงส์จำ� พรรษา ๓๑๕ ระเบียบค�ำขอขมาโทษต่อทา่ นผูค้ วรเคารพ ๓๑๕ คำ� ขอขมาพระรัตนตรัย (ระตะนตั ตะเย ปะมาเทนะ...) ๓๑๕ คำ� ขอขมาพระเถระ (เถเร ปะมาเทนะ...) ๓๑๕ คำ� ขอขมาพระอปุ ัชฌาย์ (อปุ ัชฌาเย ปะมาเทนะ...) ๓๑๖ คำ� ขอขมาพระอาจารย์ (อาจะริเย ปะมาเทนะ...) ค�ำขอขมาพระสงฆ์ (สงั เฆ ปะมาเทนะ....)

คำ� ขอขมาบคุ คลท่วั ไป (อายัส๎มนั เต ปะมาเทนะ...) ๓๑๖ คำ� ขอขมาโทษบดิ ามารดา (มาตาปติ ะเร ปะมาเทนะ...) ๓๑๖ คำ� ขอขมารวม (ระตะนตั ตะเย ปะมาเทนะ...) ๓๑๖ ขอขมา ๓๑๘ คำ� ใหพ้ รเมอื่ มผี ู้ขอขมา ๓๑๙ อุโบสถ ๓๒๐ ค�ำขอโอกาสสวดปาฏิโมกขแ์ ละต้งั ญตั ติปวารณา ๓๒๑ เหตุท่สี วดปาฏโิ มกขย์ ่อ ๓๒๑ วธิ สี วดปาฏิโมกขย์ อ่ ๓๒๒ ปวารณา ๓๒๔ อธิกมาส อธิกวาร และปกั ขคณนาวิธ ี ๓๒๙ วัฏจักรแห่งอธิกมาส ๓๓๑ การแบง่ ฤดแู ละการบอกฤด ู ๓๓๓ วิธีเปลีย่ นบุพพกิจพระปาฏิโมกข์ ๓๓๕ การนับพระภกิ ษ ุ ๓๔๑ กฐิน ๓๔๕ วิธีกฐนิ อย่างธรรมยตุ ๓๔๖ ค�ำถวายผ้ากฐินทาน ๓๔๖ คำ� อปโลกน์กฐิน ๓๔๗ คำ� อธบิ าย ๓๕๑ ญัตติทุติยกรรมวาจา ๓๕๒ กฐนิ ตั ถารวธิ ี ๓๕๔ บุพพกรณแ์ ห่งการกรานกฐิน ๓๕๔ ค�ำกรานกฐิน ๓๕๕ คำ� เสนออนโุ มทนากฐิน ๓๕๖ ค�ำอนุโมทนากฐิน ๓๕๖

ท�ำกปั ปิยะ ๓๕๗ กาลกิ ๔ ๓๕๘ กาลิระคนกัน ๓๕๙ มหาปเทส ๔ ๓๖๐ ภกิ ษไุ ม่ควรฉันเนอื้ ๑๐ อยา่ ง ๓๖๐ ลกั ษณะของการประเคนมีองค์ ๕ คอื ๓๖๑ วตั ถุอนามาส ๓๖๑ ธุดงควัตร ๑๓ ๓๖๒ คำ� อาราธนาและเบด็ เตลด็ ๓๖๔ ค�ำอาราธนาพระปริตร ๓๖๔ คำ� อาราธนาธรรม ๓๖๕ ค�ำอาราธนาศีล ๕ ๓๖๕ อกี นยั หน่งึ คำ� อาราธนาศลี ๕ เปน็ นจิ จะศีล ๓๖๕ ค�ำอาราธนาศีล ๘ ๓๖๖ ค�ำอาราธนาอโุ บสถศลี ๓๖๗ สรณคมน์ และ ศีล ๓๖๙ เบญจศลี (ศีล ๕) ๓๗๑ ศีล ๘ และอโุ บสถศลี ๓๗๑ คำ� ขอบวชของพราหมณี, ผ้าขาว ๓๗๒ คำ� ลาสิกขาของพราหมณี, ผ้าขาว ๓๗๒ คำ� แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ ๓๗๒ คำ� ชกั ผ้าบงั สุกลุ ๓๗๓ คำ� ถวายสังฆทาน ๓๗๔ ค�ำถวายสังฆทานอทุ ิศ ๓๗๕ คำ� ถวายผา้ ป่า คำ� อปโลกน์สังฆทาน

ค�ำอปโลกนอ์ กี แบบหน่ึง ๓๗๕ บทสวดมนตพ์ ิเศษ บทสวดชัยน้อย (นะโม เม พทุ ธะเตชสั สา...) ๓๗๖ บารมี ๓๐ ทัส (แบบครบู าศรวี ชิ ัย) (ทานะ ปาระม.ี ...) ๓๘๐ พระคาถาปอ้ งกนั ภัยท้งั สบิ ทิศ (บูรพารสั ม๎ งิ พระพุทธะคณุ ัง...) ๓๘๕ คาถามงคลจักรวาลแปดทิศ (อิมัสม๎ ิง มงคลจกั รวาล...) ๓๙๐ คาถาชินบญั ชร (ชะยาสะนาคะตา...) ๓๙๒ คาถาขอฝน (มะหาการณุ ิโก นาโถ...) ๓๙๖ ยอดพระกัณฑไ์ ตรปฎิ ก (อติ ปิ ิ โส ภะคะวา...) ๓๙๘ คำ� บชู าพระบรมสารีรกิ ธาตุ (อิตปิ ิ โส ภะคะวา...อกุ าสะ...) ๔๑๐ บทปลงสังขาร (มนุษยเ์ ราเอย๋ ...) ๔๑๑ คำ� ไหว้พระพทุ ธเจ้า ๕ พระองค์ ๔๑๒ (อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ นะโม...) ภาคผนวก การน่งั สมาธแิ ละเดนิ จงกรม ๔๑๓ คำ� ถอนอธษิ ฐาน ๔๑๗

การสวดออกเสียงในภาษามคธ (บาลี)

ในสมัยพุทธกาล “บาลีภาษา” ในชมพูทวีป คนท่ัวไปนิยมใช้พูด กันมาก โดยเฉพาะในแคว้นมคธอันเป็นแคว้นที่มีอาณาจักรกว้าง ใหญ่ มีอ�ำนาจมากในสมัยน้ัน จึงได้เรียกภาษานี้ว่า “มคธภาษา” และมคธภาษาน้ีนับเป็นภาษาท่ีมีระเบยี บแบบแผนดมี าก จงึ เรยี กอกี อยา่ งหน่งึ วา่ “ตันติภาษา” สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ และพทุ ธสาวกในสมยั นนั้ ทรงใชภ้ าษา นเี้ ปน็ ภาษาหลกั ในการประกาศเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ภาษามคธนี้จึง นับเป็นภาษาท่ีส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา กระทั่งถึงปัจจุบัน เพราะ เป็นภาษาท่ีใช้จารึกในพระไตรปิฎกและคมั ภรี ต์ า่ งๆ เพราะเหตุนี้เอง ชาวพุทธต้ังแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบันกาลเมื่อ ร�ำลึกถึงพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จึงมี การสวดมนต์ สาธยายบทแห่งธรรมเป็นภาษามคธ นับเป็น การสืบทอดมรดก ธรรม มรดกภาษาของพระบรมครูผู้เป็น พระศาสดาองค์เอกของ โลก ใหค้ งอยตู่ ราบนานเท่านาน

ตวั ท ออกเสยี งเป็น ด ตวั พ ออกเสียงเป็น บ ตวั ช ออกเสยี งเป็น จยฺ (จ ควบ ย) ตัว ค ออกเสียงเป็น กงฺ (ก ควบ ง) ตวั ญ ออกเสียงเปน็ ย ขน้ึ นาสิก (จมกู ) หรือเพดานปาก ตัว ฏ ออกเสียงเป็น ต ข้นึ นาสกิ (จมกู ) หรือเพดานปาก

13 ท่พี ักสงฆ์จนั ทรังษี

ตัว ฐ ออกเสียงเปน็ ถ ขน้ึ นาสกิ (จมกู ) หรอื เพดานปาก ตวั ฑ ออกเสียงเป็น ด ขึ้นนาสิก (จมกู ) หรือเพดานปาก ตัว ณ ออกเสียงเป็น น ขึ้นนาสิก (จมกู ) หรอื เพดานปาก ตวั ฬ ออกเสียงเป็น ล ข้ึนนาสกิ (จมูก) หรือเพดานปาก ตัว ฆ ออกเสียงเปน็ ค กอ้ งกระเทอื นในลำ� คอ ตวั ฌ ออกเสียงเป็น ช กอ้ งกระเทือนในล�ำคอ ตวั ธ ออกเสียงเป็น ท กอ้ งกระเทอื นในล�ำคอ ตัว ภ ออกเสียงเปน็ พ ก้องกระเทอื นในลำ� คอ ตัว ฒ ออกเสียงเป็น ท กอ้ งกระเทอื นในลำ� คอ และขน้ึ นาสกิ * เคร่ืองหมาย “ î ” นี้บงั คบั อยู่ท่อี กั ษรใด อักษรนัน้ มี เสยี งสระอะ แต่ตอ้ งออกเสียงให้เร็วและเบา

เกยี่ วกับการอ่านเและออกเสยี งภาษาบาลี

๑. เสยี งก้องกระเทอื นในล�ำคอ ได้แก่ ตวั ภ ฆ ธ ฌ ฒ เสยี งขึน้ จมูก ไดแ้ ก่ ตวั ฏ ฐ ณ ญ ฑ ฬ สระเสยี งสัน้ ได้แก่ สระ อะ อิ อุ -ั สระเสยี งยาว ได้แก่ สระ อา อี อู เอ โอ ๒. ถา้ เขียนอยลู่ อยๆ โดยไมม่ ีสระใดกำ� กับ ใหอ้ ่านเหมอื นมี “ -ะ ” กำ� กับอยู่ เช่น สมถ อ่านวา่ สะมะถะ ๓. ถา้ มรี ปู สระใดผสมอยู่ ให้อ่านตามเสียงสระนน้ั เช่น อโุ บสถ อา่ นว่า อุโปสะถะ ถา้ มีจุดทึบใตต้ ัวอักษร (-)ฺ แสดงว่าตวั อกั ษรนนั้ ท�ำหน้าที่

หนงั สือสวดมนต์ 14

เป็นส�ำเนยี งไมห้ นั อากาศ และส�ำเนียงตามสระอ่นื มาคมุ เชน่ ขนตฺ ิ อ่านวา่ ขนั -ติ, วชิ ฺชา อ่านวา่ วชิ -ชา ๔. เครอื่ งหมาย “ ํ ” (นิคคหติ ) เป็นจดุ โปรง่ เหนืออกั ษรใด ให้อา่ นออกเสียง สระอัง เช่น ปทํ อา่ นวา่ ปะ-ทงั , กมมฺ ํ อา่ นว่า กัม-มัง แต่ถ้า “ ํ ” อยูก่ บั อกั ษรท่ีท�ำ หนา้ ที่เป็นสระให้อ่านออกเสียง “ ง ” ตามสระน้นั เช่น วิสํุ อ่านว่า ว-ิ สงุ , สตึ อา่ นว่า สะ-ตงิ ๕. เวลาสวดบางครง้ั เสียงจะสงู กว่าปกตคิ อื “ ข ” จะออก เสยี งเปน็ “ ค ”, “ ฉ ” เป็น “ ช ”, “ ถ ” เปน็ “ ท ”, “ ผ ” เปน็ “ พ ”, “ ส ” เป็น “ ซ ”, “ ห ” เป็น “ ฮ ” ๖. ค�ำที่สะกดด้วย “ เ_ยฺ ” เช่น กเรยยฺ อทุ ทเิ สยยฺ อาทเิ ยยยฺ ฯลฯ จะออกเสยี งเป็น “ เอ ” กับ “ ไอ ” เชน่ อาหุเนยฺโย เปน็ อาหไุ นยโย ๗. คำ� ทส่ี ะกดดว้ ย “ เ_ตฺ ” และ “ เ_กฺ ” จะออกเสียง สั้นลงกว่าปกติ เช่น เอตฺตกํ (เอ็ดตะกัง ไม่ใช่ เอดตะกัง) เปน็ ต้น ๘. การออกเสียง “ ตะ ” ในคำ� ว่า “ เหตวฺ า ” จะออก เสยี งเพยี งครึ่งเสียงคือจะออกเสียง “ ตะ ” เรว็ และเบา กว่าในค�ำว่า เอตฺตกํ เปน็ ต้น ๙. ค�ำว่า “ ภิยฺโยติ ” สวดว่า “ ภิยโยติ ” ไม่ใช่ “ พินโยติ ” (“ ภิย ” จะออกเสียงคล้ายกับค�ำว่า “ ภิ ” ธรรมดา แต่เสยี งจะยาวกว่านิดหนง่ึ เพราะเพิม่ เสียงด้วย “ ย ” ท่ีมาสะกดดว้ ย)

15 ทพ่ี ักสงฆ์จนั ทรังษี

๑๐. พยายามใหเ้ สยี ง สระ “ อะ ” ตา่ งจากสระ “ อา ” สระ “ อิ ” ตา่ งจากสระ “ อี ” สระ “ อุ ” ตา่ งจาก สระ “ อู ” เชน่ ค�ำวา่ อายสมฺ นฺโต ตา่ งจาก อายสมฺ โต ค�ำว่า โหต ิ ต่างจาก โหนฺติ

“ทางเดนิ ของเรา มที างเดียวเท่านัน้ คอื ต้องต่อสจู้ นถงึ ตายกบั ความเพยี ร เพอ่ื ชยั ชนะอยา่ งเดียวเท่านั้น ทำ�ไปเถอะ

ภาวนาไปจนตายไมม่ ีถอย ใครถอยไมใ่ ช่ศิษยต์ ถาคต กาลใดทีข่ าดสติ กาลนั้นเรยี กวา่ ขาดความเพยี ร ถึงแมจ้ ะนง่ั อยู่ หรอื เดินจงกรมอยู่ก็ตาม”

โอวาทธรรม หลวงปู่มั่น ภูรทิ ัตตเถระ

หนังสอื สวดมนต์ 16

คำ� บูชาพระรัตนตรัย

อิมินา สักกาเรนะ ตงั ภะคะวันตงั อภปิ ูชะยามิ

(กราบ)

อิมินา สกั กาเรนะ ตัง ธมั มงั อะภิปชู ะยามิ

(กราบ)

อมิ ินา สักกาเรนะ ตงั สงั ฆัง อะภิปชู ะยามิ

(กราบ)

17 ทพ่ี กั สงฆจ์ ันทรังษี

การทำ� วตั ร–สวดมนต์

ประวัติ

การทำ� วัตร หรือทีเ่ รียกกนั สน้ั ๆ วา่ ทำ� วัตร คอื การทำ� กจิ ทต่ี ้องท�ำจนเปน็ กจิ วตั รประจำ� วนั ซงึ่ เปน็ หนา้ ทขี่ องพระภกิ ษุ สามเณร และอบุ าสกอบุ าสกิ าทว่ั ไป จะละเวน้ เสยี ไมไ่ ด้ เพราะเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้มุ่งแสวงบุญอย่างหน่ึง การ ท�ำวัตรนิยมทำ� กนั วนั ละ ๒ เวลา คือเชา้ กบั เยน็ เรียกว่า ทำ� วตั รเชา้ ท�ำวตั ร เย็น กจิ ทต่ี ้องท�ำในเวลาท�ำวตั รท้งั สองเวลาน้นั คือสวดบชู าพระรตั นตรยั สวด พิจารณาปัจจัยที่บริโภค สวดเจริญกรรมฐานตามควร และสวดอุทิศส่วนกุศล (กรวดนำ�้ ) ในสมัยพระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ พระภิกษุสงฆ์จักพากันเข้า เฝ้าพระพุทธเจ้าในตอนหวั ค�่ำของทกุ ๆ วนั เปน็ นิตย์ ในโอกาสนัน้ นอกจากจะ ไดพ้ บพระพทุ ธเจา้ แลว้ ยงั ไดฟ้ งั โอวาท ฟังอนุสาสนี และระเบียบวินัยท่ีทรง บัญญัติขึ้นใหม่ด้วย การเข้าเฝ้านี้ถือว่าเป็นกิจวัตรประจ�ำวันของพระภิกษุ สามเณร และแมอ้ ุบาสกอุบาสกิ าก็เข้าเฝา้ แบบน้เี หมอื นกันแต่เป็นเวลาบ่ายถึง เยน็ พระพุทธองคก์ ท็ รงถือว่าการใหพ้ ระภิกษุสามเณร อบุ าสกอบุ าสิกาเขา้ เฝา้ ในเวลานน้ั ๆ เปน็ กจิ วตั รประจำ� วนั จงึ ไมเ่ สดจ็ ไปไหนในเวลานนั้ ตอ่ มาเมอื่ พระพทุ ธ องคป์ รินิพพานแล้ว มีประเพณีสร้างพระพุทธรูปข้ึนเป็นเครื่องหมายเคารพสัก การะแทนพระพทุ ธเจ้า และประดษิ ฐานไว้ ณ สถานทส่ี ำ� คญั ๆ ของวดั เชน่ ในโรงอุโบสถ วิหารศาลาการเปรียญ เปน็ ตน้ สถานท่ปี ระดิษฐานพระพุทธรูป มกั จดั เปน็ เอกเทศ โอโ่ ถง และสะอาดเรียบร้อย เพราะถือกันว่าเป็นทีป่ ระทับ ของพระพทุ ธเจ้า ชาวพุทธจงึ นยิ มเขา้ ไปยงั สถานทน่ี นั้ ๆ โดยปฏบิ ตั เิ หมอื นวา่ ได้ เขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ทกุ เชา้ -เยน็ และพากนั สวดสรรเสรญิ คณุ พระรตั นตรยั ซง่ึ เรยี กวา่ ทำ� วตั ร และสวดพระสตู รพระปรติ รตา่ งๆ ซง่ึ เปน็ พระพทุ ธพจนเ์ ป็นพระ โอวาทเรยี กว่า สวดมนต์ เท่ากับได้ฟังพระโอวาทของพระพุทธเจา้ ทกุ เช้าเยน็ ด้วยเหตุน้เี องจึงเรียกรวมกันวา่ “ท�ำวัตรสวดมนต”์ การกระท�ำเช่นนนี้ ิยมแพร่ หลายขึน้ เรอื่ ยๆ จนเกิดเปน็ ระเบยี บพธิ ขี ึน้ จนถงึ ทุกวันนี้

หนงั สอื สวดมนต์ 18

ท�ำวัตรเช้า

บทสวดมนต์ท�ำวัตรเช้า

ค�ำบชู าพระรตั นตรยั

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,

พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหนั ต์ ดบั เพลงิ กิเลสเพลิงทกุ ข์ สนิ้ เชิง, ตรัสรชู้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง

พทุ ธัง ภะคะวนั ตงั อะภิวาเทมิ.

ขา้ พเจ้าอภวิ าทพระผ้มู ีพระภาคเจา้ , ผรู้ ู้ ผตู้ ืน่ ผเู้ บิกบาน

(กราบ) สวîากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม,

พระธรรม เปน็ ธรรมท่ีพระผูม้ ีพระภาคเจา้ , ตรสั ไวด้ แี ล้ว

ธัมมัง นะมัสสาม.ิ

ข้าพเจ้านมสั การพระธรรม

(กราบ) สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,

พระสงฆส์ าวกของ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ปฏบิ ัตดิ ีแลว้

สงั ฆงั นะมาม.ิ

ขา้ พเจา้ นอบนอ้ มพระสงฆ์

(กราบ)

19 ทีพ่ กั สงฆ์จนั ทรังษี

บชู า

(ประธานน�ำกลา่ ว)

ยะมมั หะโข มะยัง เราเป็นผู้ถึงพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ภะคะวันตงั สะระณงั คะตา, พระองค์ใด ว่า เป็นสรณะ (อุททิสสะ ปัพพะชิตา) (เราไดบ้ วชเจาะจงถงึ พระองคแ์ ลว้ ) โยโน ภะคะวา สตั ถา, พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคเ์ ปน็

ศาสดาของเรา (คฤหัสถ์พงึ เวน้ คำ� ในวงเล็บ) ยัสสะ จะ มะยงั ภะคะวะโต และเราทงั้ หลายย่อมชอบธรรม ธมั มงั โรเจมะ, ของพระผู้มีพระภาคเจ้า

พระองคน์ ั้น อเิ มหิ สกั กาเรหิ ตัง เราทั้งหลายขอบชู าพระผู้มี ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง พระภาคเจ้าพระองคน์ ั้น สะสาวะกะ สงั ฆัง อะภปิ ูชะยามะ, พร้อมด้วยพระธรรม และ

พระสงฆ์สาวก ดว้ ยเครอื่ ง

สกั การะท้ังหลาย เหล่านี้

หนังสือสวดมนต์ 20

ปุพพะภาคะนะมะการ

(นำ� ) หนั ทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะ- นะมะการงั กะโรมะ เส.

(เชิญเถิด เราทงั้ หลาย ท�ำความนอบน้อมอันเป็นส่วนเบื้องตน้ แดพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ เถิด)

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ขอนอบนอ้ มแด่พระผมู้ ีพระภาคเจา้ , พระองคน์ น้ั อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ. ซ่ึงเป็นผไู้ กลจากกิเลส

ตรสั รู้ชอบได้โดยพระองค์เอง

(สวดพร้อมกนั ๓ รอบ)

คนนง่ั นง่ิ เขากน็ ินทา คนพดู มาก เขาก็นนิ ทา แมแ้ ต่คนพูดพอประมาณ เขากน็ ินทา คนไม่ถูกนนิ ทา ไมม่ ีในโลก

21 ทีพ่ ักสงฆจ์ นั ทรังษี

พทุ ธาภถิ ุติ

(น�ำ) หันทะ มะยงั พทุ ธาภถิ ุตงิ กะโรมะ เส.

(เชิญเถดิ เราท้ังหลาย, ท�ำความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจ้าเถิด)

(สวดพร้อมกัน) โย โส ตะถาคะโต อะระหงั พระตถาคตเจา้ นัน้ พระองค์ใด

สมั มาสัมพทุ โธ, เป็นผู้ไกลจากกเิ ลส

เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง วิชชาจะระณะสมั ปนั โน เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ สคุ ะโต โลกะวทิ ู, เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี

อะนตุ ตะโร เปน็ ผรู้ โู้ ลกอย่างแจม่ แจง้

ปุรสิ ะทัมมะสาระถ ิ เปçนผสู้ ามารถฝกึ บุรุษทส่ี มควร

ฝึกได้ อย่างไม่มีใครยง่ิ กวา่ สตั ถา เทวะมะนสุ สานงั เปน็ ครผู สู้ อนของเทวดาและมนษุ ย์ ท้ังหลาย พทุ โธ ภะคะวา, เป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผเู้ บกิ บานดว้ ยธรรม

เป็นผมู้ ีความจ�ำเริญ จำ� แนกธรรม สั่งสอนสัตว์ โย อิมงั โลกงั สะเทวะกัง สะมาระกงั สะพร๎ ัห๎มะกงั , สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชงั สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สจั ฉิกัต๎วา ปะเวเทส,ิ

หนงั สือสวดมนต์ 22

พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองค์ใด, ได้ทรงทำ� ความดับทุกข์ใหแ้ จง้ , ดว้ ยพระปัญญาอันยิง่ เองแลว้ , ทรงสอนโลกนี้พรอ้ มท้ังเทวดา มาร พรหม, และหมู่สัตว์พร้อมท้ังสมณพราหมณ์, พร้อมทั้งเทวดาและ มนุษยใ์ หร้ ู้ตาม โย ธัมมัง เทเสส ิ พระผู้มีพระภาคเจา้ พระองค์ใด, ทรงแสดงธรรมแลว้ อาทกิ ัล๎ยาณัง มัชเฌกัลย๎ าณัง ไพเราะในเบ้ืองตน้

ไพเราะในทา่ มกลาง ปะรโิ ยสานะกลั ย๎ าณัง, ไพเราะในที่สุด สาตถัง สะพย๎ ัญชะนัง ทรงประกาศพรหมจรรย์, คือแบบ เกวะละปะรปิ ณุ ณงั แหง่ การปฏบิ ัตอิ นั ประเสรฐิ ปะริสทุ ธัง พร๎ หั ๎มะจะริยัง บรสิ ทุ ธ์ิ บริบรู ณส์ นิ้ เชงิ , ปะกาเสสิ, พร้อมทงั้ อรรถะ (คำ� อธิบาย) พร้อมทั้งพยญั ชนะ (หวั ข้อ) ตะมะหงั ภะคะวนั ตงั ข้าพเจ้าบูชาอย่างยงิ่ , เฉพาะ อะภปิ ชู ะยามิ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ พระองค์นั้น ตะมะหัง ภะคะวันตัง ขา้ พเจา้ นอบน้อม สิระสา นะมาม.ิ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์นัน้ , ด้วยเศยี รเกลา้

(กราบระลึกพระพทุ ธคุณ)

23 ท่ีพกั สงฆ์จนั ทรงั ษี

ธมั มาภถิ ุติ

(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภถิ ตุ ิง กะโรมะ เส.

(เชิญเถิด เราทัง้ หลาย ท�ำความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด)

(สวดพร้อมกนั ) โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมนัน้ ใด, เป็นสง่ิ ท่ี

สนั ทฏิ ฐโิ ก พระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ไดต้ รสั ไวด้ แี ลว้

เป็นสิง่ ทผ่ี ศู้ กึ ษาและปฏิบัติพงึ เห็น ไดด้ ้วยตนเอง อะกาลโิ ก เปน็ สงิ่ ที่ปฏิบัตไิ ด้และให้ผลได้ ไมจ่ ำ� กัดกาล เอหิปสั สิโก, เป็นสง่ิ ทค่ี วรกล่าวกับผ้อู ่ืนว่า ท่านจงมาดูเถดิ โอปะนะยโิ ก เปน็ สง่ิ ที่ควรน้อมเขา้ มาใสต่ วั ปัจจัตตงั เวทติ พั โพ วญิ ญูหิ, เปน็ สง่ิ ท่ีผู้รู้ก็รู้ไดเ้ ฉพาะตน ตะมะหงั ธมั มัง อะภปิ ชู ะยามิ ขา้ พเจ้าบูชาอย่างยิง่ ,

เฉพาะพระธรรมนัน้ ตะมะหัง ธัมมงั สิระสา ขา้ พเจ้านอบนอ้ มพระธรรมนนั้ , นะมาม.ิ ดว้ ยเศียรเกล้า

(กราบระลกึ พระธรรมคณุ )

หนังสอื สวดมนต์ 24

สงั ฆาภถิ ุติ

(นำ� ) หนั ทะ มะยัง สังฆาภถิ ตุ งิ กะโรมะ เส.

(เชิญเถดิ เราท้งั หลาย ท�ำความชมเชยเฉพาะพระสงฆ์เถิด)

(สวดพรอ้ มกนั ) โย โส สปุ ะฏิปันโน สงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, น้ันหมใู่ ด, ปฏบิ ัตดิ แี ลว้ อชุ ปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สงฆส์ าวกของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน หม่ใู ด, ปฏิบตั ิตรงแลว้

สงฆ์สาวกของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมใู่ ด, ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รธู้ รรมเปน็ เครอื่ ง ออกจากทุกขแ์ ลว้ สามีจปิ ะฏิปันโน สงฆส์ าวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมู่ใด, ปฏิบัตสิ มควรแลว้ ยะทิทงั จตั ตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ ไดแ้ กบ่ ุคคลเหล่าน้คี อื

คแู่ ห่งบรุ ุษ ๔ ค๑ู่ อัฏฐะ ปรุ ิสะปคุ คะลา, นบั เรียงตัวบรุ ุษไดแ้ ปดบุรษุ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, นนั่ แหละ สงฆ์สาวกของ

พระผู้มีพระภาคเจา้

๑ บุรษุ ส่คี ู่ คือ โสดาปัตติมรรค-โสดาปัตติผล, สกทาคามิมรรค-สกทาคามิผล, อนาคามิมรรค-อนาคามิผล, อรหตั มรรค-อรหตั ผล

25 ทพี่ ักสงฆจ์ ันทรังษี

อาหเุ นยโย เปน็ สงฆ์ควรแก่สักการะ ท่เี ขานำ� มาบูชา

ปาหเุ นยโย เปน็ สงฆค์ วรแก่สักการะ

ท่ีเขาจดั ไวต้ ้อนรบั เปน็ ผคู้ วรรบั ทักษิณาทาน ทกั ขิเณยโย เป็นผทู้ ่ีบคุ คลท่ัวไปควรทำ� อัญชลี อญั ชะลิกะระณโี ย, อะนุตตะรงั ปญุ ญกั เขตตัง เป็นเนือ้ นาบญุ ของโลก, โลกสั สะ, ตะมะหัง สงั ฆัง ไม่มนี าบุญอนื่ ยิง่ กว่า อะภปิ ชู ะยามิ ข้าพเจา้ บูชาอย่างยง่ิ , เฉพาะพระสงฆห์ มูน่ นั้ ตะมะหัง สังฆงั สริ ะสา ขา้ พเจา้ น้อบน้อมพระสงฆห์ มู่น้นั , นะมามิ. ด้วยเศยี รเกล้า

(กราบระลึกพระสงั ฆคณุ )

(นัง่ พบั เพยี บ)

บุคคลควรเร่งรีบทำ�บุญ ควรหา้ มจิตจากบาป เพราะเมอ่ื ทำ�บญุ ช้าไป ใจจะยนิ ดีในบาป.

หนงั สอื สวดมนต์ 26

ระตะนตั ตะยัปปะณามะคาถา

(น�ำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุปะรทิ ีปะกะปาฐัญจะ (สงั เวคะปะริกิตตะนะปาฐญั จะ) ภะณามะ เส.

(เชิญเถิด เราทงั้ หลาย, สวดคาถานอบน้อมพระรตั นตรัย และพระบาลี แสดงความสลดใจเถิด)

(สวดพรอ้ มกนั )

พุทโธ สุสุทโธ กะรณุ ามะหณั ณะโว,

พระพทุ ธเจ้าผู้บริสุทธ์ิมพี ระกรุณาดุจห้วงมหรรณพ

โยจจนั ตะสทุ ธัพพะระญาณะโลจะโน,

พระองค์ใดมีตาคอื ญาณอนั ประเสริฐหมดจดถงึ ทส่ี ดุ

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,

เป็นผ้ฆู ่าเสียซึง่ บาปและอปุ กิเลสของโลก

วันทามิ พุทธงั อะหะมาทะเรนะ ตัง.

ขา้ พเจา้ ไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น, โดยใจเคารพเออื้ เฟ้ือ

ธัมโม ปะทโี ป วิยะ ตสั สะ สัตถโุ น,

พระธรรมของพระศาสดาสว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป

โย มคั คะปากามะตะเภทะภนิ นะโก,

จำ� แนกประเภทคือมรรคผลนพิ พานสว่ นใด

โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,

ซึง่ เปน็ ตวั โลกตุ ตระ, และส่วนใดทีช่ ้ีแนวแหง่ โลกตุ ตระนนั้

27 ที่พักสงฆ์จันทรังษี

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.

ข้าพเจ้าไหวพ้ ระธรรมนัน้ , โดยใจเคารพเออ้ื เฟอื้

สงั โฆ สเุ ขตตาภย๎ ะติเขตตะสญั ญโิ ต,

พระสงฆเ์ ป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กวา่ นาบญุ อันดที ั้งหลาย

โย ทฏิ ฐะสนั โต สคุ ะตานโุ พธะโก,

เป็นผู้เห็นพระนิพพาน, ตรสั รู้ตามพระสคุ ตหมู่ใด

โลลัปปะหีโน อะรโิ ย สุเมธะโส,

เปน็ ผลู้ ะกเิ ลสเครอ่ื งโลเล, เปน็ พระอริยเจ้ามปี ญั ญาดี

วันทามิ สงั ฆงั อะหะมาทะเรนะ ตัง.

ข้าพเจ้าไหวพ้ ระสงฆ์หมู่นน้ั , โดยใจเคารพเอ้ือเฟือ้

อจิ เจวะเมกนั ตะภิปชู ะเนยยะกงั , วัตถตุ ตะยงั วันทะยะ ตาภิสังขะตัง, ปุญญงั มะยา ยัง มะมะ สพั พปุ ัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.

บุญใดทขี่ ้าพเจ้าผไู้ หวอ้ ย่ซู ึง่ วตั ถสุ าม, คือพระรัตนตรยั อนั ควรบชู าย่ิง โดยสว่ นเดียว, ได้กระทำ� แล้วเปน็ อย่างยง่ิ เชน่ น้ีน,ี้ ขออปุ ทั วะ (ความชวั่ ) ทง้ั หลาย, จงอยา่ มแี กข่ า้ พเจา้ เลย, ดว้ ยอำ� นาจ ความส�ำเรจ็ อันเกิดจากบญุ น้ัน

(ถา้ มเี วลาพอให้สวด สังเวคะวตั ถปุ ะริทปี ะกะปาฐะ ต่อไปนี)้

คบคนเชน่ ใดกเ็ ปน็ เชน่ คนน้ัน

หนงั สอื สวดมนต์ 28

สงั เวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐะ

(สวดพร้อมกนั ) อธิ ะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแลว้ ในโลกนี้ อะระหัง สัมมาสมั พุทโธ, เป็นผู้ไกลจากกเิ ลส, ตรสั รชู้ อบได้โดยพระองคเ์ อง ธมั โม จะ เทสโิ ต นยิ ยานโิ ก และพระธรรมท่ีทรงแสดง, เปน็ ธรรมเครือ่ งออกจากทุกข์ อุปะสะมโิ ก ปะรนิ พิ พานโิ ก เปน็ เคร่อื งสงบกิเลส, เปน็ ไปเพ่ือปรนิ ิพพาน สมั โพธะคามี สคุ ะตัปปะเวทโิ ต, เปน็ ไปเพือ่ ความรูพ้ รอ้ ม, เปน็ ธรรมท่พี ระสุคตประกาศ มะยนั ตัง ธมั มงั สุต๎วา เอวงั ชานามะ, พวกเราเม่ือไดฟ้ งั ธรรมน้ันแลว้ , จึงได้ร้อู ย่างนี้ว่า ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทกุ ขา แม้ความเกดิ กเ็ ป็นทุกข์

แม้ความแกก่ ็เป็นทุกข์ มะระณัมปิ ทุกขัง, แม้ความตายกเ็ ป็นทกุ ข์ โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนสั สปุ ายาสาปิ ทกุ ขา, แมค้ วามโศก ความรำ�่ ไรรำ� พัน, ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคบั แคน้ ใจก็เป็นทุกข์ อปั ปเิ ยหิ สมั ปะโยโค ทุกโข ความประสบกับสงิ่ ไมเ่ ปน็ ทรี่ ักที่พอใจกเ็ ปน็ ทุกข์

29 ท่ีพกั สงฆจ์ ันทรังษี

ปเิ ยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ความพลัดพรากจากส่งิ เปน็ ทีร่ กั ที่พอใจก็เปน็ ทกุ ข์ ยมั ปจิ ฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขงั , มคี วามปรารถนาส่ิงใดไม่ได้สิง่ นน้ั นน่ั ก็เป็นทกุ ข์ สงั ขติ เตนะ ปญั จุปาทานกั ขนั ธา ทกุ ขา, ว่าโดยยอ่ , อปุ าทานขนั ธ์ทง้ั หา้ เปน็ ตัวทุกข์ เสยยะถีทงั , ได้แก่สง่ิ เหล่านคี้ ือ รปู ปู าทานกั ขนั โธ, ขนั ธอ์ นั เปน็ ทต่ี ้ังแหง่ ความยดึ มน่ั คือรูป เวทะนปู าทานักขันโธ, ขนั ธอ์ นั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความยดึ มนั่ คอื เวทนา สัญญปู าทานักขนั โธ, ขนั ธอ์ นั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความยดึ มนั่ คอื สญั ญา สังขารูปาทานกั ขันโธ, ขนั ธอ์ นั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความยดึ มน่ั คอื สงั ขาร วิญญาณูปาทานกั ขันโธ, ขนั ธ์อนั เปน็ ทต่ี ั้งแหง่ ความยึดม่นั คอื วิญญาณ เยสงั ปะรญิ ญายะ, เพือ่ ใหส้ าวกก�ำหนดรอบรอู้ ปุ าทานขันธ์ เหล่านี้เอง ธะระมาโน โส ภะคะวา, จงึ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ นนั้ , เมอ่ื ยงั ทรงพระชนมอ์ ยู่ เอวัง พะหุลัง สาวะเก วเิ นติ, ย่อมทรงแนะน�ำสาวกท้งั หลาย เชน่ นเี้ ปน็ ส่วนมาก เอวัง ภาคา จะ ปะนสั สะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนสุ าสะนี, พะหลุ า ปะวัตตะติ, อนงึ่ คำ� สงั่ สอนของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ น้ัน, ย่อมเปน็ ไปในสาวกทั้ง หลาย, ส่วนมาก, มสี ่วนคอื การจ�ำแนกอยา่ งน้ีว่า

หนงั สือสวดมนต์ 30

รปู ัง อะนจิ จัง, รูปไม่เทย่ี ง เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไมเ่ ทย่ี ง สัญญา อะนิจจา, สัญญาไมเ่ ทยี่ ง สงั ขารา อะนิจจา, สังขารไม่เทย่ี ง วิญญาณัง อะนจิ จัง, วิญญาณไมเ่ ทยี่ ง รูปงั อะนตั ตา, รปู ไม่ใชต่ วั ตน เวทะนา อะนตั ตา, เวทนาไมใ่ ช่ตวั ตน สัญญา อะนตั ตา, สัญญาไม่ใชต่ ัวตน สังขารา อะนตั ตา, สังขารไม่ใช่ตวั ตน วิญญาณัง อะนตั ตา, วิญญาณไมใ่ ชต่ ัวตน สพั เพ สงั ขารา อะนิจจา, สงั ขารทง้ั หลายทั้งปวงไม่เทยี่ ง สพั เพ ธัมมา อะนัตตาต,ิ ธรรมทง้ั หลายทงั้ ปวง, ไมใ่ ชต่ วั ตน, ดงั น้ี เต (ตา)๑ มะยัง, โอตณิ ณาม๎หะ พวกเราทัง้ หลายเป็นผถู้ ูกครอบง�ำแล้ว ชาตยิ า โดยความเกิด ชะรามะระเณนะ, โดยความแกแ่ ละความตาย โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อปุ ายาเสห,ิ โดยความโศก ความร่�ำไรร�ำพัน, ความไมส่ บายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแคน้ ใจทั้งหลาย ทกุ โขติณณา ทุกขะปะเรตา, เป็นผู้ถกู ความทุกขห์ ยัง่ เอาแล้ว

เปน็ ผ้มู คี วามทุกข์เปน็ เบือ้ งหน้าแล้ว

๑ ในวงเล็บ ( ) สตรสี วด

31 ทพี่ กั สงฆ์จนั ทรงั ษี

อัปเปวะนามิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขนั ธัสสะ อันตะกิริยา ปญั ญาเยถาต.ิ

ทำ� ไฉน, การท�ำทสี่ ุดแห่งกองทุกข์ท้งั ส้ินน้,ี จะพงึ ปรากฏชดั แก่เราได้

(สำ� หรับพระภิกษสุ ามเณรสวด)

จริ ะปะรินิพพตุ มั ปิ ตงั ภะคะวนั ตัง อุททิสสะ อะระหนั ตัง สัมมาสมั พทุ ธงั ,

เราทง้ั หลาย อทุ ศิ เฉพาะพระผู้มพี ระภาคเจ้า, ผไู้ กลจากกเิ ลส, ตรสั รู้ ชอบได้โดยพระองค์เอง, แม้ปรนิ ิพพานนานแล้วพระองคน์ นั้

สัทธา อะคารสั ๎มา อะนะคาริยัง ปพั พะชิตา,

เปน็ ผู้มศี รัทธาออกบวชจากเรอื น, ไม่เกยี่ วข้องดว้ ยเรือนแลว้

ตสั ม๎ งิ ภะคะวะติ พร๎ หั ม๎ ะจะรยิ ัง จะรามะ,

ประพฤตอิ ยซู่ ึง่ พรหมจรรย์, ในพระผ้มู ีพระภาคเจ้า พระองค์น้ัน

ภกิ ขนู ัง สิกขาสาชวี ะสะมาปนั นา,๑

ถงึ พร้อมดว้ ยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเล้ยี งชวี ิตของภกิ ษุทง้ั หลาย

ตัง โน พ๎รัหม๎ ะจะริยัง, อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทุกขกั ขนั ธัสสะ อนั ตะกิริยายะ สังวัตตะต.ุ

ขอใหพ้ รหมจรรยข์ องเราทั้งหลายนัน้ , จงเป็นไปเพื่อการท�ำที่สุดแห่ง กองทกุ ขท์ ้ังสนิ้ น้ี เทอญ

หมายเหตุ๑ สามเณรพงึ งดคำ� ว่า ภกิ ขูนงั สกิ ขาสาชีวะสะมาปันนา ที่ขีดเสน้ ใตอ้ อกเสีย ถ้าคฤหัสถส์ วด ตั้งแต่ อิธะ ตะถาคะโต จนถงึ ปญั ญาเยถาติ แล้วสวดดงั นี้

หนังสอื สวดมนต์ 32

(ส�ำหรบั คฤหัสถ์สวด)

จิระปะรนิ ิพพุตมั ปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณงั คะตา,

เราทัง้ หลาย ผูถ้ ึงแลว้ ซึ่งพระผ้มู ีพระภาคเจา้ , แมป้ รนิ พิ พานนานแลว้ พระองคน์ ้ัน, เป็นสรณะ

ธมั มัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ถงึ พระธรรมด้วย, ถึงพระสงฆด์ ้วย ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง, ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ, อะนปุ ะฏิปชั ชามะ,

จกั ทำ� ในใจอย,ู่ ปฏบิ ตั ติ ามอย,ู่ ซงึ่ คำ� สงั่ สอนของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นน้ั , ตามสติกำ� ลงั

สา สา โน ปะฏปิ ัตติ, ขอใหค้ วามปฏบิ ตั นิ น้ั ๆ ของเราทง้ั หลาย อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขนั ธัสสะ อันตะกริ ิยายะ สงั วตั ตะตุ.

จงเปน็ ไปเพือ่ การท�ำที่สดุ แหง่ กองทุกข์ท้ังสน้ิ น้ี เทอญ

จบทำ� วตั รเชา้

ความแปรเปลย่ี นจากของรกั ของชอบใจทกุ อย่างจะตอ้ งมี ฉะนนั้ จะพงึ หาอะไรไดใ้ นสงั ขารน้ี สิง่ ทเี่ กดิ ขึน้ มขี ึน้ ถูกปจั จยั ปรุงแตง่ ล้วนแตกสลายเปน็ ธรรมดา เปน็ ไป ไมไ่ ดท้ ่ีจะปรารถนาว่า ของส่ิงนน้ั อยา่ เสอ่ื มสลายไปเลย

33 ที่พักสงฆ์จนั ทรงั ษี

ท�ำวัตรเย็น

ค�ำสวดมนตไ์ หวพ้ ระ

(ค�ำบชู าพระรัตนตรัย) ï อะระหงั สัมมาสมั พุทโธ ภะคะวา,

พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เปน็ พระอรหนั ต์ ดบั เพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทกุ ขส์ น้ิ เชงิ ตรสั ร้ชู อบได้โดยพระองค์เอง,

พทุ ธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.

ขา้ พเจา้ อภวิ าทพระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้รู้ ผตู้ ื่น ผเู้ บิกบาน (กราบ)

ï สวî ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

พระธรรม เป็นธรรมท่พี ระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรสั ไวด้ แี ลว้ ,

ธมั มัง นะมสั สาม.ิ

ขา้ พเจา้ นมสั การพระธรรม (กราบ)

ï สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ปฏิบตั ิดีแล้ว,

สงั ฆัง นะมาม.ิ

ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)

ความไมเ่ บียดเบยี นเปน็ สุขในโลก

หนงั สือสวดมนต์ 34

ปพุ พะภาคะนะมะการะ

(นำ� ) หนั ทะ มะยงั พุทธสั สะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะ- นะมะการงั กะโรมะ เส. (เชญิ เถดิ เราทัง้ หลาย ท�ำความนอบนอ้ มอนั เปน็ ส่วนเบอ้ื งตน้ แดพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าเถิด) (สวดพร้อมกัน) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ขอนอบนอ้ มแด่พระผู้มพี ระภาคเจา้ , พระองคน์ น้ั อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ. ซึ่งเป็นผ้ไู กลจากกเิ ลส

ตรสั ร้ชู อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง (วา่ ๓ ครั้ง)

พทุ ธานุสสะติ

(น�ำ) หนั ทะ มะยัง พุทธานสุ สะตินะยัง กะโรมะ เส.

(เชิญเถดิ เราทง้ั หลาย, ทำ� ความระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ เถิด)

(สวดพรอ้ มกนั )

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กลั ย๎ าโณ กิตตสิ ทั โท อพั ภุคคะโต,

กก็ ติ ตศิ พั ทอ์ นั งามของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั้ , ไดฟ้ งุ้ ไปแลว้ อยา่ งนว้ี า่

อติ ปิ ิ โส ภะคะวา เพราะเหตอุ ยา่ งนๆี้ ,

พระผู้มีพระภาคเจา้ น้ัน

35 ท่ีพักสงฆ์จันทรงั ษี

อะระหัง เป็นผไู้ กลจากกิเลส สมั มาสมั พทุ โธ, เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง วิชชาจะระณะสัมปนั โน เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ สคุ ะโต เปน็ ผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี โลกะวทิ ,ู เป็นผ้รู ้โู ลกอย่างแจม่ แจ้ง อะนุตตะโร เปçนผู้สามารถฝกึ บรุ ษุ ที่สมควร ปุริสะทัมมะสาระถิ ฝกึ ได้ อยา่ งไม่มใี ครยงิ่ กว่า สตั ถา เทวะมะนสุ สานัง เปน็ ครผู สู้ อนของเทวดาและมนษุ ย์ ทง้ั หลาย เปน็ ผู้รู้ ผู้ตืน่ ผเู้ บกิ บานดว้ ยธรรม เปน็ ผู้มีความจำ� เรญิ จำ� แนกธรรม พุทโธ สงั่ สอนสัตว์, ดังน้ี ภะคะวาติ,

พุทธาภิคีติ

(นำ� ) หันทะ มะยงั พทุ ธาภิคีตงิ กะโรมะ เส.

(เชญิ เถิด เราท้งั หลาย, ท�ำการกล่าวคาถาพรรณนาเฉพาะ พระพุทธเจา้ เถิด)

(สวดพร้อมกนั )

พุทธ๎วาระหนั ตะวะระตาทิคุณาภิยตุ โต,

พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ, มีความประเสริฐแห่งอรหันตคุณ เปน็ ต้น

หนังสือสวดมนต์ 36

สทุ ธาภิญาณะกะรณุ าหิ สะมาคะตตั โต,

มีพระองคอ์ นั ประกอบดว้ ยพระญาณ, และพระกรณุ าอนั บรสิ ุทธ์ิ

โพเธสิ โย สุชะนะตงั กะมะลังวะ สโู ร,

พระองค์ใดทรงกระทำ� ชนท่ดี ีใหเ้ บกิ บาน, ดุจอาทติ ย์ทำ� บัวให้บาน

วันทามะหงั ตะมะระณงั สริ ะสา ชิเนนทงั ,

ขา้ พเจ้าไหว้พระชินสีห์, ผู้ไม่มีกเิ ลสพระองค์น้นั , ด้วยเศยี รเกลา้

พทุ โธ โย สพั พะปาณนี ัง สะระณัง เขมะมตุ ตะมัง,

พระพทุ ธเจ้าพระองค์ใด, เปน็ สรณะอันเกษมสูงสุดของสตั ว์ท้ังหลาย

ปะฐะมานสุ สะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,

ข้าพเจ้าไหวพ้ ระพทุ ธเจา้ พระองคน์ ้ัน, อันเปน็ ที่ตง้ั แห่งความระลึก องคท์ ี่หนง่ึ ด้วยเศยี รเกล้า

พทุ ธัสสาหสั ม๎ ิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ พทุ โธ เม สามกิ ิสสะโร,

ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพทุ ธเจา้ , พระพทุ ธเจ้าเปน็ นายมอี ิสระเหนอื ข้าพเจา้

พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ สั สะ เม,

พระพทุ ธเจา้ เปน็ เครอ่ื งกำ� จดั ทกุ ข,์ และทรงไวซ้ ง่ึ ประโยชนแ์ กข่ า้ พเจา้

พทุ ธัสสาหัง นยิ ยาเทมิ สะรรี ัญชวี ิตญั จทิ งั ,

ขา้ พเจ้ามอบกายถวายชวี ิตน้,ี แด่พระพทุ ธเจา้

วันทนั โตหัง (ตหี ัง)๒ จะริสสามิ พทุ ธัสเสวะ สุโพธติ งั ,

ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จกั ประพฤติตาม, ซ่งึ ความตรัสรดู้ ีของพระพุทธเจา้

นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญงั พุทโธ เม สะระณัง วะรงั ,

ที่พึ่งอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี, พระพุทธเจ้าเป็นท่ีพึ่งอันประเสริฐของ ขา้ พเจา้

๑, ๒ ในวงเล็บ ( ) สตรสี วด

37 ท่พี กั สงฆ์จนั ทรังษี

เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน,

ดว้ ยการกลา่ วคำ� สตั ยน์ ,้ี ขา้ พเจา้ พงึ เจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา

พุทธงั เม วันทะมาเนนะ (มานายะ)๓ ยัง ปุญญงั ปะสุตงั อิธะ,

ข้าพเจ้าผูไ้ หวอ้ ยซู่ ่ึงพระพทุ ธเจา้ , ไดข้ วนขวายบญุ ใดในบัดน้ี

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

อันตรายทงั้ ปวง, อย่าไดม้ แี ก่ขา้ พเจ้า, ด้วยเดชแหง่ บุญน้ัน

(หมอบกราบลง กล่าวพร้อมกันวา่ )

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,

ดว้ ยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจกด็ ี

พทุ เธ กกุ มั มัง ปะกะตงั มะยา ยัง,

กรรมนา่ ติเตยี นอนั ใด, ท่ขี ้าพเจ้ากระท�ำแล้วในพระพทุ ธเจา้

พุทโธ ปะฏคิ คณั ห๎ ะตุ อจั จะยนั ตัง,

ขอพระพทุ ธเจ้าจงงดซึ่งโทษลว่ งเกนิ อันนั้น

กาลนั ตะเร สงั วะริตุง วะ พุทเธ.

เพือ่ การส�ำรวมระวงั ในพระพทุ ธเจา้ ในกาลต่อไป

(นง่ั คุกเข่าขนึ้ )

๓ ในวงเล็บ ( ) สตรีสวด 38 หนังสอื สวดมนต์

ธมั มานสุ สะติ

(นำ�) หนั ทะ มะยงั ธมั มานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถดิ เราทัง้ หลาย, ทำ� ความระลึกถงึ พระธรรมเถดิ ) (สวดพรอ้ มกัน) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมน้ันใด, เปน็ ส่ิงท่ี

สันทิฏฐิโก พระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ไดต้ รสั ไวด้ แี ลว้

เป็นสงิ่ ทผ่ี ศู้ กึ ษาและปฏิบัตพิ งึ เหน็ ได้ดว้ ยตนเอง อะกาลิโก เป็นสิ่งที่ปฏิบัตไิ ดแ้ ละใหผ้ ลได้ ไม่จำ� กดั กาล เอหปิ สั สิโก, เป็นส่ิงทคี่ วรกลา่ วกับผูอ้ ื่นวา่ ท่านจงมาดเู ถิด โอปะนะยโิ ก เป็นส่งิ ท่คี วรนอ้ มเขา้ มาใส่ตวั ปัจจัตตงั เวทติ พั โพ วิญญหู ตี ิ, เปน็ สง่ิ ทผ่ี รู้ กู้ ร็ ไู้ ดเ้ ฉพาะตน, ดงั นี้

ธมั มาภคิ ีติ

(นำ� ) หันทะ มะยงั ธมั มาภิคตี ิง กะโรมะ เส.

(เชิญเถิด เราทง้ั หลาย, ทำ� การกลา่ วคาถาพรรณนาเฉพาะ พระธรรมเถิด)

39 ท่ีพกั สงฆจ์ ันทรงั ษี

(สวดพรอ้ มกัน)

สว๎ ากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,

พระธรรมเป็นสิง่ ทีป่ ระเสริฐเพราะประกอบดว้ ยคุณ, คอื ความทีพ่ ระ ผมู้ พี ระภาคเจ้า, ตรสั ไว้ดีแล้วเปน็ ตน้

โย มัคคะปากะปะรยิ ตั ติวโิ มกขะเภโท,

เป็นธรรมอนั จำ� แนกเปน็ มรรค ผล ปรยิ ัติ และนพิ พาน

ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธารธิ าร,ี

เปน็ ธรรมทรงไวซ้ ่งึ ผูท้ รงธรรม, จากการตกไปสู่โลกท่ีชัว่

วันทามะหงั ตะมะหะรงั วะระธัมมะเมตัง,

ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสรฐิ นั้น, อนั เปน็ เคร่อื งขจดั เสยี ซงึ่ ความมืด

ธมั โม โย สพั พะปาณนี ัง สะระณัง เขมะมตุ ตะมัง,

พระธรรมใด, เปน็ สรณะอนั เกษมสงู สุดของสตั วท์ ้ังหลาย

ทตุ ิยานสุ สะตฏิ ฐานัง วันทามิ ตงั สิเรนะหงั ,

ข้าพเจา้ ไหว้พระธรรมน้ัน, อนั เปน็ ทีต่ งั้ แห่งความระลกึ องคท์ ีส่ องด้วย เศยี รเกลา้

ธมั มสั สาหัสม๎ ิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ ธมั โม เม สามกิ ิสสะโร,

ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม, พระธรรมเป็นนายมีอิสระเหนือ ขา้ พเจ้า

ธมั โม ทุกขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม,

พระธรรมเป็นเคร่อื งกำ� จดั ทกุ ข์, และทรงไวซ้ งึ่ ประโยชนแ์ ก่ขา้ พเจ้า

ธมั มัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชีวติ ัญจิทัง,

ข้าพเจ้ามอบกายถวายชวี ติ น,้ี แด่พระธรรม

๑ ในวงเล็บ ( ) สตรสี วด

หนงั สอื สวดมนต์ 40

วนั ทนั โตหงั (ตีหงั )๒ จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สธุ มั มะตงั ,

ข้าพเจ้าผู้ไหวอ้ ยจู่ ักประพฤติตาม, ซ่งึ ความเป็นธรรมดขี องพระธรรม

นตั ถิ เม สะระณงั อัญญงั ธมั โม เม สะระณัง วะรงั ,

ทีพ่ งึ่ อ่นื ของขา้ พเจ้าไมม่ ี, พระธรรมเป็นท่พี ง่ึ อนั ประเสรฐิ ของข้าพเจา้

เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถุ สาสะเน,

ดว้ ยการกลา่ วคำ� สตั ยน์ ,ี้ ขา้ พเจา้ พงึ เจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา

ธมั มัง เม วนั ทะมาเนนะ (มานายะ)๓ ยงั ปุญญงั ปะสุตงั อิธะ,

ขา้ พเจ้าผู้ไหวอ้ ยู่ซง่ึ พระธรรม, ได้ขวนขวายบุญใดในบดั นี้

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

อนั ตรายท้ังปวง, อย่าได้มีแกข่ า้ พเจ้า, ด้วยเดชแหง่ บุญน้ัน

(หมอบกราบลง กล่าวพร้อมกันว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,

ด้วยกายก็ดี ดว้ ยวาจาก็ดี ดว้ ยใจก็ดี

ธัมเม กกุ ัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,

กรรมน่าติเตยี นอนั ใด, ท่ขี า้ พเจ้ากระท�ำแลว้ ในพระธรรม

ธัมโม ปะฏคิ คณั ๎หะตุ อจั จะยนั ตัง,

ขอพระธรรมจงงดซึ่งโทษลว่ งเกนิ อันนน้ั

กาลันตะเร สงั วะริตงุ วะ ธมั เม.

เพอ่ื การสำ� รวมระวังในพระธรรมในกาลต่อไป

(น่งั คกุ เข่าขน้ึ )

๒, ๓ ในวงเล็บ ( ) สตรีสวด

41 ทีพ่ กั สงฆจ์ ันทรังษี

สงั ฆานุสสะติ

(นำ� ) หนั ทะ มะยัง สังฆานุสสะตนิ ะยัง กะโรมะ เส.

(เชิญเถิด เราท้ังหลาย, ท�ำความระลกึ ถึงพระสงฆ์เถดิ )

(สวดพรอ้ มกัน) สุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สงฆส์ าวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ สาวะกะสงั โฆ, หมูใ่ ด, ปฏิบตั ดิ ีแล้ว อชุ ปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สงฆส์ าวกของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ สาวะกะสงั โฆ, ญายะปะฏปิ ันโน หม่ใู ด, ปฏบิ ตั ติ รงแลว้

สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมใู่ ด, ปฏบิ ตั เิ พอื่ รธู้ รรมเปน็ เครอ่ื ง ออกจากทุกขแ์ ล้ว สามจี ิปะฏปิ นั โน สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมใู่ ด, ปฏบิ ัติสมควรแลว้ ยะททิ ัง จตั ตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ ได้แก่บคุ คลเหล่านค้ี อื

คแู่ ห่งบรุ ษุ ๔ ค๑ู่ อัฏฐะ ปรุ สิ ะปุคคะลา, นบั เรยี งตัวบุรษุ ไดแ้ ปดบุรุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, น่ันแหละ สงฆ์สาวกของ

อาหุเนยโย พระผมู้ ีพระภาคเจา้

เป็นสงฆ์ควรแกส่ ักการะ ปาหเุ นยโย ทีเ่ ขาน�ำมาบูชา

เปน็ สงฆค์ วรแก่สกั การะทีเ่ ขาจดั ไว้

ต้อนรับ

หนังสือสวดมนต์ 42

ทกั ขิเณยโย เป็นผ้คู วรรับทักษณิ าทาน อญั ชะลกิ ะระณีโย, เป็นผ้ทู บ่ี คุ คลทวั่ ไปควรท�ำอัญชลี อะนุตตะรงั ปญุ ญกั เขตตัง เปน็ เนื้อนาบุญของโลก, โลกัสสาต,ิ ไมม่ นี าบญุ อืน่ ยง่ิ กวา่ , ดงั นี้

สังฆาภคิ ตี ิ

(น�ำ) หนั ทะ มะยงั สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.

(เชิญเถดิ เราทัง้ หลาย, ทำ� การกลา่ วคาถาพรรณนา เฉพาะพระสงฆ์เถิด)

(สวดพรอ้ มกนั )

สัทธัมมะโช สปุ ะฏิปตั ตคิ ณุ าทิยุตโต,

พระสงฆท์ เ่ี กดิ โดยพระสัทธรรม, ประกอบดว้ ยคุณ, มีความปฏิบัตดิ ี เปน็ ตน้

โยฏฐพั พโิ ธ อะริยะปคุ คะละสงั ฆะเสฏโฐ,

เปน็ หมู่แหง่ พระอรยิ บุคคลอันประเสริฐแปดจ�ำพวก

สลี าทธิ มั มะปะวะราสะยะกายะจติ โต,

มกี ายและจติ อันอาศัยธรรม, มศี ีลเปน็ ตน้ อันบวร

วันทามะหงั ตะมะริยานะ คะณงั สุสุทธงั ,

ขา้ พเจ้าไหว้หมูแ่ หง่ พระอริยเจา้ เหลา่ น้นั , อนั บริสุทธ์ิด้วยดี

สงั โฆ โย สพั พะปาณีนงั สะระณงั เขมะมุตตะมัง,

พระสงฆห์ มใู่ ด, เป็นสรณะอนั เกษมสูงสุดของสัตวท์ ง้ั หลาย

43 ท่พี กั สงฆ์จันทรงั ษี